ความเชื่อกับการดูแลสุขภาพ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Chapter 3 Data Representation (การแทนข้อมูล)
Advertisements

ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชา การสอนภาษาอังกฤษเพื่อ วิชาการและงานอาชีพ
ศูนย์เรียนรู้ชุมชนเศรษฐกิจ พอเพียงบ้านซ่อง อ.พนมสารคาม จ.ฉะเชิงเทรา
สาระที่ ๒ การเขียน.
การบริหารจัดการโครงการ และการเบิกจ่ายงบประมาณ
ศึกษาข้อมูลท้องถิ่นบ้านสนาม
ยินดีต้อนรับ คณะกรรมการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน “สำนักส่งเสริมวิชาการและงานทะเบียน” วันอังคารที่ 23 สิงหาคม พ.ศ
Application of Electron Paramagnetic Resonance (EPR)
Lubna Shamshad (Ph.D Student) Supervisor Dr.GulRooh
Q n° R n°.
อาคารสำนักงานเขต พื้นที่การศึกษา (สพป./สพม.)
Chapter 3 Design of Discrete-Time control systems Frequency Response
ยินดีต้อนรับ นสต. ภ.๙.
การส่งเสริมจริยธรรมและคุณธรรม เพื่อการป้องกันการทุจริต
พอช.องค์การมหาชนของชุมชนไทย
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
หน่วยที่ 2 การประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
หลักสูตรการศึกษานอกระบบ ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
Multiple Input Multiple Output (MIMO)
บทที่ 7 TAS 17 (ปรับปรุง 2558): สัญญาเช่า (Leases)
หลักการสร้างมาตรวัดทางจิตวิทยา
โครงการส่งเสริมการพัฒนาคุณภาพงาน คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
แผนการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
แนวการตรวจสอบภายใน การตรวจสอบรถราชการ
ทะเบียนราษฎร.
นายธนวิทย์ โพธิ์พฤกษ์ เลขที่ 8 นายอนุสรณ์ ขำหลง เลขที่ 29
เรื่อง การบริหารการศึกษาตาม พ.ร.บ ระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ
เอกสารประกอบการบรรยายครั้ง ๒ วิชาซื้อขาย - เช่าทรัพย์ - เช่าซื้อ
ระเบียบกระทรวงมหาดไทย
บทที่ 12 การวิเคราะห์สหสัมพันธ์และการถดถอย
DATA STRUCTURES AND ALGORITHMS
ขั้นตอนการจัดตั้งกลุ่มส่งเสริมอาชีพ จังหวัดนครราชสีมา ปี ๒๕๕๘/๕๙
หลักการจัดกิจกรรมนันทนาการ
การประชุมผู้บริหารระดับสูงกระทรวงวัฒนธรรม ครั้งที่ ๔/๒๕๖๐
การเบิกจ่ายเงินเกี่ยวกับค่าใช้จ่าย ในการบริหารงานของส่วนราชการ
การแก้ไขปัญหา สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยนคลองจั่น จำกัด
ขั้นตอนของกิจกรรม : ปฏิบัติเป็นประจำ เพื่อให้เกิดการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง
ตอนที่ 2.๒ บทบาทหน้าที่ของเจ้าหน้าที่ส่งเสริมการเกษตรระดับอำเภอ
บทที่ 4 การกระจาย อำนาจด้านการคลัง
งานเงินสมทบและการตรวจสอบ
ยินดีต้อนรับเข้าสู่บทเรียนคอมพิวเตอร์ วัยรุ่นไทยใส่ใจวัฒนธรรม เรื่อง
การพัฒนาระบบบริหารจัดการกำลังคนด้านสุขภาพ “การพัฒนาบุคลากร”
ค่าใช้จ่ายต่างๆ ในโครงการฯ
วันเสาร์ที่ 2 กรกฎาคม 2559 วิทยาลัยเทคโนโลยีอักษรพัทยา
วิชาสังคมศึกษา ม.3 สาระที่ 1 ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม.
มหาวิยาลัยราชภัฏนครราชสีมา
โครงการสนับสนุนสินเชื่อเกษตรกรชาวสวนยาง รายย่อยเพื่อประกอบอาชีพเสริม
ความหมายของหนี้สาธารณะ
การจัดการชั้นเรียน.
การบริหารการเงิน ในสถานศึกษา
องค์ประกอบและผลกระทบของธุรกิจไมซ์
โคลง ร่าย และ โดยครูธาริตา นพสุวรรณ
Matrix 1.Thamonaporn intasuwan no.7 2.Wannisa chawlaw no.13 3.Sunita taoklang no.17 4.Aungkhana mueagjinda no.20.
สมาชิกโต๊ะ 1 นายสุรวินทร์ รีเรียง นายภาณุวิชญ์ อนุศรี
นำเสนอ วัดเกาะชัน ด.ช.ปกรณ์ ร้อยจันทร์ ม.2/7 เลขที่ 19
รศ.ดร.อนันต์ จันทรโอภากร
การเขียนวิจารณ์วรรณกรรม ๒
การยืมเงิน จากแหล่งเงินงบประมาณรายได้
วิชา หลักการตลาด บทที่ 7 การออกแบบกลยุทธ์ราคา
ผังมโนทัศน์สาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑
สาระสำคัญพ.ร.บ.การทวงถามหนี้ พ.ศ.๒๕๕๘ สาระสำคัญพ.ร.บ.การทวงถามหนี้ พ.ศ.๒๕๕๘.
การบัญชีตามความรับผิดชอบและ การประเมินผลการปฏิบัติงาน
ตำบลหนองพลับ ประวัติความเป็นมา
แบบทดสอบ เรื่อง ความน่าจะเป็น.
การปฏิรูประบบศาลยุติธรรม หลังรัฐประหาร 2557
ธาตุ สารประกอบ และปฏิกิริยาเคมี
ข้อกำหนด/มาตรฐาน ด้านสุขาภิบาลอาหาร
การบริหารหลักสูตร ความหมาย : การดำเนินงานที่เกี่ยวข้องกับการทำหลักสูตร และเอกสารประกอบหลักสูตร ไปสู่การปฏิบัติในสถานการณ์จริงหรือกิจกรรมการเรียนการสอนให้เป็นไปตามเป้าหมายที่กำหนดไว้ในหลักสูตรโดยอาศัยการสนับสนุนและร่วมมือจากบุคคลที่เกี่ยวข้องกับการใช้หลักส
PHYSICS by P’Tum LINE
การพิจารณาสัญชาติของบุคคล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ความเชื่อกับการดูแลสุขภาพ อ.แสงสิทธิ์ กฤษฎี

ความเชื่อกับการดูแลสุขภาพ แนวคิดพื้นฐานเกี่ยวกับความเชื่อ ความเชื่อเกี่ยวกับสาเหตุของการเกิดโรคและวิธีการดูแลสุขภาพ ความเชื่อและการดูแลสุขภาพในช่วงเปลี่ยนผ่านสถานการณ์ชีวิต

3.1 แนวคิดพื้นฐานเกี่ยวกับความเชื่อ ความหมายและประเภทของความเชื่อ ความสำคัญของความเชื่อ ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความเชื่อ

ความเชื่อเกี่ยวกับสาเหตุของการเกิดโรคและวิธีการดูแลสุขภาพ ความเชื่อแบบอำนาจเหนือธรรมชาติและวิธีการดูแลสุขภาพ ความเชื่อแบบพื้นบ้านและวิธีการดูแลสุขภาพ ความเชื่อแบบการแพทย์แผนตะวันตกและวิธีการดูแลสุขภาพ

ความเชื่อและการดูแลสุขภาพในช่วงเปลี่ยนผ่านสถานการณ์ชีวิต ความเชื่อและการดูแลสุขภาพเกี่ยวกับการเกิด ความเชื่อและการดูแลสุขภาพเกี่ยวกับความชรา ความเชื่อและการดูแลสุขภาพเกี่ยวกับความตาย

3.1.1 ความหมายและประเภทของความเชื่อ ความเชื่อ หมายถึง การยอมรับคำอธิบายเหตุการณ์หรือ ปรากฏการณ์หนึ่ง ๆ ที่บุคคลได้จากการรับรู้และเรียนรู้ร่วมกันในสังคม และถ่ายทอดสืบต่อกันมาจนตกผลึกเป็นแบบแผนทางวัฒนธรรมของ สังคมนั้น โดยอาจมีเหตุผลหรือไม่มี หรือหลักฐานมาสนับสนุนก็ได้ อย่างไรก็ตาม ความเชื่อสามารถเปลี่ยนแปลงได้ตามวิวัฒนาการและ พัฒนาการของสังคม

ประเภทของความเชื่อ ความเชื่อในสิ่งปรากฏอยู่จริง ความเชื่อขั้นพื้นฐานของบุคคล ความเชื่อแบบประเพณี ความเชื่อแบบเป็นทางการ

3.1.2 ความสำคัญของความเชื่อ ความสำคัญของความเชื่อที่มีต่อบุคคล ความสำคัญของความเชื่อที่มีต่อสังคม ความสำคัญของการศึกษาความเชื่อ

ความสำคัญของความเชื่อที่มีต่อบุคคล ความเชื่อช่วยตอบสนองต่อความไม่รู้และความกลัวของบุคคล ความเชื่อนำมาซึ่งการแสดงออกทางพฤติกรรมของบุคคล

ความสำคัญของความเชื่อที่มีต่อสังคม ความเชื่อก่อให้เกิดกลุ่มทางสังคม ความเชื่อก่อให้เกิดการจัดระเบียบทางสังคม ความเชื่อก่อให้เกิดพิธีกรรมและประเพณี

ความสำคัญของการศึกษาความเชื่อ เพราะจะช่วยเอื้อประโยชน์ในการเข้าใจถึงสาเหตุและที่มาของ พฤติกรรมและสามารถประยุกต์ใช้ความเชื่อให้เป็นส่วนหนึ่งของแผน และกลยุทธ์ในการดำเนินงาน เพื่อให้สอดคล้องกับความเชื่อ วิถีและ ขนบธรรมเนียมอื่น ๆ ของสังคมโดยรวม โดยไม่เกิดความขัดแย้งทาง วัฒนธรรม

3.1.3 ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความเชื่อ ปัจจัยที่มีอิทธิพลในการกำหนดแบบแผนความคิดและความเชื่อ แบ่งได้ 3 ประเภท คือ o ปัจจัยทางด้านจิตวิทยา ได้แก่ การรับรู้ และการเรียนรู้ o ปัจจัยทางสังคมและวัฒนธรรม ได้แก่ การขัดเกลาทางสังคม การควบคุม ทางสังคม การปฏิสัมพันธ์ทางสังคม การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและ วัฒนธรรม o ปัจจัยทางด้านบุคคล ได้แก่ ศาสนา อายุ เพศ การศึกษา อาชีพ

3.2 ความเชื่อเกี่ยวกับสาเหตุของการเกิดโรคและวิธีการดูแลสุขภาพ

3.2.1 ความเชื่อแบบอำนาจเหนือธรรมชาติและวิธีการดูแลสุขภาพ ความเชื่อเกี่ยวกับสาเหตุของการเกิดโรค วิธีการดูแลสุขภาพแบบอำนาจเหนือธรรมชาติ ผู้ให้การดูแลรักษาสุขภาพในการแพทย์แบบอำนาจเหนือธรรมชาติ

ความเชื่อเกี่ยวกับสาเหตุของการเกิดโรค ความเจ็บป่วยที่เกิดจากการกระทำของผี ความเจ็บป่วยที่เกิดจากเวทมนตร์และคุณไสย ความเจ็บป่วยที่เกิดจากขวัญ ความเจ็บป่วยทีเกิดจากเคราะห์หรือโชคชะตา ความเจ็บป่วยที่เกิดจากการละเมิดขนบธรรมเนียมประเพณีของสังคม ความเจ็บป่วยที่เกิดจากที่ตั้งของภูมิศาสตร์

วิธีการดูแลสุขภาพแบบอำนาจเหนือธรรมชาติ ส่วนใหญ่ใช้การประกอบพิธีกรรมเป็นหลัก ครอบคลุมตั้งแต่การ วินิจฉัยหาสาเหตุและกระบวนการในการรักษา

ผู้ให้การดูแลรักษาสุขภาพในการแพทย์แบบอำนาจเหนือธรรมชาติ ประกอบด้วย 4 กลุ่ม คือ กลุ่มหมอดู กลุ่มหมอสะเดาะเคราะห์ กลุ่มหมอธรรม และกลุ่มหมอตำรา

3.2.2 ความเชื่อแบบพื้นบ้านและวิธีการดูแลสุขภาพ ความเชื่อเกี่ยวกับสาเหตุของการเกิดโรค วิธีการดูแลสุขภาพแบบพื้นบ้าน ผู้ให้การดูแลรักษาสุขภาพในการแพทย์แบบพื้นบ้าน

ความเชื่อเกี่ยวกับสาเหตุของการเกิดโรค ความเจ็บป่วยที่เกิดจากการขาดสมดุลธาตุ ความเจ็บป่วยที่เกิดจาการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ความเจ็บป่วยที่เกิดจากการบริโภคอาหารแสลงโรค ความเจ็บป่วยที่เกิดจากเชื้อโรค ความเจ็บป่วยที่เกิดจากการประกอบอาชีพ ความเจ็บป่วยที่เกิดจากอุบัติเหตุ

วิธีการดูแลสุขภาพแบบพื้นบ้าน พิธีตั้งขันข้าว หรือการตั้งคาย เป็นการไหว้ครูเพื่อให้เกิดผลสัมฤทธิ์ทางการ รักษา พิธียอครู-บนครู การวินิจฉัยโรค การรักษา การปลงขัน เป็นขั้นตอนสุดท้ายของการสวมบทบาทของผู้ป่วยเพื่อก้าวข้าม ผ่านไปสู่สภาวะปกติ

ผู้ให้การดูแลรักษาสุขภาพในการแพทย์แบบพื้นบ้าน หมอสมุนไพร หมอเป่า หมอกระดูกหรือหมอน้ำมัน หมอนวด หมอตำแย

3.2.3 ความเชื่อแบบการแพทย์แผนตะวันตกและวิธีการดูแลสุขภาพ ความเชื่อเกี่ยวกับสาเหตุของการเกิดโรค วิธีการดูแลสุขภาพแบบแพทย์ตะวันตก ผู้ให้การดูแลรักษาสุขภาพในการแพทย์ตะวันตก

ความเชื่อเกี่ยวกับสาเหตุของการเกิดโรค ความเจ็บป่วยเกิดจากเชื้อโรค ความเจ็บป่วยเกิดจากพันธุกรรม ความเจ็บป่วยเกิดจากพฤติกรรม ความเจ็บป่วยเกิดจากสิ่งแวดล้อมหรืออุบัติเหตุ ความเจ็บป่วยเกิดจากจิตใจ ความเจ็บป่วยเกิดจากสาเหตุอื่น ๆ เช่น ปัญหาทางด้านสังคม วัฒนธรรม เช่น การทำแท้ง การทำร้ายร่างกาย

วิธีการดูแลสุขภาพแบบแพทย์ตะวันตก การวินิจฉัยหาสาเหตุของความเจ็บป่วย วิธีการดูแลรักษาสุขภาพ

ผู้ให้การดูแลรักษาสุขภาพในการแพทย์ตะวันตก ผู้ให้การรักษา คือ แพทย์หรือหมอที่ได้ผ่านการเรียนทางด้านแพทย์ศาสตร์มา โดยเฉพาะ ผู้ให้การดูแลด้านเภสัชกรรม ผู้ให้การดูแลด้านการพยาบาล ผู้ให้การดูแลด้านการป้องกันและส่งเสริมสุขภาพ ผู้ให้การดูแลด้านการฟื้นฟูสุขภาพ บุคลากรอื่น ๆ เช่น เจ้าหน้าที่รังสีเทคนิค เจ้าหน้าที่ด้านเทคนิคการแพทย์

3.3 ความเชื่อและการดูแลสุขภาพในช่วงเปลี่ยนผ่านสถานการณ์ชีวิต

ความเชื่อและการดูแลสุขภาพในช่วงเปลี่ยนผ่านสถานการณ์ชีวิต ความเชื่อและการดูแลสุขภาพเกี่ยวกับการเกิด ความเชื่อและการดูแลสุขภาพเกี่ยวกับความชรา ความเชื่อและการดูแลสุขภาพเกี่ยวกับความตาย

3.3.1 ความเชื่อและการดูแลสุขภาพเกี่ยวกับการเกิด ความเชื่อและการดูแลสุขภาพเกี่ยวกับการเกิดแบบพื้นบ้าน ความเชื่อและการดูแลสุขภาพเกี่ยวกับการเกิดแบบแพทย์ตะวันตก

ความเชื่อและการดูแลสุขภาพเกี่ยวกับการเกิดแบบพื้นบ้าน o ระยะตั้งครรภ์  ความเชื่อเกี่ยวกับการตั้งครรภ์  การดูแลสุขภาพในระยะตั้งครรภ์ o ระยะคลอดบุตร  ความเชื่อเกี่ยวกับการคลอดบุตร  การดูแลสุขภาพในระยะคลอดบุตร o ระยะหลังคลอด  ความเชื่อเกี่ยวกับภาวะหลังคลอด  การดูแลสุขภาพในระยะหลังคลอด

ความเชื่อและการดูแลสุขภาพเกี่ยวกับการเกิดแบบแพทย์ตะวันตก o ความเชื่อเรื่องเกี่ยวกับการตั้งครรภ์ เป็นภาวะที่ตัวอ่อนหรือทารกได้ ก่อกำเนิดขึ้นภายในมดลูก o การดูแลสุขภาพแบบการแพทย์ตะวันตกมีหลักการดูแลคล้ายคลึง การแบบพื้นบ้าน

3.3.2 ความเชื่อและการดูแลสุขภาพเกี่ยวกับความชรา ความเชื่อเกี่ยวกับความชราและการดูแลสุขภาพแบบพื้นบ้าน ความเชื่อเกี่ยวกับความชราและการดูแลสุขภาพแบบการแพทย์แผน ตะวันตก

ความเชื่อเกี่ยวกับความชราและการดูแลสุขภาพแบบพื้นบ้าน o ความเชื่อเกี่ยวกับความชรา o การดูแลสุขภาพวัยชราแบบพื้นบ้าน

ความเชื่อเกี่ยวกับความชราและการดูแลสุขภาพแบบการแพทย์แผนตะวันตก o ความเชื่อเกี่ยวกับความชรา o การดูแลสุขภาพวัยชราแบบการแพทย์แผนตะวันตก

3.3.3 ความเชื่อและการดูแลสุขภาพเกี่ยวกับความตาย ความเชื่อและการดูแลสุขภาพเกี่ยวกับความตายแบบพื้นบ้าน ความเชื่อและการดูแลสุขภาพเกี่ยวกับความตายแบบแพทย์แผน ตะวันตก

ความเชื่อและการดูแลสุขภาพเกี่ยวกับความตายแบบพื้นบ้าน o ความเชื่อเกี่ยวกับความตายแบบพื้นบ้าน มีความเชื่อในเรื่อง วิญญาณ กฎแห่งกรรม การเวียนว่ายตายเกิดและชาติภพ o การดูแลสุขภาพเกี่ยวกับความตายแบบพื้นบ้าน จะมุ่งเน้นการ ตอบสนองทางด้านจิตวิญญาณของผู้ตายและเครือญาติ กล่าวคือ ให้ สร้างสมความดีและผลบุญเพื่อการตายอย่างสงบ เกิดความสุขความ เจริญในภพหน้า

ความเชื่อและการดูแลสุขภาพเกี่ยวกับความตายแบบแพทย์แผนตะวันตก o จะพิจารณาจากการหยุดทำงานของหัวใจและการทำงานของแกน สมอง o การดูแลสุขภาพที่เกี่ยวข้องกับการตายแบบแพทย์แผนตะวันตก มุ่งเน้นให้ระบบและอวัยวะต่าง ๆ สามารถทำงานต่อไปได้และยืดชีวิต ผู้ป่วยให้ยาวนานมากที่สุด ภายใต้เครื่องมือและอุปกรณ์ทางการแพทย์ ที่ทันสมัย