แผนภูมิและไดอะแกรมการเคลื่อนที่

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Machine and Labor Requirement
Advertisements

(Some Extension of Limit Concept)
ลิมิตซ้ายและลิมิตขวา
Production Chart.
Machine and Labor Requirement
การวิเคราะห์กิจกรรม น.อ.ศิรัส ลิ้มเจริญ ผช.ผอ.กบท.สปช.ทร.
การวิเคราะห์การปฏิบัติงาน
Process Analysis 2 การวิเคราะห์กระบวนการ
Process Analysis การวิเคราะห์กระบวนการ
Chapter 10 Process chart-product analysis
Programming & Algorithm
โครงการเทคนิคและเทคโนโลยีสนับสนุนงานตรวจสอบ “Risk & Control” จัดโดย สำนักงานตรวจสอบภายใน จุฬาฯ วันที่ 22 กรกฎาคม 2553.
แนวทางการบริหารจัดการเวลาเรียน “ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้” สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ.
Inelastic X-ray Scattering (IXS)
รายงานความก้าวหน้าครั้งที่ .... (รอบ ... เดือน)
ว่าที่ ร.ต.หญิงวรรณธิดา วรสุทธิพงษ์ ครูแผนกวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ
ผ้าห่มไม่หายแค่ใส่ตัวเลข ปัญหาและการปรับปรุงแก้ไข
สถานวิทยาศาสตร์พรีคลินิก
วิเคราะห์ค่างาน เพื่อกำหนดตำแหน่งสูงขึ้น
หลักการและวิธีการแก้ปัญหาด้วยกระบวนการทางเทคโนโลยีสารสนเทศ
ระบบการผลิต อาจารย์ วรันลักษณ์ ภักดิ์ใจดี.
ทรัพยากรการท่องเที่ยว (TIM 1301)
การวิเคราะห์ซอฟต์แวร์
การวิเคราะห์ระบบงาน ขั้นตอนวิเคราะห์ จะเริ่มต้นด้วยการวิเคราะห์ระบบงาน
ระบบเบิกจ่ายพัสดุครุภัณฑ์
การประเมินพฤติกรรมการบริโภคอาหารและการให้คำแนะนำ
บทนำ แผนภาพกระแสข้อมูล (Data Flow Diagram) เป็นการออกแบบที่แสดงตรรกะของกระบวนการทำงาน โดยมีการวาดแผนผังออกมา คล้ายกับการสร้างบ้าน ที่ต้องมีแปลน ภายนอก.
เครื่องวัดพลังงานไฟฟ้า
โดย นายศุมล ศรีสุขวัฒนา หัวหน้ากลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
(Smart Strategy Praboromarajchanok Institute: SSPI)
คู่มือการปฏิบัติงาน (Work Manual)
ทิศทางการขับเคลื่อนหลักสูตรส่งเสริมและพัฒนาเด็กอายุต่ำกว่า 3 ปี
การเข้าสู่ตำแหน่งที่สูงขึ้น (ชำนาญการ)
บทที่ 13 วงจรบัญชีแยกประเภททั่วไป
คำขอขึ้นทะเบียนใหม่ 1. ชื่อบริษัท : xxxx xxxxxxxx xxxx (จำนวน x คำขอ) 1.1 ชื่อผลิตภัณฑ์ : (ภาษาไทย) (English) ประเภท : (อาหารเสริมสำหรับสัตว์/วัตถุที่ผสมแล้ว)
EASY CLEAR รวดเร็ว ฉับไว ใส่ใจ เรื่องเงิน
ระบบควบคุมภายในด้านการเงินการคลัง
เกณฑ์คะแนน รพ.สต.ติดดาว ปี2561
CPE 491 Proposal (สอบเสนอหัวข้อเพื่อทำ Project)
วิเคราะห์ค่างาน เพื่อกำหนดตำแหน่ง
อำเภอสารภี จังหวัดเชียงใหม่
แนวทางการดำเนินงานเสริมสร้างและพัฒนาศักยภาพองค์กรเกษตรกร ปี 2559
กลุ่มที่ มาตรฐานที่ เรื่อง ตัวบ่งชี้/ประเด็นพิจารณาที่ ถึง
สิทธิรับรู้ของประชาชน
คลินิกไร้พุงคุณภาพ (DPAC Quality)
อัลกอริทึม (Algorithm ) ขั้นตอนวิธี
กลุ่มงานส่งเสริมสุขภาพ สำนักสาธารณสุข
ตัวชี้วัด : ร้อยละของการดำเนินงานให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงได้รับการดูแลสุขภาพ และการป้องกันโรคและภัยสุขภาพจากมลพิษสิ่งแวดล้อม.
5 แบบจำลองกระบวนการ Process Modeling
ภาพรวมของ CLT/PCT (CLT/PCT Profile)
การวัดวิเคราะห์และการจัดการความรู้
Calculus I (กลางภาค)
แผนการดำเนิน งานตรวจสอบภายใน ควบคุมภายใน สสจ.สระแก้ว ปี 2560.
การพัฒนาระบบสารสนเทศ (Information System Development)
วิชา การจัดการทรัพยากรมนุษย์ Human Resource Management
บทที่ 5 องค์กร การบริหารในองค์กรและการพัฒนางานอาชีพในองค์กร
การพัฒนาข้อมูลสาเหตุการตาย
การควบคุม (Controlling)
บทที่ 7 การเขียนผังงานระบบ.
โดย ศาสตราจารย์ระพีพรรณ คำหอม
การควบคุมการผลิตสินค้าและบริการ
ภาพรวมของ CLT/PCT (CLT/PCT Profile)
PERT Diagram.
บทที่ 5 การวางแผนผังกระบวนการผลิต
รายงานผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับหลักสูตร ปีการศึกษา 2558
การประชุม พบส.ทันตสาธารณสุข
แผนงานบูรณาการพัฒนาระบบการให้บริการประชาชนของหน่วยงานภาครัฐ
แผนงานบูรณาการพัฒนาระบบการให้บริการประชาชนของหน่วยงานภาครัฐ
ระบบสารสนเทศทางธุรกิจ
ภาพรวมของ CLT/PCT สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน) พฤษภาคม 2561.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

แผนภูมิและไดอะแกรมการเคลื่อนที่ บทที่ 5 แผนภูมิและไดอะแกรมการเคลื่อนที่ จดบันทึกทุกขั้นตอนของการผลิตที่ซับซ้อน ไม่เหมาะสม พัฒนาเครื่องมือ/ เทคนิคการบันทึก การเขียนเป็นข้อความ แผนภูมิและไดอะแกรม Rujipas potongsangarun

จดบันทึกทุกขั้นตอนของการผลิตที่ซับซ้อน ไม่เหมาะสม พัฒนาเครื่องมือ/ เทคนิคการบันทึก การเขียนเป็นข้อความ แผนภูมิและไดอะแกรม

แผนภูมิกระบวนการผลิต 2 กลุ่ม กลุ่มที่ใช้สำหรับบันทึกลำดับของขบวนการผลิต เช่น เหตุการณ์ต่างๆที่เกิดขึ้นเรียงตามลำดับก่อนหลัง ซึ่งไม่มีเวลาเข้ามาเกี่ยวข้องในแต่ละกิจกรรม แผนภูมิกระบวนการผลิต Rujipas potongsangarun

แผนภูมิ แผนภูมิกิจกรรม กลุ่มที่ใช้บันทึกเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นและลำดับก่อนหลังเหมือนกันแต่มีเวลาเข้ามาเกี่ยวข้อง แผนภูมิประเภทนี้เป็นแผนภูมิที่เกี่ยวข้องกับขั้นตอนการผลิต แผนภูมิกิจกรรม

แผนภูมิและไดอะแกรมที่ใช้ในการศึกษาวิธีการ แผนภูมิที่เกี่ยวข้องกับลำดับของกระบวนการผลิต - แผนภูมิกระบวนการผลิตอย่างสังเขป (Outline Process chart) - แผนภูมิกระบวนการผลิต(Flow Process chart) ต่อเนื่องประเภทคน ประเภทวัสดุ ประเภทเครื่องจักร - แผนภูมิกระบวนการผลิตของกลุ่ม (Group Process chart) - แผนภูมิการทำงานของมือซ้ายและมือขวา (left and right Hand chart) Rujipas potongsangarun

แผนภูมิที่เกี่ยวข้องกับขั้นตอนการผลิต-มีเวลาเข้ามาเกี่ยวข้อง - แผนภูมิกิจกรรม (Activity chart) - แผนภูมิกิจกรรมทวีคูณ(Multiple Activity chart) - แผนภูมิคน-เครื่องจักร (Man-Machine chart) - แผนภูมิการทำงานของสองมือโดยละเอียด (Simo chart) Rujipas potongsangarun

ไดอะแกรม แผนภูมิ แผนภูมิและไดอะแกรมที่บ่งบอกถึงการเคลื่อนไหว - แผนภูมิการเดินทาง (Travel chart) - ไดอะแกรมการเคลื่อนที่(Flow Diagram) - ไดอะแกรมสายใย(String Diagram) ไดอะแกรม แผนภูมิ สามารถบ่งบอกความเคลื่อนไหวได้ชัดเจนกว่าแผนภูมิ Rujipas potongsangarun

สัญลักษณ์ 5 สัญลักษณ์ บ่งบอกเหตุการณ์ต่างๆที่เกิดขึ้น ตามลำดับในการปฏิบัติงาน คือสัญลักษณ์แทนการปฏิบัติงาน บ่งบอกถึงขั้นตอนที่สำคัญในขบวนการผลิต ในวิธีการ หรือในแนวทางการปฏิบัติงาน สัญลักษณ์นี้ใช้ได้ทั้งงานในโรงงานและงานในสำนักงาน Rujipas potongsangarun

คือ สัญลักษณ์แทนการตรวจสอบงาน บ่งบอกถึงการตรวจสอบคุณภาพของงานหรือตรวจสอบปริมาณของงาน 3. คือ สัญลักษณ์แทนการขนถ่าย บ่งบอกการเคลื่อนไหวของคนงาน วัสดุ หรือเครื่องจักรจากที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่ง 4. D คือ สัญลักษณ์แทนที่เก็บพักชั่วคราวหรือการรอ บ่งบอกถึงการรอที่เกิดขึ้นในลำดับขั้นของเหตุการณ์ เช่น งานที่รอคอยอยู่ระหว่างการปฏิบัติงานของหน่วยต่อเนื่องกัน (กล่องรอการบรรจุ ชิ้นส่วนที่รอเพื่อจะนำไปเก็บในกล่อง) Rujipas potongsangarun

สัญลักษณ์แทนที่เก็บพักถาวร บ่งถึงที่เก็บพักที่ควบคุมได้อย่างเป็นทางการ สัญลักษณ์แทนการรวมงานเข้าด้วยกัน บ่งถึงการทำงานต่างๆในเวลาเดียวกันหรือโดยคนงานคนเดียวกัน ณ.สถานที่ทำงานแห่งเดียวกัน(การรวมงานระหว่างการปฏิบัติงานและการตรวจสอบ) Rujipas potongsangarun

แผนภูมิที่เกี่ยวข้องกับลำดับของกระบวนการผลิต ใช้บันทึกขั้นตอนกระบวนการผลิตอย่างต่อเนื่องในแบบฟอร์มมาตรฐานสำหรับส่วนงานที่ต้องการปรับปรุงขั้นตอนวิธีการทำงานโดยกำหนดจุดเริ่มต้นและจุดสิ้นสุดของงานให้ชัดเจน งานที่ต้องการ ปรับปรุง แผนภูมิ กำหนดแนวทางและขั้นตอนวิธีการทำงานที่ดีขึ้น แผนภูมิ พิจารณา ตรวจตรา วิเคราะห์ จดบันทึก Rujipas potongsangarun

2.เวลาที่ใช้ทั้งหมดลดลง 3.ระยะทางการเดินทั้งหมดที่ลดน้อยลง การเปรียบเทียบ ผลงานที่ดีขึ้น 1.จำนวนสัญลักษณ์ลดลง 2.เวลาที่ใช้ทั้งหมดลดลง 3.ระยะทางการเดินทั้งหมดที่ลดน้อยลง Rujipas potongsangarun

(Outline Process chart) -แผนภูมิกระบวนการผลิตโดยสังเขป (Outline Process chart) เป็นแผนภูมิที่ใช้แสดงขั้นตอนกระบวนการผลิตอย่างกว้างๆโดยการจดบันทึกเฉพาะการปฏิบัติงานที่สำคัญๆและการตรวจสอบที่เกิดขึ้นตามลำดับขั้นตอนเท่านั้น จึงถูกบันทึกด้วยสัญลักษณ์เพียง 2 สัญลักษณ์เท่านั้น ( และ ) Rujipas potongsangarun

-แผนภูมิกระบวนการผลิต(Flow Process Chart) เป็นแผนภูมิกระบวนการผลิตที่กำหนดการเคลื่อนย้ายตามลำดับก่อนหลังของกระบวนการผลิตโดยการบันทึกเหตุการณ์ทั้งหมดที่เกิดขึ้นด้วยการใช้สัญลักษณ์ที่เหมาะสม แบ่งเป็น 3 ประเภท 1.แผนภูมิกระบวนการผลิตประเภทคน :บันทึกว่าคนงานได้ทำงานอะไรบ้าง 2.แผนภูมิกระบวนการผลิตประเภทวัสดุ:บันทึกว่าวัสดุได้ถูกขนย้ายหรือถูกทำงานอย่างไร 3.แผนภูมิกระบวนการผลิตประเภทเครื่องจักร:บันทึกว่าเครื่องจักรได้ถูกทำงานอย่างไร Rujipas potongsangarun

- แผนภูมิกระบวนการผลิตของกลุ่ม (Group Process chart) เป็นแผนภูมิกระบวนการผลิตที่ใช้บันทึกการทำงานของกลุ่มคนงานมากกว่า 1 คน ในการบันทึกใช้สัญลักษณ์ในมาตรฐานเดียวกัน เป็นเครื่องมือที่ช่วยให้สามารถวิเคราะห์ความสัมพันธ์ของการทำงานของคนงานแต่ละคนในทีมงานเดียวกัน ลดเวลารอคอยหรือล่าช้าของคนใดคนหนึ่งในทีมงาน และทำให้ผลงานโดยรวมดีขึ้น Rujipas potongsangarun

เทคนิคการบันทึก 1.การบันทึกต้องครอบคลุมรอบการทำงานของสมาชิกในทีมงานซึ่งมีจำนวนขั้นตอนของงานมากที่สุด 2.งานของสมาชิกแต่ละคนจะถูกบันทึกรายตัวในเวลาเดียวกันจะบันทึกเรียงหน้ากระดาษในระดับเดียวกัน 3.การให้คำบรรยายกิจกรรมของแต่ละขั้นตอนจะใช้วิธีการให้เป็นหมายเลขกำกับในสัญลักษณ์และให้คำบรรยายกิจกรรมตามหมายเลขไว้ข้างขวาของแผนภูมิ Rujipas potongsangarun

เทคนิคการบันทึก 4.ไม่จำเป็นต้องบันทึกกิจกรรมซึ่งไม่ได้เกิดขึ้นทุกๆรอบของงานที่บันทึกเช่น การหยุดพักผ่อนของคนงานในทีมงานชั่วขณะ 5.ในการบันทึกต้องกำหนดจุดเริ่มต้นและสิ้นสุดของงานได้ชัดเจน 6.การสรุปเปรียบเทียบการวัดผลการปรับปรุงวิธีการทำงาน(จำนวนหน่วยที่ได้ จำนวนกิจกรรม หรือจำนวนกิจการ/หน่วย) Rujipas potongsangarun

เทคนิคการบันทึกใช้แผนภูมิกระบวนการผลิตกลุ่ม - แผนภูมิการทำงานของมือซ้ายและมือขวา(แผนภูมิการดำเนินงาน) (left and right Hand chart) แผนภูมิการทำงานของมือซ้ายและมือขวาหรือแผนภูมิการทำงานสองมือเปรียบเสมือนการทำงานของคน 2 คน บันทึกการทำงานที่เกิดขึ้นในขณะเดียวกัน เทคนิคการบันทึกใช้แผนภูมิกระบวนการผลิตกลุ่ม พิจารณาการทำงานของมือขวา พิจารณาการทำงานของมือซ้าย บันทึก บันทึก จัดความสัมพันธ์ Rujipas potongsangarun

แผนภูมิบันทึกการเคลื่อนไหว วิเคราะห์รายละเอียดของการเคลื่อนที่ ปรับปรุงวิธีการเคลื่อนที่ให้มีประสิทธิภาพสูงขึ้น มีการทำงานที่ง่ายขึ้น ผลงานดีขึ้น ลด ตัดทอนการเคลื่อนที่ที่ไม่จำเป็น จัดการลำดับขั้นตอนการเคลื่อนที่ที่ดีที่สุด Rujipas potongsangarun

แผนภูมิที่เกี่ยวข้องกับขั้นตอนการผลิต-มีเวลาเข้ามาเกี่ยวข้อง - แผนภูมิกิจกรรม (Activity chart) เป็นแผนภูมิกระบวนการผลิตซึ่งมีเวลาประกอบการบันทึกวิธีการทำงาน ซึ่งช่วยให้สามารถวิเคราะห์ส่วนของงานต่างๆได้ง่ายขึ้น ได้แก่ ส่วนเวลาที่ใช้ในการรอคอยหรือหยุด(D และ )เป็นการแสดงความชัดเจนถึงส่วนของเวลาไร้ประสิทธิภาพของการทำงาน เวลาที่ใช้สำหรับการเคลื่อนย้ายและการตรวจสอบ( )เป็นการแสดงสัดส่วนของเวลาส่วนเกิน กระบวนวิธีการทำงานที่บันทึกเวลา ง่ายแก่การปรับปรุง Rujipas potongsangarun

- แผนภูมิกิจกรรมทวีคูณ(Multiple Activity chart) แผนภูมิกระบวนการผลิตของกลุ่มซึ่งมีสเกลเวลาแสดงเปรียบเทียบเวลาทำงานของคนแต่ละคนหรือกิจกรรมร่วมระหว่างคนกับเครื่องจักรหรือวัสดุมากกว่าสองกระบวนการโดยบันทึกรวมกันอยู่ในแผนภูมิเดียวกัน Rujipas potongsangarun

- แผนภูมิคน-เครื่องจักร (Man-Machine chart) เป็นแผนภูมิกิจกรรมทวีคูณชนิดพิเศษซึ่งใช้บันทึกเฉพาะการทำงานของคนและเครื่องจักรเท่านั้นเพื่อแสดงความสัมพันธ์ของการทำงานของคนและเครื่องจักร โดยมีหลักว่า เครื่องจักรต้องไม่รอคน คนต้องไม่รอเครื่องจักร Rujipas potongsangarun

- แผนภูมิการทำงานของสองมือโดยละเอียด (Simo chart) แผนภูมิการทำงานของมือซ้ายและมือขวาโดยมีสเกลเวลาในการกำกับ ซึ่งต้องใช้การศึกษากระบวนการเคลื่อนที่เชิงอนุภาควิเคราะห์โดยการวิเคราะห์ฟิล์มเนื่องจากสองมือเคลื่อนที่เร็วมาก Rujipas potongsangarun

แผนภูมิและไดอะแกรมที่บ่งบอกถึงการเคลื่อนไหว แผนภูมิการเดินทางและไดอะแกรมสายใยเป็นเครื่องมือที่บันทึกการเดินทางเพื่อใช้ในการวิเคราะห์ปัญหาการขนย้ายและการเคลื่อนที่ซึ่งมีผลต่อประสิทธิภาพในการทำงาน - แผนภูมิการเดินทาง (Travel chart) เป็นการบันทึกข้อมูลการเคลื่อนที่ของคน วัสดุ หรือ เครื่องมือในที่ทำงานใดใดระหว่างช่วงเวลาที่กำหนด เช่น ใน 1 วันมีการเคลื่อนที่จากจุดหนึ่งไปยังจุดหนึ่งจำนวนกี่ครั้ง Rujipas potongsangarun

- ไดอะแกรมการเคลื่อนที่(Flow Diagram) เป็นเทคนิคการบันทึกที่ง่ายและมีประโยชน์ในการวิเคราะห์การเดินทางในส่วนของข้อมูลระยะทางการเดินทาง การสร้างไดอะแกรมสายใยต้องอาศัยแผนผังสถานที่ทำงานในสัดส่วนระยะทางที่เป็นจริงโดยการย่อส่วนเพื่อง่ายต่อการบันทึกการเดินทาง โดยใช้สายใยแทนระยะทางการเดินทางของคนงาน วัสดุหรือเครื่องมือ Rujipas potongsangarun

- ไดอะแกรมสายใย(String Diagram) ทำหน้าที่แสดงแผนผังของสถานที่ทำงาน ใช้ประกอบกับการบันทึกแผนภูมิกระบวนการผลิตต่างๆ ทำให้เห็นภาพรวมของสถานที่ทำงาน เกิดความชัดเจนในการพิจารณาวิเคราะห์ข้อมูลกระบวนการวิธีการทำงานที่บันทึกในแผนภูมิกระบวนการผลิต Rujipas potongsangarun

แผนภูมิตัวอย่าง การปรับปรุงกระบวนการวิธีการจ่ายยาในโรงพยาบาล การปรับปรุงกระบวนการผลิตเครื่องปรุงรสหมูสับ การปรับปรุงกระบวนการตัดหลอดแก้ว การปรับปรุงกระบวนการเย็บคอเสื้อ Rujipas potongsangarun

แผนภูมิตัวอย่าง การปรับปรุงกระบวนการปักด้าย การปรับปรุงการขนย้ายเก็บสต็อกถ้วยชามกระเบื้อง Rujipas potongsangarun

จบ......