พระราชบัญญัติ การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 พระราชบัญญัติ การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542
คำนิยาม 16 คำ “การศึกษา” “การศึกษาขั้นพื้นฐาน” “การศึกษาตลอดชีวิต” “สถานศึกษา” “สถานศึกษาขั้นพื้นฐาน” “มาตรฐานการศึกษา” “การประกันคุณภาพภายใน” “การประกันคุณภาพภายนอก” “ผู้สอน” “ครู” “คณาจารย์” “ผู้บริหารสถานศึกษา” “ผู้บริหารการศึกษา” “บุคลากรทางการศึกษา” “กระทรวง” และ “รัฐมนตรี”
หมวด 1 บททั่วไป : ความมุ่งหมายและหลักการ หมวด 1 บททั่วไป : ความมุ่งหมายและหลักการ การจัดการศึกษาเพื่ออะไร เป้าหมายในการจัดการศึกษาคืออะไร มีหลักการในการจัดการศึกษาอย่างไร วิธีการในการจัดการศึกษา
หมวด 2 สิทธิและหน้าที่ทางการศึกษา หมวด 2 สิทธิและหน้าที่ทางการศึกษา 1. จัดให้บุคคลมีสิทธิและโอกาสเสมอกัน 2. บิดา มารดา หรือผู้ปกครอง 3. บุคคล ครอบครัว ชุมชน องค์กรชุมชน องค์กรวิชาชีพ สถาบันศาสนา สถานประกอบการ และสถาบันสังคมอื่น
หมวด 3 ระบบการศึกษา 1. การจัดการศึกษา มี 3 รูปแบบ - การศึกษานอกระบบ หมวด 3 ระบบการศึกษา 1. การจัดการศึกษา มี 3 รูปแบบ - การศึกษาในระบบ - การศึกษานอกระบบ - การศึกษาตามอัธยาศัย
ระบบการศึกษา 2. การศึกษามี 2 ระดับ - การศึกษาขั้นพื้นฐาน 2. การศึกษามี 2 ระดับ - การศึกษาขั้นพื้นฐาน - การศึกษาระดับอุดมศึกษา
3. ให้มีการศึกษาภาคบังคับ 12 ปี 3. ให้มีการศึกษาภาคบังคับ 12 ปี 4. สถานศึกษาที่จัดการศึกษา - การศึกษาขั้นพื้นฐาน - การศึกษาระดับอุดมศึกษา - อาชีวศึกษา และการฝึกอาชีพ - การศึกษาเฉพาะทาง
หมวด 4 แนวการจัดการศึกษา หมวด 4 แนวการจัดการศึกษา 1. หลักการจัดการศึกษา ( ผู้เรียนเป็นหลัก ) 2. หลักเกณฑ์การจัดการศึกษา 3. การจัดกระบวนการเรียน 4. การประเมินผล และการจัดสรรโอกาสเข้าศึกษาต่อ 5. หลักสูตร 6. การมีส่วนร่วมในการพัฒนาชุมชน
หมวด 5 การบริหารและการจัดการศึกษา หมวด 5 การบริหารและการจัดการศึกษา การบริหารและการจัดการศึกษา แบ่งออกเป็น 3 ส่วน 1. ของรัฐ 2. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 3. เอกชน
ส่วนที่ 1 การบริหารการจัดการศึกษาของรัฐ ส่วนที่ 1 การบริหารการจัดการศึกษาของรัฐ 1. กระทรวงการศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม (1) สภาการศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรมแห่งชาติ (2) คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (3) คณะกรรมการการอุดมศึกษา (4) คณะกรรมการการศาสนา และวัฒนธรรม
3. ให้สถานศึกษาอุดมศึกษามีฐานะเป็นนิติบุคคล 2. เขตพื้นที่การศึกษา - เพื่อการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน และการศึกษาระดับอุดมศึกษาต่ำกว่าปริญญาตรี - ให้กระจายอำนาจการบริหารและการจัดการศึกษา 3. ให้สถานศึกษาอุดมศึกษามีฐานะเป็นนิติบุคคล
ส่วนที่ 2 การบริหารและการจัดการศึกษาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ส่วนที่ 2 การบริหารและการจัดการศึกษาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ส่วนที่ 3 การบริหารและการจัดการศึกษาของเอกชน ส่วนที่ 3 การบริหารและการจัดการศึกษาของเอกชน (1) สถานศึกษาเอกชนเป็นนิติบุคคล (2) รัฐต้องกำหนดนโยบายและมาตรการที่ชัดเจน (3) รัฐต้องให้การสนับสนุน
หมวด 6 มาตรฐานและการประกันคุณภาพการศึกษา หมวด 6 มาตรฐานและการประกันคุณภาพการศึกษา - ให้หน่วยงานต้นสังกัดและสถานศึกษา ถือว่า การประกันคุณภาพภายในเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการบริหารการศึกษา - ให้มีสำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา
หมวด 7 ครู คณาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา หมวด 7 ครู คณาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา 1. กองทุนสำหรับการพัฒนาครู 2. กองทุนส่งเสริมครู คณาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา 3. ให้มีองค์กรวิชาชีพครูและผู้บริหารการศึกษา 4. ให้มีองค์กรกลางบริหารงานบุคคลของข้าราชการครู 5. ให้มีกฎหมายว่าด้วยเงินเดือนของข้าราชการครู
หมวด 8 ทรัพยากรและการลงทุนเพื่อการศึกษา หมวด 8 ทรัพยากรและการลงทุนเพื่อการศึกษา 1. ให้มีการระดมทรัพยากรและการลงทุน เก็บภาษีการศึกษา 2. อำนาจของสถานศึกษาของรัฐในการจัดทรัพย์สินในความครอบครอง 3. การจัดสรรงบประมาณแผ่นดิน 4. ให้มีระบบการตรวจสอบ
หมวด 9 เทคโนโลยีการศึกษา หมวด 9 เทคโนโลยีการศึกษา 1. รัฐต้องจัดสรรคลื่นความถี่ สื่อตัวนำ และ โครงสร้างพื้นฐานอื่น 2. พัฒนาบุคลากรทั้งด้านการผลิต และผู้ใช้เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา 3. จัดให้ผู้เรียนได้พัฒนาความสามารถ 4. จัดให้มีหน่วยงานกลางเทคโนโลยีทางการศึกษา
บทเฉพาะกาล 1. ยกเว้นกฎหมาย กฎ ข้อบังคับ ระเบียบ ประกาศ และคำสั่งเกี่ยวกับการศึกษา ศาสนา ศิลปะและ วัฒนธรรม ให้มีผลบังคับใช้ต่อไปอีกไม่เกิน 5 ปี 2. กระทรวง ทบวง กรม หน่วยงานการศึกษา และสถานศึกษาให้มีฐานะและอำนาจหน้าที่เช่นเดิมจนกว่าจะมีการจัดระบบบริหารและการจัดการศึกษาใหม่ แต่ต้องไม่เกิน 3 ปี
3. จัดการศึกษาภาคบังคับ 9 ปี ภายใน 5 ปี - แบ่งระดับและประเภทการศึกษาขั้นพื้นฐานภายใน 1 ปี - จัดให้มีการประเมินผลภายนอกครั้งแรกของสถานศึกษาทุกแห่งภายใน 6 ปี 4. - จัดการระบบบริหารและการจัดการศึกษา หมวด 5 หมวด 7 เกี่ยวกับครูและบุคลากรทางการศึกษา และหมวด 8 การจัดระบบทรัพยากรและการลงทุนเพื่อการศึกษา ภายใน 3 ปี
5. จัดตั้งสำนักงานปฏิรูปการศึกษา ซึ่งเป็นองค์การมหาชนเฉพาะกิจ 6. คณะกรรมการบริหารสำนักงานปฏิรูปการศึกษา มีจำนวน 9 คน ซึ่งคณะรัฐมนตรีแต่งตั้ง โดยได้รับการเสนอชื่อจากคณะกรรมการสรรหาจำนวน 18 คน และยุบเลิกตำแหน่งและสำนักงานปฏิรูปการศึกษา ในเวลา 3 ปี สำนักงานปฏิรูปการศึกษา (สปศ.)
สวัสดี