การเคลื่อนไหวร่างกายขั้นพื้นฐาน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Chapter 3 Data Representation (การแทนข้อมูล)
Advertisements

ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชา การสอนภาษาอังกฤษเพื่อ วิชาการและงานอาชีพ
ศูนย์เรียนรู้ชุมชนเศรษฐกิจ พอเพียงบ้านซ่อง อ.พนมสารคาม จ.ฉะเชิงเทรา
สาระที่ ๒ การเขียน.
การบริหารจัดการโครงการ และการเบิกจ่ายงบประมาณ
ศึกษาข้อมูลท้องถิ่นบ้านสนาม
ยินดีต้อนรับ คณะกรรมการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน “สำนักส่งเสริมวิชาการและงานทะเบียน” วันอังคารที่ 23 สิงหาคม พ.ศ
Application of Electron Paramagnetic Resonance (EPR)
Lubna Shamshad (Ph.D Student) Supervisor Dr.GulRooh
Q n° R n°.
อาคารสำนักงานเขต พื้นที่การศึกษา (สพป./สพม.)
Chapter 3 Design of Discrete-Time control systems Frequency Response
ยินดีต้อนรับ นสต. ภ.๙.
การส่งเสริมจริยธรรมและคุณธรรม เพื่อการป้องกันการทุจริต
พอช.องค์การมหาชนของชุมชนไทย
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
หน่วยที่ 2 การประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
หลักสูตรการศึกษานอกระบบ ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
Multiple Input Multiple Output (MIMO)
บทที่ 7 TAS 17 (ปรับปรุง 2558): สัญญาเช่า (Leases)
หลักการสร้างมาตรวัดทางจิตวิทยา
โครงการส่งเสริมการพัฒนาคุณภาพงาน คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
แผนการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
แนวการตรวจสอบภายใน การตรวจสอบรถราชการ
ทะเบียนราษฎร.
นายธนวิทย์ โพธิ์พฤกษ์ เลขที่ 8 นายอนุสรณ์ ขำหลง เลขที่ 29
เรื่อง การบริหารการศึกษาตาม พ.ร.บ ระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ
เอกสารประกอบการบรรยายครั้ง ๒ วิชาซื้อขาย - เช่าทรัพย์ - เช่าซื้อ
ระเบียบกระทรวงมหาดไทย
บทที่ 12 การวิเคราะห์สหสัมพันธ์และการถดถอย
DATA STRUCTURES AND ALGORITHMS
ขั้นตอนการจัดตั้งกลุ่มส่งเสริมอาชีพ จังหวัดนครราชสีมา ปี ๒๕๕๘/๕๙
หลักการจัดกิจกรรมนันทนาการ
การประชุมผู้บริหารระดับสูงกระทรวงวัฒนธรรม ครั้งที่ ๔/๒๕๖๐
การเบิกจ่ายเงินเกี่ยวกับค่าใช้จ่าย ในการบริหารงานของส่วนราชการ
การแก้ไขปัญหา สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยนคลองจั่น จำกัด
ขั้นตอนของกิจกรรม : ปฏิบัติเป็นประจำ เพื่อให้เกิดการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง
ตอนที่ 2.๒ บทบาทหน้าที่ของเจ้าหน้าที่ส่งเสริมการเกษตรระดับอำเภอ
บทที่ 4 การกระจาย อำนาจด้านการคลัง
งานเงินสมทบและการตรวจสอบ
ยินดีต้อนรับเข้าสู่บทเรียนคอมพิวเตอร์ วัยรุ่นไทยใส่ใจวัฒนธรรม เรื่อง
การพัฒนาระบบบริหารจัดการกำลังคนด้านสุขภาพ “การพัฒนาบุคลากร”
ค่าใช้จ่ายต่างๆ ในโครงการฯ
วันเสาร์ที่ 2 กรกฎาคม 2559 วิทยาลัยเทคโนโลยีอักษรพัทยา
วิชาสังคมศึกษา ม.3 สาระที่ 1 ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม.
มหาวิยาลัยราชภัฏนครราชสีมา
โครงการสนับสนุนสินเชื่อเกษตรกรชาวสวนยาง รายย่อยเพื่อประกอบอาชีพเสริม
ความหมายของหนี้สาธารณะ
การจัดการชั้นเรียน.
การบริหารการเงิน ในสถานศึกษา
องค์ประกอบและผลกระทบของธุรกิจไมซ์
โคลง ร่าย และ โดยครูธาริตา นพสุวรรณ
Matrix 1.Thamonaporn intasuwan no.7 2.Wannisa chawlaw no.13 3.Sunita taoklang no.17 4.Aungkhana mueagjinda no.20.
สมาชิกโต๊ะ 1 นายสุรวินทร์ รีเรียง นายภาณุวิชญ์ อนุศรี
นำเสนอ วัดเกาะชัน ด.ช.ปกรณ์ ร้อยจันทร์ ม.2/7 เลขที่ 19
รศ.ดร.อนันต์ จันทรโอภากร
การเขียนวิจารณ์วรรณกรรม ๒
การยืมเงิน จากแหล่งเงินงบประมาณรายได้
วิชา หลักการตลาด บทที่ 7 การออกแบบกลยุทธ์ราคา
ผังมโนทัศน์สาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑
สาระสำคัญพ.ร.บ.การทวงถามหนี้ พ.ศ.๒๕๕๘ สาระสำคัญพ.ร.บ.การทวงถามหนี้ พ.ศ.๒๕๕๘.
การบัญชีตามความรับผิดชอบและ การประเมินผลการปฏิบัติงาน
ตำบลหนองพลับ ประวัติความเป็นมา
แบบทดสอบ เรื่อง ความน่าจะเป็น.
การปฏิรูประบบศาลยุติธรรม หลังรัฐประหาร 2557
ธาตุ สารประกอบ และปฏิกิริยาเคมี
ข้อกำหนด/มาตรฐาน ด้านสุขาภิบาลอาหาร
การบริหารหลักสูตร ความหมาย : การดำเนินงานที่เกี่ยวข้องกับการทำหลักสูตร และเอกสารประกอบหลักสูตร ไปสู่การปฏิบัติในสถานการณ์จริงหรือกิจกรรมการเรียนการสอนให้เป็นไปตามเป้าหมายที่กำหนดไว้ในหลักสูตรโดยอาศัยการสนับสนุนและร่วมมือจากบุคคลที่เกี่ยวข้องกับการใช้หลักส
PHYSICS by P’Tum LINE
การพิจารณาสัญชาติของบุคคล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การเคลื่อนไหวร่างกายขั้นพื้นฐาน บทเรียนประกอบวิชาสุขศึกษา เรื่อง การเคลื่อนไหวร่างกายขั้นพื้นฐาน กลุ่มสาระสุขศึกษาและพละศึกษา โรงเรียนเซนต์ฟรังซีสเซเวียร์ นนทบุรี ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โดย...อาจารย์อนันต์ นุชเทศ

หลักการเคลื่อนไหวร่างกาย หลักการเคลื่อนไหวที่มีความสำคัญในการทำกิจกรรมในชีวิตประจำวัน ได้แก่ การรับแรง การใช้แรง และความสมดุล ความสมดุล คือการถ่ายเทน้ำหนักตัวไปสู่อวัยวะที่เป็นจุดรองรับน้ำหนักหรือฐาน เพื่อให้ ร่างกายมีจุดศูนย์ถ่วง สามารถเคลื่อน ไหวโดยไม่เสียการทรงตัว ไม่ล้มและอยู่ ในลักษณะที่ต้องการ เช่น การถีบจักร- ยาน การเล่นสเก็ต การเดินลงจากภูเขา หรือที่สูงโดยไม่ล้ม การเดินบนสะพานไม้เล็กๆ การรับแรง คือการจัดวางตำแหน่งของอวัยวะ ให้อยู่ในลักษณะที่เหมาะสมกับกิจกรรม ที่ปฏิบัติ เพื่อลดแรงปะทะของร่างกาย กับอากาศ และแรงโน้มถ่วงขณะเคลื่อน ไหว เช่น การเอนตัวไปข้างหน้าขณะวิ่ง การรับสิ่งของจากการขว้าง โยน ปา กระ โดดลงสู่พื้นด้วยสองเท้า การใช้เท้ารับ น้ำหนักตัวขณะเดิน การใช้แรง คือการที่ร่างกายออกแรงกระทำต่อ วัตถุ เพื่อให้วัตถุเคลื่อนที่ เช่น การดัน การผลัก การดึง การขว้าง การเหวี่ยง การโยน การตี การโหม่ง

ประเภทของการเคลื่อนไหวร่างกาย 1. การเคลื่อนไหวร่างกายในชีวิตประจำวัน ได้แก่ การเคลื่อนไหวตามปกติ ตลอดรวม ถึงท่าทางการจับ หรือยกของ เช่น นอน นั่ง ยืน เดิน วิ่ง กระโดด ดึง ยก ลาก จูง ผลัก ดัน ขว้าง เหวี่ยง ปา โยน กระแทก 2. การเคลื่อนไหวตามหลักการทางวิทยาศาสตร์ การเคลื่อนไหวของเราเกิดจากการทำงานของอวัยวะต่างๆ ในร่างกายอย่างมีระบบ ได้แก่ ระบบประสาท ระบบโครงร่าง และระบบกล้ามเนื้อ ทั้ง 3 ระบบนี้จะทำงานอย่างประสานกัน

การเคลื่อนไหวในชีวิตประจำวัน 1. ลักษณะท่าทางที่เป็นแกนหลักในการเคลื่อนไหว 2. ท่าทางการเคลื่อนไหวที่ต้องมีการบังคับสิ่งของ 3. ท่าทางการเคลื่อนไหวที่ต้องมีการเคลื่อนที่ของร่างกายจากจุดหนึ่งไป ยังอีกจุดหนึ่ง 1. ลักษณะท่าทางที่เป็นแกนหลักในการเคลื่อนไหว เป็นท่าทางที่ร่างกายมีการปรับเปลี่ยนอวัยวะส่วนต่างๆ ตามธรรมชาติ ได้แก่ ท่านอน ท่านั่ง และท่ายืน

2. ท่าทางการเคลื่อนไหวที่ต้องมีการบังคับสิ่งของ เป็นท่าทางที่ร่างกายจะต้องออกแรงทำให้สิ่งของและวัตถุต่างๆ อยู่กับที่ หรือเคลื่อนไหวไปในทิศทางต่างๆ ตามที่ ต้องการ การยกสิ่งของ การยกสิ่งของเล็กๆ จะใช้การออกแรง ที่ข้อมือ แขน และไหล่ เช่น ขว้าง โยน ปา ถ้าของใหญ่ขึ้นอาจต้องใช้ลำตัวและขา เช่น เหวี่ยง กระแทก กดกระทุ้ง ถีบ ส่วนของหนักควรมีการย่อตัว ให้น้ำหนัก ลงที่ขาทั้งสองข้าง ไม่ควรก้มตัวลงไปยกของ

3. ท่าทางการเคลื่อนไหวที่ต้องมีการเคลื่อนที่ของร่างกายจากจุดหนึ่งไป ยังอีกจุดหนึ่ง การเดิน การวิ่ง การคืบ การกลิ้ง การคลาน การกระโดด

การเคลื่อนไหวตามหลักการทางวิทยาศาสตร์ เป็นการเคลื่อนไหวร่างกาย ซึ่งเกิดจาก การทำงานของอวัยวะต่างๆ ในร่างกาย อย่างมีระบบ ได้แก่ ระบบประสาท ระบบ โครงร่าง และระบบกล้ามเนื้อ ระบบประสาท เป็นส่วนที่ควบคุมสั่งงาน ให้กล้ามเนื้อ กระดูก เกิดการเคลื่อนไหวตาม ต้องการ โดย....สมอง ทำหน้าที่ควบคุม รับส่ง ความคิด และสั่งให้มีการเคลื่อนไหว เส้นประ สาท เป็นตัวกลางระหว่างสมองกับอวัยวะต่างๆ ของร่างกาย

ระบบโครงร่าง ทำหน้าที่ให้ร่างกายคงสภาพรูปร่าง รองรับน้ำหนักตัว และทำให้เกิดการเคลื่อนไหว ซึ่ง ระบบโครงร่างประกอบด้วยกระดูก 206 ชิ้น ได้แก่ กระดูกโครงร่าง ได้แก่ กระโหลกศีรษะ กระดูกสันหลัง กระดูกซี่โครง กระดูกแขน กระดูกขา กระดูกนิ้วมือ กระดูกนิ้วเท้า กระดูกข้อต่อ เป็นส่วนที่เชื่อมของกระดูก และก่อให้ เกิดการพับ งอ กาง หมุน เหวี่ยง ในขณะเคลื่อนไหว เส้นเอ็น เป็นส่วนที่ยึดกระดูกโครงร่าง กระดูกข้อต่อ กล้ามเนื้อ และช่วยบังคับกระดูกให้เคลื่อนไหวได้

ระบบกล้ามเนื้อ ทำหน้าที่ห่อหุ้มกระดูก และบังคับควบคุมให้ระบกระดูกเคลื่อนไหวตามการสั่งการของสมอง ร่างกายเรามีกล้ามเนื้อ 600 มัด ได้แก่ กล้ามเนื้อเรียบ กล้ามเนื้อลายและกล้ามเนื้อหัวใจ กล้ามเนื้อเรียบ อยู่ตามผนังของ อวัยวะภายใน เช่นกระเพาะอาหาร ลำไส้ หลอดเลือด เปลือกตา กล้ามเนื้อลาย เป็นส่วนที่ยึดกระ ดูกและก่อให้เคลื่อนไหว โดยการ หดและคลายตัว กล้ามเนื้อหัวใจ เป็นระบบอัตโนมัติ เมื่อดีใจ กลัวโกรธ ตื่นเต้น กล้าม เนื้อหัวใจจะยืดหดตัวเร็วกว่าปกติ

กระบวนการเกิดการเคลื่อนไหว กระดูกข้อต่อ กระดูกโครงร่าง สมอง กระบวนการเกิดการเคลื่อนไหว ของร่างกาย เส้นประสาท กล้ามเนื้อเรียบ-ลาย เกิดการเคลื่อนไหว เส้นเอ็นยึดกระดูก กระดูกข้อต่อ กระดูกโครงร่าง