ผู้วิจัย นางกาญจนี พรหมดวง

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Chapter 3 Data Representation (การแทนข้อมูล)
Advertisements

ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชา การสอนภาษาอังกฤษเพื่อ วิชาการและงานอาชีพ
ศูนย์เรียนรู้ชุมชนเศรษฐกิจ พอเพียงบ้านซ่อง อ.พนมสารคาม จ.ฉะเชิงเทรา
สาระที่ ๒ การเขียน.
การบริหารจัดการโครงการ และการเบิกจ่ายงบประมาณ
ศึกษาข้อมูลท้องถิ่นบ้านสนาม
ยินดีต้อนรับ คณะกรรมการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน “สำนักส่งเสริมวิชาการและงานทะเบียน” วันอังคารที่ 23 สิงหาคม พ.ศ
Application of Electron Paramagnetic Resonance (EPR)
Lubna Shamshad (Ph.D Student) Supervisor Dr.GulRooh
Q n° R n°.
อาคารสำนักงานเขต พื้นที่การศึกษา (สพป./สพม.)
Chapter 3 Design of Discrete-Time control systems Frequency Response
ยินดีต้อนรับ นสต. ภ.๙.
การส่งเสริมจริยธรรมและคุณธรรม เพื่อการป้องกันการทุจริต
พอช.องค์การมหาชนของชุมชนไทย
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
หน่วยที่ 2 การประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
หลักสูตรการศึกษานอกระบบ ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
Multiple Input Multiple Output (MIMO)
บทที่ 7 TAS 17 (ปรับปรุง 2558): สัญญาเช่า (Leases)
หลักการสร้างมาตรวัดทางจิตวิทยา
โครงการส่งเสริมการพัฒนาคุณภาพงาน คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
แผนการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
แนวการตรวจสอบภายใน การตรวจสอบรถราชการ
ทะเบียนราษฎร.
นายธนวิทย์ โพธิ์พฤกษ์ เลขที่ 8 นายอนุสรณ์ ขำหลง เลขที่ 29
เรื่อง การบริหารการศึกษาตาม พ.ร.บ ระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ
เอกสารประกอบการบรรยายครั้ง ๒ วิชาซื้อขาย - เช่าทรัพย์ - เช่าซื้อ
ระเบียบกระทรวงมหาดไทย
บทที่ 12 การวิเคราะห์สหสัมพันธ์และการถดถอย
DATA STRUCTURES AND ALGORITHMS
ขั้นตอนการจัดตั้งกลุ่มส่งเสริมอาชีพ จังหวัดนครราชสีมา ปี ๒๕๕๘/๕๙
หลักการจัดกิจกรรมนันทนาการ
การประชุมผู้บริหารระดับสูงกระทรวงวัฒนธรรม ครั้งที่ ๔/๒๕๖๐
การเบิกจ่ายเงินเกี่ยวกับค่าใช้จ่าย ในการบริหารงานของส่วนราชการ
การแก้ไขปัญหา สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยนคลองจั่น จำกัด
ขั้นตอนของกิจกรรม : ปฏิบัติเป็นประจำ เพื่อให้เกิดการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง
ตอนที่ 2.๒ บทบาทหน้าที่ของเจ้าหน้าที่ส่งเสริมการเกษตรระดับอำเภอ
บทที่ 4 การกระจาย อำนาจด้านการคลัง
งานเงินสมทบและการตรวจสอบ
ยินดีต้อนรับเข้าสู่บทเรียนคอมพิวเตอร์ วัยรุ่นไทยใส่ใจวัฒนธรรม เรื่อง
การพัฒนาระบบบริหารจัดการกำลังคนด้านสุขภาพ “การพัฒนาบุคลากร”
ค่าใช้จ่ายต่างๆ ในโครงการฯ
วันเสาร์ที่ 2 กรกฎาคม 2559 วิทยาลัยเทคโนโลยีอักษรพัทยา
วิชาสังคมศึกษา ม.3 สาระที่ 1 ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม.
มหาวิยาลัยราชภัฏนครราชสีมา
โครงการสนับสนุนสินเชื่อเกษตรกรชาวสวนยาง รายย่อยเพื่อประกอบอาชีพเสริม
ความหมายของหนี้สาธารณะ
การจัดการชั้นเรียน.
การบริหารการเงิน ในสถานศึกษา
องค์ประกอบและผลกระทบของธุรกิจไมซ์
โคลง ร่าย และ โดยครูธาริตา นพสุวรรณ
Matrix 1.Thamonaporn intasuwan no.7 2.Wannisa chawlaw no.13 3.Sunita taoklang no.17 4.Aungkhana mueagjinda no.20.
สมาชิกโต๊ะ 1 นายสุรวินทร์ รีเรียง นายภาณุวิชญ์ อนุศรี
นำเสนอ วัดเกาะชัน ด.ช.ปกรณ์ ร้อยจันทร์ ม.2/7 เลขที่ 19
รศ.ดร.อนันต์ จันทรโอภากร
การเขียนวิจารณ์วรรณกรรม ๒
การยืมเงิน จากแหล่งเงินงบประมาณรายได้
วิชา หลักการตลาด บทที่ 7 การออกแบบกลยุทธ์ราคา
ผังมโนทัศน์สาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑
สาระสำคัญพ.ร.บ.การทวงถามหนี้ พ.ศ.๒๕๕๘ สาระสำคัญพ.ร.บ.การทวงถามหนี้ พ.ศ.๒๕๕๘.
การบัญชีตามความรับผิดชอบและ การประเมินผลการปฏิบัติงาน
ตำบลหนองพลับ ประวัติความเป็นมา
แบบทดสอบ เรื่อง ความน่าจะเป็น.
การปฏิรูประบบศาลยุติธรรม หลังรัฐประหาร 2557
ธาตุ สารประกอบ และปฏิกิริยาเคมี
ข้อกำหนด/มาตรฐาน ด้านสุขาภิบาลอาหาร
การบริหารหลักสูตร ความหมาย : การดำเนินงานที่เกี่ยวข้องกับการทำหลักสูตร และเอกสารประกอบหลักสูตร ไปสู่การปฏิบัติในสถานการณ์จริงหรือกิจกรรมการเรียนการสอนให้เป็นไปตามเป้าหมายที่กำหนดไว้ในหลักสูตรโดยอาศัยการสนับสนุนและร่วมมือจากบุคคลที่เกี่ยวข้องกับการใช้หลักส
PHYSICS by P’Tum LINE
การพิจารณาสัญชาติของบุคคล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ผู้วิจัย นางกาญจนี พรหมดวง เรื่อง ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาการดำเนินธุรกิจขนาดย่อม ของนักศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีชั้นปีที่ 2 ที่จัดการเรียนรู้โดยใช้โมเดลซิปปา ภาคเรียนที่ 2/2557 วิทยาลัยเทคโนโลยีตั้งตรงจิตรพณิชยการ ผู้วิจัย นางกาญจนี พรหมดวง

ความเป็นมาและคามสำคัญของบัญหา ในการพัฒนาบุคคลให้มีความรู้ความสามารถ ต้องอาศัยการจัดการเรียนรู้ที่หลากหลายเพื่อให้เป็นพลเมืองดี มีคุณภาพและประสิทธิภาพ การพัฒนาประเทศชาติก็ย่อมทำได้โดยสะดวกราบรื่นได้ผลที่แน่นอนและรวดเร็ว การอาชีวศึกษา เป็นองค์กรที่มุ่งมั่นให้การบริหารจัดการอาชีวศึกษาสู่ความเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ โดยรวม สถานศึกษาขึ้นเป็นสถาบันการอาชีวศึกษา ให้เป็นศูนย์แห่งความสมานฉันท์ ที่จะเกื้อกูล ทรัพยากรต่อกัน ให้เกิดความแข็งแกร่งในทุกสาชาวิชาชีพ เพื่อสร้างคุณภาพในการผลิต กำลังคนตั้งแต่ระดับกึ่งฝีมือ ระดับฝีมือ ระดับเทคนิค และระดับเทคโนโลยี ให้มีคุณภาพตาม มาตรฐานสากล สอดคล้องกับสภาพเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม สิ่งแวดล้อม ความต้องการ ของตลาดแรงงาน และความก้าวหน้าของเทคโนโลยี (พยุงศักดิ์ จันทรสุรินทร์. 2544 : 2) สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข ในการเรียนรู้ต้องมุ่งปลูกฝังจิตสำนึกที่ถูกต้องเกี่ยวกับ การเมืองการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข รู้จักรักษา และส่งเสริมสิทธิ หน้าที่ เสรีภาพ ความเคารพกฎหมาย ความเสมอภาคและศักดิ์ศรีความเป็น มนุษย์ มีความภาคภูมิใจในความเป็นไทย รู้จักรักษาผลประโยชน์ส่วนรวมและประเทศชาติ รวมทั้งส่งเสริมศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรมของชาติ การกีฬา ภูมิปัญญาท้องถิ่น ภูมิปัญญาไทย และความรู้อันเป็นสากล ตลอดจนอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม มีความสามารถ ในการประกอบอาชีพ รู้จักพึ่งตนเองมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ใฝ่รู้ และเรียนรู้ด้วยตนเองอย่าง ต่อเนื่อง (กระทรวงศึกษาธิการ. 2545 : 5 - 22) สถานศึกษาเอกชนจัดการศึกษาได้ทุกระดับ และทุกประเภทการศึกษาตามที่กฎหมายกำหนด โดยรัฐต้องกำหนดนโยบาย และแผนการจัด การศึกษาของรัฐของเขตพื้นที่การศึกษาหรือองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ให้คำนึงถึงผลกระทบ ต่อการจัดการศึกษาของเอกชน โดยให้รัฐมนตรีหรือคณะกรรมการเขตพื้นที่การศึกษา หรือ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นรับฟังความคิดเห็นของประชาชนและการจัดการเรียนรู้โมเดลซิปปา (CIPPA Model)

ความเป็นมาและคามสำคัญของปัญหา เป็นการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญรูปแบบหนึ่งที่ ทิศนา แขมมณี ได้พัฒนาขึ้นโดยการนำแนวคิดหลัก 5 แนวคิดเป็นพื้นฐานของการจัดการเรียนรู้ แนวคิดดังกล่าวคือ แนวคิดการสร้างความรู้ แนวคิดเกี่ยวกับกระบวนการกลุ่มและการเรียนรู้แบบร่วมมือ แนวคิดเกี่ยวกับ ความพร้อมในการเรียนรู้ แนวคิดเกี่ยวกับการเรียนรู้กระบวนการ และแนวคิดเกี่ยวกับการถ่ายโอนการเรียนรู้จากแนวคิดการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ ทิศนา แขมมณี ใช้ในการพัฒนารูปแบบ การเรียนรู้โมเดลซิปปาจะประกอบด้วยขั้นตอนการจัดการเรียนรู้ที่สำคัญ 7 ขั้น คือ ขั้นการทบทวนความรู้เดิม ขั้นการแสวงหาความรู้ใหม่ ขั้นการศึกษาทำความเข้าใจข้อมูล ขั้นการแลกเปลี่ยน ความรู้ความเข้าใจกับกลุ่ม ขั้นสรุปและจัดระเบียบความรู้ ขั้นการปฏิบัติ หรือแสดงผลงาน และขั้นการประยุกต์ใช้ความรู้ (ทิศนา แขมมณี. 2545 ค : 280 - 281)จากการศึกษากระบวนการจัดการเรียนรู้โมเดลซิปปา ที่พัฒนาขึ้นจากทิศนา แขมมณี ผู้วิจัยเห็นว่า เป็นรูปแบบที่เหมาะสมกับการนำมาใช้จัดการเรียนรู้วิชาการดำเนินธุรกิจขนาดย่อม เนื่องจากเป็นการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ส่งเสริมให้ผู้เรียนฝึกกระบวนการคิดสร้างสรรค์ วิเคราะห์ และการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง ทั้งยังส่งเสริมให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมกลุ่มส่งเสริมกิจกรรมการเรียนรู้ทั้งทางร่างกาย สติปัญญา สังคม และอารมณ์ เน้นการกระตุ้นให้เกิดการเรียนรู้ตลอดเวลา เปิดโอกาสให้ได้สร้างสรรค์ผลงานจากการสร้างความรู้ของตนในการแสดงอย่างอิสระเพิ่มประสบการณ์ในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้การปฏิบัติกิจกรรม เน้นการลงมือปฏิบัติจริง และเพื่อส่งเสริมให้ผู้เรียนได้นำความรู้ ความเข้าใจไปประยุกต์ใช้ได้

คำถามของการวิจัย ผู้เรียนมีจะผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาการดำเนินธุรกิจขนาดย่อมมากขึ้นหรือไม่

วัตถุประสงค์ของการวิจัย 1. เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาการดำเนินธุรกิจขนาดย่อม ก่อนและหลังเรียนของนักศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่ 2 ที่จัดการเรียนรู้โดยใช้โมเดลซิปปา 2. เพื่อศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาการดำเนินธุรกิจขนาดย่อม ของนักศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่ 2 ที่จัดการเรียนรู้โดยใช้โมเดลซิปปา 3. เพื่อศึกษาความพึงพอใจต่อการเรียนรายวิชาการดำเนินธุรกิจขนาดย่อม ของนักศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่ 2 ที่จัดการเรียนรู้โดยใช้โมเดลซิปปา

ตัวแปรที่ใช้ในการวิจัย - ตัวแปรต้น คือ การสอนวิชาการดำเนินธุรกิจขนาดย่อม - ตัวแปรตาม คือ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาการดำเนินธุรกิจขนาดย่อม

กรอบแนวคิดในการศึกษา ในการศึกษาครั้งนี้ ผู้ศึกษาใช้กรอบแนวคิดเกี่ยวกับการจัดการเรียนรู้ วิชาการดำเนินธุรกิจขนาดย่อม ตามหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2545 (ปรับปรุง พ.ศ. 2546) กำหนดเป็นกรอบแนวคิด ดังภาพที่ 1.1

สมมติฐานในการศึกษา นักศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่ 2 ที่เรียนโดยใช้การจัดการเรียนแบบโมเดลซิปปามีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนสูงขึ้นกว่าก่อนเรียน

ประโยชน์ของการวิจัย 1. ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาการดำเนินธุรกิจขนาดย่อม สูงขึ้น 2. ผู้เรียนมีความพึงพอใจต่อการจัดกิจกรรมการเรียนรู้รายวิชาการดำเนินธุรกิจขนาดย่อม โดยใช้โมเดลซิปปา 3. เป็นแนวทางพัฒนาครูผู้สอนในรายวิชาการดำเนินธุรกิจขนาดย่อม และรายวิชาอื่นที่มีการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ตามหลักโมเดลซิปปา

ขอบเขตของการวิจัย 1. ประชากรและกลุ่มตัวอย่างประชากรที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้เป็น นักศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่ 2 วิทยาลัยเทคโนโลยีตั้งตรงจิตรพณิชยการ เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2557 จำนวน 50 คน จำนวน 1 ห้องเรียน 2. เนื้อหาที่ใช้ในการศึกษาเนื้อหาที่ใช้ในการศึกษาเป็นเนื้อหาในรายวิชาการดำเนินธุรกิจขนาดย่อม ชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่ 2 ตามหลักสูตรกรมอาชีวศึกษา พุทธศักราช 2545 3. สถานที่ในการศึกษาสถานที่ในการศึกษา คือ วิทยาลัยเทคโนโลยีตั้งตรงจิตรพณิชยการ เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร 4. ระยะเวลาในการดำเนินการศึกษาวิจัยผู้วิจัยดำเนินการทดลอง โดยการสอนด้วยตนเอง 6 สัปดาห์ สัปดาห์ละ 4 ชั่วโมง รวม 24 ชั่วโมง ในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2557

นิยามศัพท์เฉพาะ วิชาการดำเนินธุรกิจขนาดย่อม หมายถึง รายวิชาที่กำหนดไว้ในหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2545 (ปรับปรุง พ.ศ. 2546) ประเภทวิชาพาณิชยกรรม สาขาวิชาพณิชยการ กำหนดไว้ในโครงสร้างหลักสูตรเป็นวิชาชีพสาขาวิชา ใช้รหัส 2201-2204 และกำหนดไว้ในแผนการเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่ 2 ภาคเรียนที่ 2 โมเดลซิปปา (CIPPA MODEL) คือ รูปแบบการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญซึ่งทิศนา แขมมณี ได้พัฒนาโดยการนำแนวคิด 5 แนวคิด ได้แก่ การสรรค์สร้างความรู้ กระบวนการกลุ่มและการเรียนรู้แบบร่วมมือ ความพร้อมในการเรียนรู้ การเรียนรู้กระบวนการ และการถ่ายโอนการเรียนรู้ การจัดการเรียนรู้มี 7 ขั้นตอน คือ การทบทวนความรู้เดิม การแสวงหาความรู้ใหม่การศึกษาทำความเข้าใจข้อมูล / ความรู้ใหม่ และเชื่อมโยงความรู้ใหม่กับความรู้เดิม การแลกเปลี่ยนความรู้ความเข้าใจกับกลุ่ม การสรุปและจัดระเบียบความรู้ การปฏิบัติ หรือแสดงผลงานและการประยุกต์ใช้ความรู้ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หมายถึงคุณลักษณะและความรู้ความสามารถของบุคคลอันเป็นผลมาจากการเรียนการสอนหรือประมวลประสบการที่บุคคลได้รับจากการเรียนหารสอนทำให้บุคคลเกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของสมรรถภาพสมองซึ่งสามารถวัดออกมาได้เป็นคะแนนโดยใช้แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน

** นัยสําคัญทางสถิติที่ ระดับ.01 ตารางที่ 4.2 ผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนธุรกิจขนาดย่อม ภาคความรู้ เรื่องวิเคราะห์เลือกทำเลที่ตั้งธุรกิจขนาดย่อมของนักเรียนที่ ได้รับการจัดการเรียนรู้ โมเดลซิปปา โดยเปรียบเทียบกับคะแนนเกณฑ์ร้อยละ80 ** นัยสําคัญทางสถิติที่ ระดับ.01 เรื่องที่ n คะแนนเต็ม 𝐗 S.D. เกณฑ์ t p 1 40 16 14.20 .75 12.80 11.68** .000 2 20 18.00 .91 16.00 13.96** 3 24 26.60 1.21 19.20 12.49** 4 10 8.40 .49 8.00 5.10** รวม 70 62.20 2.82 56.00 13.90**

ตารางที่ 4.3 ความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการจัดการเรียนรู้ตามรูปแบบโมเดลซิปปา ลำดับ รายการ 𝐗 S.D. ระดับ ความพึงพอใจ 1. กิจกรรมการเรียนรู้กระตุ้นหรือเร้าความสนใจ 4.25 .39 มาก 2. ผู้เรียนได้ฝึกทักษะในการแสวงหาความรู้ 4.16 .32 3. ช่วยให้มีการเชื่อมโยงความรู้เดิมกับความรู้ใหม่ 4.18 .27 4. ส่งเสริมให้ผู้เรียนได้มี โอกาสศึกษาค้นคว้าและสร้างความรู้ด้วยตนเอง 4.28 .15 5. จัดกิจกรรมการเรียนรู้ให้มีการแลกเปลี่ยนความรู้ความเข้าใจกับกลุ่ม 4.31 .33 6. เปิดโอกาสให้แสดงความคิดเห็นอย่างกว้างขวางและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น 4.51 .30 มากที่สุด 7. ส่งเสริมให้ผู้ เรียนได้สรุปความรู้และรายงานผลหลังการเรียนรู้ 4.33 .26 8. เปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้ฝึกปฏิบัติเป็นรายบุคคลและเป็นกลุ่ม 4.40 .31 9. ส่งเสริมให้มีการวางแผนก่อนการลงมือปฏิบัติงาน 4.17 .29 10. การจัดการเรียนรู้โมเดลซิปปา สามารถไปปรับใช้ได้จริงในชีวิตประจําวัน 4.50 .36   รวม .13

ข้อเสนอแนะ ข้อเสนอแนะในการวิจัยครั้งต่อไป 1. ควรมีการศึกษาการจัดการเรียนรู้ โมเดลซิปปาในกลุ่มสาระการเรียนรู้ธุรกิจขนาดย่อม กับนักเรียนในระดับชั้ นอื่น ๆ 2. ควรมีการวิจัยเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนธุรกิจขนาดย่อม ด้วยวิธีการสอนโดย โมเดลซิปปากับวิธีสอนแบบอื่น ๆ เพื่อช่วยให้ครูสามารถตัดสินใจเลือกวิธีสอนที่ ดี และมี ความเหมาะสมมากที่สุดกับเนื้อหาบทเรียนแต่ละเรื่อง 3. ควรเก็บรวบรวมข้อมูลเพิ่มเติมโดยการสัมภาษณ์หรือสนทนากลุ่มกับนักเรียน เกี่ยวกับกระบวนการเรียนรู้ โดยใช้โมเดลซิปปา เพื่อให้ได้ข้อมูลคุณลักษณะเชิงลึกประกอบกับ การศึกษาข้อมูลเชิงปริมาณจะได้รายละเอียดที่ เป็นประโยชน์ต่อการปรับปรุงกระบวนการเรียนรู้ โดยใช้โมเดลซิปปาให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น