การลำเลียงวัสดุและระบบบรรจุภัณฑ์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Mr. Supat Srimingmuangnivej
Advertisements

FINANCIAL ACCOUNT ING Ngamta Srivarom. Financial Accounting Second Edition : 2011.
แบบทดสอบ +:: By::+ Thanapun Kulachan. ให้หาหมวดของหนังสือต่อไปนี้ ชื่อผู้แต่ง : จังซีหา (ส. สุวรรณ แปล) ชื่อเรื่อง : จุดไฟปัญญาให้โชติช่วง หมวด : 100.
เข้าสู่ วิชา การงานอาชีพ จัดทำโดย ด. ญ. สุชัญญา เขียวสมอ ม.1/14 เลขที่ 38 ด. ญ. พรรณวษา ยาวะระ ม.1/14 เลขที่ 32 นำเสนอ อาจารย์ ฐิตาพร ดวงเกตุ โรงเรียนวินิตศึกษา.
NOTE: To change the image on this slide, select the picture and delete it. Then click the Pictures icon in the placeholder to insert your own image. แนวทางการขับเคลื่อน.
ข้อมูล (data) หมายถึง ข้อเท็จจริงหรือ เหตุการณ์ ที่เกี่ยวข้องกับสิ่งต่าง ๆที่ เป็นตัวเลข ข้อความหรือ รายละเอียดซึ่งอาจอยู่ใน รูปแบบต่าง ๆ เช่น ภาพ เสียง.
ผลิตภัณฑ์ท้องถิ่นสู่ตลาด E-Commerce (OTOP Online)
จากรูปร่าง โครงสร้าง หรือจำนวนโครโมโซมผิดปกติ
การวิเคราะห์ข้อมูลเรื่องข้าว เพื่อการทบทวนประเด็นยุทธศาสตร์
บทบาทอำนาจหน้าที่และความสำคัญของคณะกรรมการหมู่บ้านในการพัฒนาหมู่บ้าน
เทคโนโลยีสารสนเทศ อาจารย์ศิริพร ศักดิ์บุญญารัตน์
สรุปการดำเนินงาน ตามนโยบายสำคัญของกระทรวงศึกษาธิการ
ความหมาย พัฒนาการ และขอบข่ายของเทคโนโลยีการศึกษา
เทคโนโลยีสารสนเทศในห่วงโซ่อุปทาน ญาลดา พรประเสริฐ คณะวิทยาการจัดการ
แผนพัฒนาจังหวัด 4 ปี (พ.ศ.2561 – 2564) ฉบับทบทวน
ยุทธศาสตร์กองทุนพัฒนาบทบาทสตรี พ.ศ
วาดเส้น.
โดย ดร.ธนิต โสรัตน์ ประธานบริษัทในเครือวี-เซิร์ฟ กรุ๊ป
ระบบสารสนเทศ (Information System)
ข้อพึงระวังในการปฏิบัติงาน
TIM2303 การขายและตลาดอุตสาหกรรมท่องเที่ยว SALE & MARKETING IN Tourism Industry อ.เอกชัย สีทำมา.
การขนส่งสารเคมี และ อุบัติเหตุจากการขนส่ง
learning theory ทฤษฎีการเรียนรู้
การวิเคราะห์ข้อมูล การท่องเที่ยว เพื่อทบทวนยุทธศาสตร์จังหวัด
สำนักเสริมสร้างความเข้มแข็งชุมชน
กลุ่มงานเทคโนโลยีการผลิตที่สะอาด สำนักเทคโนโลยีสิ่งแวดล้อมโรงงาน
การพัฒนาเทคโนโลยีชีวภาพ
1.โครงการยกระดับคุณภาพชีวิตคนอีสานศตวรรษที่ 21 ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
การจัดการประชุมที่มีประสิทธิผล
(KUMAMOTO, KYUSHU, JAPAN
นวัตกรรมและเทคโนโลยี คือ INNOTECH
แนะนำรายวิชา การออกแบบระบบการจัดการเรียนรู้บนเครือข่าย
การพัฒนาระบบบริหารจัดการ กองทุนพัฒนาบทบาทสตรี จังหวัดบุรีรัมย์ 9 สิงหาคม นางสุนิสา บุญยาทิษฐาน พัฒนาการจังหวัดบุรีรัมย์ 9 สิงหาคม 2560.
ศิลปะร่วมสมัย Contemporary art
Don Bosco Banpong Technological College
Don Bosco Banpong Technological College
ภูมิปัญญาผ้าหมักย้อมดินภูเขาไฟ :ผ้าภูอัคนี นางสมศรี เจ้าของภูมิปัญญา ปราชญ์ภูมิปัญญา การย้อมผ้าด้วยวัสดุธรรมชาติ เช่นมะเกลือ แก่นขนุน ใบสาบเสือ.
กระบวนการวางแผนพัฒนาจังหวัดและการจัดทำคำของบประมาณ
โรคทางพันธุกรรมที่เกิดจากยีนบน Autosome
โรคที่เกิดจากความผิดปกติ บนออโตโซม (Autosome)
นโยบายการบริหารจัดการอาชีวศึกษา
โรคทางพันธุกรรมที่เกิดจากรูปร่าง โครงสร้าง หรือจำนวนโครโมโซมผิดปกติ
การขับเคลื่อนงานอนามัยการเจริญพันธุ์ ในมารดา อายุ 35 ปีขึ้นไป
การวางแผนพัฒนาจังหวัด และกลุ่มจังหวัดแบบบูรณาการ
แนวคิด การจัดทำยุทธศาสตร์เศรษฐกิจภาค โดย ว่าที่ ร.อ.จิตร์ ศิรธรานนท์
โรคทางพันธุกรรมที่เกิดจากยีนบน Autosome
คณะที่ 2 : การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (ยุทธศาสตร์ด้านบริการเป็นเลิศ)
การบริหารค่าจ้างเงินเดือนและค่าตอบแทนเชิงกลยุทธ์
การวิเคราะห์ข้อมูล การท่องเที่ยว เพื่อทบทวนยุทธศาสตร์จังหวัด
การจัดการโซ่อุปทานและโลจิสติกส์
สรุปงาน กศน.อำเภอไพศาลี ประจำเดือน มกราคม 2559
การคัดสรรสุดยอดหนึ่งตำบล หนึ่งผลิตภัณฑ์ไทย ปี พ. ศ
โครงการเพิ่มประสิทธิภาพ การบริหารจัดการและพัฒนาผลิตภัณฑ์ชุมชน
เทคโนโลยีสารสนเทศ อาจารย์ศิริพร ศักดิ์บุญญารัตน์
การพัฒนาประเด็นนโยบายสำคัญ
การพัฒนาเศรษฐกิจฐานรากและประชารัฐ
(Rice Analysis) จังหวัดอุทัยธานี การวิเคราะห์ข้อมูลเรื่องข้าว
David Ausubel การเรียนรู้อย่างมีความหมาย
พัฒนาและยกระดับผลิตภัณฑ์ชุมชน
“ธาตุหายาก” คืออะไร. กรณีศึกษา ธาตุโลหะหายาก (Rare-Earth Elements) Environment, Technology & Life.
ญาลดา พรประเสริฐ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
การมอบนโยบายการขับเคลื่อน
หมวด 1 การนำองค์กร และการจัดการดี
#แอ่งเล็ก...เช็คอิน โดย อภิชาติ โตดิลกเวชช์.
คำชี้แจง เรื่อง การเก็บข้อมูลประวัติหมู่บ้าน ชุมชน วิถีชุมชน
การจัดทำและการบริหาร งบประมาณรายจ่ายประจำปี นางดรงค์รัตน์ กล้าหาญ
เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษหนองคาย
การบังคับใช้กฎหมาย (Law Enforcement)
สำนักงานทะเบียนเครื่องจักรกลาง
โรคติดเชื้อฉวยโอกาส (Opportunistic infection) จำนวน CD4 ป้องกันได้
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การลำเลียงวัสดุและระบบบรรจุภัณฑ์ บทที่ 5 เทคโนโลยีในระบบงานบรรจุภัณฑ์ (Packaging Technology) บท/หน้า (5/1) ( 25/08/2558)

การลำเลียงวัสดุและระบบบรรจุภัณฑ์ บทที่ 5 เทคโนโลยีในระบบงานบรรจุภัณฑ์ บรรจุภัณฑ์ชานอ้อย “ไบโอ” นวัตกรรมใหม่ทดแทนกล่องโฟม “ไบโอ” เป็นบรรจุภัณฑ์อาหารที่ทำจากเยื่อกระดาษชานอ้อย ซึ่งนำเทคโนโลยีการผลิตจากประเทศจีนมาปรับปรุงใหม่ โดยสำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สำนักงานส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม กระทรวงอุตสาหกรรม และกลุ่มบริษัท เอ็มดีเอส จำกัด บท/หน้า (5/2) ( 25/08/2558)

การลำเลียงวัสดุและระบบบรรจุภัณฑ์ บทที่ 5 เทคโนโลยีในระบบงานบรรจุภัณฑ์ บรรจุภัณฑ์ชานอ้อย “ไบโอ” นวัตกรรมใหม่ทดแทนกล่องโฟม บท/หน้า (5/3) (25/08/2558)

การลำเลียงวัสดุและระบบบรรจุภัณฑ์ บทที่ 5 เทคโนโลยีในระบบงานบรรจุภัณฑ์ บรรจุภัณฑ์ของไบโอ เป็นนวัตกรรมสีเขียวที่มีคุณสมบัติดีเด่นหลายประการ ตั้งแต่กระบวนการผลิตที่เรียบง่าย ประหยัดพลังงานกว่าการผลิตพลาสติก เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ไม่ใช้เยื่อจากไม้ยืนต้น และเลือกใช้เทคโนโลยีที่เรียกว่า ECF คือไม่ใช้คลอรีนในการฟอกสีเยื่อกระดาษ ทำให้ได้เยื่อกระดาษที่สะอาด และปลอดภัย และผ่านการฆ่าเชื้อด้วยแสง UV อีกครั้ง ก่อนจะส่งถึงผู้บริโภค บท/หน้า (5/4) ( 25/08/2558)

การลำเลียงวัสดุและระบบบรรจุภัณฑ์ บทที่ 5 เทคโนโลยีในระบบงานบรรจุภัณฑ์ บรรจุภัณฑ์ของไบโอ บท/หน้า (5/5) ( 25/08/2558)

การลำเลียงวัสดุและระบบบรรจุภัณฑ์ บทที่ 5 เทคโนโลยีในระบบงานบรรจุภัณฑ์ ในแง่การใช้งาน เมื่อเปรียบเทียบกับพลาสติกและโฟมก็พบว่า ไบโอมีข้อดีกว่ามากตรงที่สามารถใช้ใส่น้ำ และอาหารทั้งเย็นจัดจนถึงร้อนจัด (-40 ถึง 250 องศาเซลเซียส) เข้าเตาอบและเตาไมโครเวฟได้ ไม่มีสารปนเปื้อนก่อมะเร็ง ขณะที่โฟมและพลาสติกทำไม่ได้อย่างนี้ แถมยังมีการปนเปื้อนสารสไตรีน มอนอเมอร์ ไดออกซิน และไวนิล คลอไรต์ มอนอเมอร์ ซึ่งล้วนแต่เป็นสารก่อมะเร็งอันตรายต่อสุขภาพทั้งสิ้น บท/หน้า (5/6) ( 25/08/2558)

การลำเลียงวัสดุและระบบบรรจุภัณฑ์ บทที่ 5 เทคโนโลยีในระบบงานบรรจุภัณฑ์ ในแง่การใช้งาน บท/หน้า (5/7) ( 25/08/2558)

การลำเลียงวัสดุและระบบบรรจุภัณฑ์ บทที่ 5 เทคโนโลยีในระบบงานบรรจุภัณฑ์ สำคัญที่สุดคือ จานชามจากชานอ้อยย่อยสลายได้ในเวลา 45 วันเท่านั้นเอง แต่อุปสรรคที่ทำให้คนส่วนใหญ่ยังไม่เปิดใจเปลี่ยนมาใช้จานชามจากชานอ้อย ก็เพราะ ราคาที่แพงกว่าโฟม 2 เท่า แม้ว่าจะถูกกว่าพลาสติกใช้แล้วทิ้งก็ตาม เมื่อคนใช้น้อย สินค้าผลิตน้อย ต้นทุนต่อชิ้นจึงสูงแต่ถ้าเมื่อไหร่คนหันมาใช้เยอะขึ้น ราคาก็ย่อมจะถูกลง เหมือนในหลายๆประเทศ ที่บรรจุภัณฑ์ที่ย่อยสลายได้ราคาถูกกว่าโฟมแล้ว และในที่สุดภาชนะโฟมจะต้องสูญพันธุ์ไปจากโลกเสียที บท/หน้า (5/8) ( 25/08/2558)

การลำเลียงวัสดุและระบบบรรจุภัณฑ์ บทที่ 5 เทคโนโลยีในระบบงานบรรจุภัณฑ์ ขณะนี้ “ไบโอ” ยังเป็นบรรจุภัณฑ์ย่อยสลายได้เพียงแบรนด์เดียวของไทย ที่มีการผลิตเพื่อจำหน่ายอย่างเป็นจริงเป็นจัง ปริมาณที่ผลิตได้ยังแค่ 1% ของปริมาณโฟมที่คนไทยใช้กัน กว่าจะถึงวันที่มีเรามีบรรจุภัณฑ์ปลอดภัยเป็นทางเลือกให้ใช้กันได้อย่างแพร่หลาย ไม่รู้ว่าสุขภาพจะเป็นอันตราย โลกจะถูกทำร้าย และขยะจะล้นเมืองไปขนาดไหน บท/หน้า (5/9) ( 25/08/2558)

การลำเลียงวัสดุและระบบบรรจุภัณฑ์ บทที่ 5 เทคโนโลยีในระบบงานบรรจุภัณฑ์ “ไบโอ” อ้างอิงข้อมูล : http://www.oknation.net/blog/greenocean/2011/05/05/entry-1 บท/หน้า (5/10) ( 25/08/2558)

การลำเลียงวัสดุและระบบบรรจุภัณฑ์ บทที่ 5 เทคโนโลยีในระบบงานบรรจุภัณฑ์ WikiCell : บรรจุภัณฑ์กินได้ ทางเลือกใหม่บนโต๊ะอาหาร เคยสังเกตหรือไม่ว่า ในบรรดาสารพัดขยะที่เราทิ้งในแต่ละวันนั้น มีจำนวนไม่น้อยเลยที่เป็นขยะจาก “บรรจุภัณฑ์”จากสถิติพบว่า ในสหรัฐอเมริกาเพียงประเทศเดียว มีการทิ้งขยะเป็นจำนวนถึง 1.4 พันล้านปอนด์ (ราว 6 ร้อยล้านกิโลกรัม) ภายในเวลาเพียงหนึ่งวัน โดยร้อยละ 40 ของขยะเหล่านี้เป็นขยะบรรจุภัณฑ์ที่ถูกใช้เพียงแค่ครั้งเดียวเท่านั้น จึงได้มีการคิดค้นนวัตกรรมบรรจุภัณฑ์รูปแบบใหม่สำหรับบรรจุอาหารและเครื่องดื่ม ซึ่งกล่าวกันว่าอาจเป็นจุดเริ่มต้นของการปฏิวัติวิถีการกินดื่มของผู้คนในอนาคตอันใกล้ เพราะบรรจุภัณฑ์แบบใหม่นี้สามารถทดแทนการใช้บรรจุภัณฑ์พลาสติกได้หลากหลายรูปแบบ ด้วยต้นทุนการผลิตที่ไม่สูง และที่น่าสนใจก็คือ บรรจุภัณฑ์ชนิดนี้เป็นบรรจุภัณฑ์กินได้ บท/หน้า (5/11) ( 25/08/2558)

การลำเลียงวัสดุและระบบบรรจุภัณฑ์ บทที่ 5 เทคโนโลยีในระบบงานบรรจุภัณฑ์ WikiCell : บรรจุภัณฑ์กินได้ ทางเลือกใหม่บนโต๊ะอาหาร บท/หน้า (5/12) ( 25/08/2558)

การลำเลียงวัสดุและระบบบรรจุภัณฑ์ บทที่ 5 เทคโนโลยีในระบบงานบรรจุภัณฑ์ WikiCell : บรรจุภัณฑ์กินได้ ทางเลือกใหม่บนโต๊ะอาหาร “WikiCell” เป็นชื่อเรียกของบรรจุภัณฑ์ที่คิดค้นและพัฒนาโดยศาสตราจารย์ David Edwards นักวิศวกรรมชีวภาพและอาจารย์มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด ร่วมกับนักออกแบบชาวฝรั่งเศส François Azambourg และนักชีววิทยา Don Ingber ซึ่งได้แรงบันดาลใจจากเซลล์ธรรมชาติในผลไม้อย่างองุ่น ส้ม หรือมะพร้าว ที่มีเปลือกนอกห่อหุ้มเนื้อและของเหลวภายในมาเป็นต้นแบบในการพัฒนาบรรจุภัณฑ์ใหม่ที่ว่านี้ บท/หน้า (5/13) ( 25/08/2558)

การลำเลียงวัสดุและระบบบรรจุภัณฑ์ บทที่ 5 เทคโนโลยีในระบบงานบรรจุภัณฑ์ WikiCell : บรรจุภัณฑ์กินได้ ทางเลือกใหม่บนโต๊ะอาหาร บท/หน้า 5/14) ( 25/08/2558)

การลำเลียงวัสดุและระบบบรรจุภัณฑ์ บทที่ 5 เทคโนโลยีในระบบงานบรรจุภัณฑ์ WikiCell : บรรจุภัณฑ์กินได้ ทางเลือกใหม่บนโต๊ะอาหาร หากลองนึกถึงผลส้ม จะเห็นว่าเปลือกส้มนั้นทำหน้าที่เป็นบรรจุภัณฑ์ที่มีความคงทนและย่อยสลายได้ในตัวเอง ทำให้เราไม่จำเป็นต้องบรรจุใส่ในกล่องหรือถุงต่างหาก นอกจากนั้นเปลือกของมันยังสามารถรับประทานได้อีกด้วย แม้ว่าจะมีน้อยคนที่รับประทานเปลือกส้ม แต่ในกรณีของผลไม้ชนิดอื่นอย่างแอปเปิ้ลหรือลูกพืชนั้น การรับประทานเปลือกของมันก็เป็นเรื่องปกติ บท/หน้า (5/15) ( 25/08/2558)

การลำเลียงวัสดุและระบบบรรจุภัณฑ์ บทที่ 5 เทคโนโลยีในระบบงานบรรจุภัณฑ์ WikiCell : บรรจุภัณฑ์กินได้ ทางเลือกใหม่บนโต๊ะอาหาร ความมหัศจรรย์ของธรรมชาติที่พบในผลไม้เหล่านี้ จึงได้กลายเป็นต้นแบบในการสร้างสรรค์ WikiCell ซึ่งมีลักษณะเป็นบรรจุภัณฑ์สองชั้นที่สามารถรับประทานได้ โดยชั้นในทำหน้าที่ห่อหุ้มและพยุงอาหารหรือของเหลว ด้วยการนำส่วนผสมจากธรรมชาติ เช่น ช็อคโกแลต ผลไม้ ถั่ว เมล็ดธัญพืช ฯลฯ มาผสมกับแคลเซียม และไคโตซาน (ไบโอพอลิเมอร์ธรรมชาติจากเปลือกหอยหรือกุ้ง) หรือแอลจิเนต (สารสกัดจากสาหร่าย) เพื่อให้เกิดการจับตัวเป็นเปลือกนิ่มๆ บท/หน้า (5/16) ( 25/08/2558)

การลำเลียงวัสดุและระบบบรรจุภัณฑ์ บทที่ 5 เทคโนโลยีในระบบงานบรรจุภัณฑ์ WikiCell : บรรจุภัณฑ์กินได้ ทางเลือกใหม่บนโต๊ะอาหาร ส่วนบรรจุภัณฑ์ชั้นนอกนั้นจะทำหน้าที่ปกป้องเปลือกชั้นใน โดยมีสองชนิดให้เลือกขึ้นอยู่กับการใช้งาน ชนิดแรกผลิตจากไอโซมอลต์ (สารให้ความหวานชนิดหนึ่ง) สามารถรับประทานได้โดยนำไปล้างก่อน คล้ายกับแอปเปิ้ล ส่วนชนิดที่สองนั้นผลิตด้วยชานอ้อยหรือมันสำปะหลัง ซึ่งแม้จะรับประทานไม่ได้แต่ก็สามารถย่อยสลายได้ตามธรรมชาติ และสามารถทดแทนบรรจุภัณฑ์กระดาษแข็งที่ใช้บรรจุอาหารในปัจจุบัน เพียงแกะออกแล้วทิ้ง คล้ายกับเปลือกส้ม บท/หน้า (5/17) ( 25/08/2558)

การลำเลียงวัสดุและระบบบรรจุภัณฑ์ บทที่ 5 เทคโนโลยีในระบบงานบรรจุภัณฑ์ WikiCell : บรรจุภัณฑ์กินได้ ทางเลือกใหม่บนโต๊ะอาหาร บรรจุภัณฑ์แบบใหม่นี้สามารถปรับเปลี่ยนขนาด รูปแบบ และรสชาติได้หลากหลาย นอกจากนี้ยังสามารถเติมสารอาหารอื่นๆ ลงไป เพื่อเพิ่มโภชนาการให้แก่อาหารและเครื่องดื่มได้อีกด้วย โดยศาสตราจารย์เดวิดให้สัมภาษณ์ว่า WikiCell ได้รับความสนใจจากบริษัทอาหารและเครื่องดื่มชั้นนำหลายแห่ง แต่เนื่องจากเทคโนโลยียังอยู่ในระยะเริ่มต้น จึงยังต้องมีการวิจัยและพัฒนาอีกมาก ในขณะที่ด้านผู้บริโภคเองก็คงต้องใช้เวลาในการทำความเข้าใจและเปลี่ยนแปลงกระบวนการรับรู้ในบรรจุภัณฑ์ชนิดใหม่นี้พอสมควร บท/หน้า (5/18) ( 25/08/2558)

การลำเลียงวัสดุและระบบบรรจุภัณฑ์ บทที่ 5 เทคโนโลยีในระบบงานบรรจุภัณฑ์ WikiCell : บรรจุภัณฑ์กินได้ ทางเลือกใหม่บนโต๊ะอาหาร ด้วยเหตุนี้ ร้าน Wikibar ซึ่งจำหน่ายผลิตภัณฑ์อาหารที่บรรจุในบรรจุภัณฑ์รูปแบบใหม่จึงเกิดขึ้นในปารีสเป็นสาขาแรก เมื่อต้นปี 2013 ที่ผ่านมา เพื่อเป็นช่องทางประชาสัมพันธ์และเปิดโอกาสให้สาธารณชนได้สัมผัส รวมถึงทำความเข้าใจนวัตกรรมนี้มากขึ้น โดยรายการอาหารชุดแรกๆ ที่วางจำหน่ายในร้าน ได้แก่ ไอศครีม โยเกิร์ต และชีส ซึ่งออกแบบให้บรรจุใน WikiCell ทรงกลมขนาดพอดีคำ สามารถหยิบรับประทานด้วยมือได้ทันที บท/หน้า (5/19) ( 25/08/2558)

การลำเลียงวัสดุและระบบบรรจุภัณฑ์ บทที่ 5 เทคโนโลยีในระบบงานบรรจุภัณฑ์ WikiCell : บรรจุภัณฑ์กินได้ ทางเลือกใหม่บนโต๊ะอาหาร ไอศครีมมะม่วงในบรรจุภัณฑ์มะพร้าว ไอศครีมช็อกโกแลตในเปลือกรสเฮเซลนัท หรือไอศครีมวนิลาในเปลือกที่ทำจากพีนัท บท/หน้า (5/20) ( 25/08/2558)

การลำเลียงวัสดุและระบบบรรจุภัณฑ์ บทที่ 5 เทคโนโลยีในระบบงานบรรจุภัณฑ์ WikiCell : บรรจุภัณฑ์กินได้ ทางเลือกใหม่บนโต๊ะอาหาร โยเกิร์ตรสชาติหอมมันบรรจุในเปลือกที่ทำจากผลเบอร์รี่ อ้างอิงข้อมูล : http://www.tcdc.or.th/src/18048 บท/หน้า (5/21) ( 25/08/2558)

การลำเลียงวัสดุและระบบบรรจุภัณฑ์ บทที่ 5 เทคโนโลยีในระบบงานบรรจุภัณฑ์ เครื่องบรรจุภัณฑ์ปริมาณอัตโนมัติ บท/หน้า (5/22) ( 25/08/2558)

การลำเลียงวัสดุและระบบบรรจุภัณฑ์ บทที่ 5 เทคโนโลยีในระบบงานบรรจุภัณฑ์ เครื่องบรรจุภัณฑ์ถั่วลิสงอัตโนมัติ บท/หน้า (5/23) ( 25/08/2558)

การลำเลียงวัสดุและระบบบรรจุภัณฑ์ บทที่ 5 เทคโนโลยีในระบบงานบรรจุภัณฑ์ เครื่องบรรจุน้ำดื่มอัตโนมัติและระบบแพ๊คโหลอัตโนมัติ บท/หน้า (5/24) ( 25/08/2558)

การลำเลียงวัสดุและระบบบรรจุภัณฑ์ บทที่ 5 เทคโนโลยีในระบบงานบรรจุภัณฑ์ บท/หน้า (5/25) ( 25/08/2558)

การลำเลียงวัสดุและระบบบรรจุภัณฑ์ บทที่ 5 เทคโนโลยีในระบบงานบรรจุภัณฑ์ เครื่องบรรจุของลงกล่องอัตโนมัติ บท/หน้า (5/26) ( 25/08/2558)

การลำเลียงวัสดุและระบบบรรจุภัณฑ์ บทที่ 5 เทคโนโลยีในระบบงานบรรจุภัณฑ์ เครื่องพับกล่องอัตโนมัติ บท/หน้า (5/27) ( 25/08/2558)

บทที่ 5 เทคโนโลยีในระบบงานบรรจุภัณฑ์ การลำเลียงวัสดุและระบบบรรจุภัณฑ์ บทที่ 5 เทคโนโลยีในระบบงานบรรจุภัณฑ์ จบการนำเสนอ ทำแบบฝึกหัดท้ายบทบ้างนะ บท/หน้า (5/28) ( 25/08/2558)

การลำเลียงวัสดุและระบบบรรจุภัณฑ์ บทที่ 5 เทคโนโลยีในระบบงานบรรจุภัณฑ์ แบบฝึกหัด นักศึกษาคิดว่าเทคโนโลยีในระบบงานบรรจุภัณฑ์ จะพัฒนาไปอย่างไร เทคโนโลยีบรรจุภัณฑ์อาหาร จะพัฒนาไปอย่างไร นักศึกษามีแนวคิดอย่างไรที่ช่วยลดปัญหาขยะ และช่วยให้ธรรมชาติกลับมาบริสุทธิ์ ด้วยบรรจุภัณฑ์ที่เราออกแบบ และยกตัวอย่างประกอบ นักศึกษามีแนวคิดอย่างไรช่วยพัฒนาเครื่องจักรบรรจุภัณฑ์ ผลิตภัณฑ์สินค้า OTOP ในจังหวัดอุดรธานี บท/หน้า (5/29) ( 25/08/2558)