การหาสมบัติทางกายภาพของวัสดุผสมระหว่างดินแดงดอยสะเก็ดกับควอตซ์ Investigation of physical properties of Doisaket red clay and Quartz นางสาวปัญจรัตน์ ลำใจ รหัสนักศึกษา 55141210 หมู่เรียน ฟส.ด.54.ค5.1 อาจารย์ที่ปรึกษา ผู้ช่วยศาสตราจารย์อนิรุทธิ์ รักสุจริต มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ Synthesis and analysis in physical characteristics of BNKT- BZZ solid solution
ที่มาและความสำคัญ วัสดุผสม ดินท้องถิ่น อุตสาหกรรมเซรามิก 1 ที่มาและความสำคัญ ดินท้องถิ่น อุตสาหกรรมเซรามิก www.mmthailand.com สร้างมูลค่าเพิ่มให้กับผลิตภัณฑ์ชุมชน วัสดุผสม www.mmthailand.com www.know2learning.blogspot.com มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ Synthesis and analysis in physical characteristics of BNKT- BZZ solid solution
ความหนาแน่นปรากฏ (Apparent density) 2 ทฤษฏีที่เกี่ยวข้อง ความหนาแน่นปรากฏ (Apparent density) 𝜌= 𝑊𝐷𝑟𝑦 𝑊𝐷𝑟𝑦− 𝑊 𝑠𝑢𝑏 x 𝜌 H20 ความหนาแน่นรวม (Bulk density) 𝜌= 𝑊𝐷𝑟𝑦 𝑊𝑠𝑎𝑡− 𝑊 𝑠𝑢𝑏 x 𝜌 H20 ความพรุน (Apparent porosity) 𝜌=1− 𝑏𝑢𝑙𝑘 𝑑𝑒𝑛𝑠𝑖𝑡𝑦 𝑎𝑝𝑝𝑎𝑟𝑒𝑛𝑡 𝑑𝑒𝑛𝑠𝑖𝑡𝑦 x 100 มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ Synthesis and analysis in physical characteristics of BNKT- BZZ solid solution
เมื่อ 𝑊 𝑑𝑟𝑦 = มวลของชิ้นงานตัวอย่างที่ชั่งขณะแห้งในอากาศ 3 𝜌= 𝑊𝐷𝑟𝑦 𝑊𝐷𝑟𝑦− 𝑊 𝑠𝑢𝑏 x 𝜌 H20 𝜌= 𝑊𝐷𝑟𝑦 𝑊𝑠𝑎𝑡− 𝑊 𝑠𝑢𝑏 x 𝜌 H20 𝜌=1− 𝑏𝑢𝑙𝑘 𝑑𝑒𝑛𝑠𝑖𝑡𝑦 𝑎𝑝𝑝𝑎𝑟𝑒𝑛𝑡 𝑑𝑒𝑛𝑠𝑖𝑡𝑦 x 100 𝑊 𝑑𝑟𝑦 = มวลของชิ้นงานตัวอย่างที่ชั่งขณะแห้งในอากาศ 𝑊 𝑠𝑎𝑡 = มวลของชิ้นงานตัวอย่างที่ชั่งขณะที่อิ่มตัวในอากาศ 𝑊 𝑠𝑢𝑏 = มวลของชิ้นงานตัวอย่างที่ชั่งขณะที่อิ่มตัวในน้ำ 𝜌 𝐻 2 𝑂 = ความหนาแน่นของน้ำที่อุณหภูมิ 25 °C เท่ากับ 0.997879 g/cm3 เมื่อ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ Synthesis and analysis in physical characteristics of BNKT- BZZ solid solution
4 จุดประสงค์ 1. เพื่อหาสมบัติทางกายภาพของวัสดุผสมระหว่างดินแดงดอยสะเก็ดกับควอตซ์ 2. เพื่อลดอุณหภูมิการเผาวัสดุผสมระหว่างดินแดงดอยสะเก็ดกับควอตซ์ 3. เพื่อหาเงื่อนไขที่ดีที่สุดในการเผาซินเตอร์วัสดุผสมระหว่างดินแดงดอยสะเก็ดกับควอตซ์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ Synthesis and analysis in physical characteristics of BNKT- BZZ solid solution
5 ขอบเขตของการวิจัย งานวิจัยนี้เป็นการนำวัสดุผสมระหว่างดินแดงดอยสะเก็ดกับควอตซ์ ที่มีอัตราส่วนของส่วนผสมที่กำหนด ทำการขึ้นรูปด้วยแม่พิมพ์โลหะด้วยเครื่องอัดทางเดียวนำไปเผาที่อุณหภูมิต่างๆ แล้วนำชิ้นงานตัวอย่างไปทำการทดสอบสมบัติทางกายภาพเพื่อสังเคราะห์และวิเคราะห์ว่าอุณหภูมิการเผาซินเตอร์และอัตราส่วนของวัสดุผสมมีสมบัติทางกายภาพอย่างไร มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ Synthesis and analysis in physical characteristics of BNKT- BZZ solid solution
การเตรียมผง ดินแดงดอยสะเก็ด และ ควอตซ์ 6 แผนการดำเนินงาน การเตรียมผง ดินแดงดอยสะเก็ด และ ควอตซ์ การขึ้นรูปเป็นเม็ด นำวัสดุผสมระหว่างดินแดงดอยสะเก็ดกับควอตซ์ไปเผาซินเตอร์ การตรวจสอบสมบัติทางกายภาพ สรุปผลการวิจัย มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ Synthesis and analysis in physical characteristics of BNKT- BZZ solid solution
7 วิธีการดำเนินงาน 1. หาข้อมูลที่เกี่ยวข้อง ศึกษาหาข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับการหาสมบัติทางกายภาพ ดินแดงดอยสะเก็ดกับควอตซ์ เพื่อใช้เป็นแนวทางในการออกแบบการทดลองต่อไป 2. เตรียมชิ้นงานตัวอย่าง นำผงควอต์ผสมกับดินแดงดอยสะเก็ดและเฟลสปาร์ด้วยอัตราส่วน 60:15:25, 55:20:25 และ 50:25:25น้ำหนักโดยมวล จากนั้นนำไปขึ้นรูปในแบบพิมพ์โลหะด้วยเครื่องอัดทางเดียวที่แรงดัน 50 kg/ cm2 แล้วเผาที่อุณหภูมิ 1100°C 1150°C 1200°C และ 1250°C ตามลำดับ 3. การทดสอบคุณสมบัติทางกายภาพ เป็นการนำชิ้นงานไปหาความหนาแน่นปรากฏ ความหนาแน่นรวม และความพรุน ด้วยหลักการของอาร์คีมีดิส 4. การทดสอบความแข็ง นำชิ้นงานที่อบแห้งแล้วมาวัดค่าความแข็งโดยใช้การทดสอบความแข็ง 5. วิเคราะห์และสรุปผลพร้อมจัดทำรูปเล่มฉบับสมบูรณ์
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 8 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 1. ทำให้ทราบว่าดินแดงดอยสะเก็ดมีสมบัติอย่างไร 2. ให้ทราบเงื่อนไขที่ดีที่สุดในการเตรียมวัสดุผสมดินแดงดอยสะเก็ดกับควอตซ์ 3. ได้ข้อมูลในการพัฒนางานวิจัยต่อไป phchitchai.wbvschool.net www.vcharkarn.com มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ Synthesis and analysis in physical characteristics of BNKT- BZZ solid solution
แหล่งอ้างอิง 9 มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ ณัฐกฤตา จันทิมา. (2551). ผลของการฉายรังสีแกมมาต่อสมบัติทางกายภาพของควอตซ์ธรรมชาติ. วิทยานิพนธ์ปริญญาวิทยาศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาฟิสิกส์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยพระเจ้าเกล้าธนบุรี สกลวรรณ ห่านจิตสุวรรณ์. (2550). การผลิตซีเมนต์เบไลต์สูงจากเถ้าถานหินและของเสียจากโรงงานอุตสาหกรรม. วิทยานิพนธ์ปริญญา วิทยาศาสตร์ มหาบัณฑิต (เคมีอุตสาหกรรม) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ สันธนะ ตันติวิท. (2554). การขจัดสารหนูในน้ำจากเหมืองแร่ทองคำโดยใช้ดินแดงเป็นตัวดูดซับ. วิทยานิพนธ์ปริญญา วิทยาศาสตร์มหาบัณฑิต (วิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ นาโนเทคโนโลยี. (ม.ป.ป.). เข้าถึงได้จาก : https://th.wikipedia.org/wiki/นาโนเทคโนโลยี (วันที่สืบค้นข้อมูล : 20 ตุลาคม 2558). ศูนย์พัฒนาอุตสาหกรรมเซรามิก. (ม.ป.ป.). เซรามิก. เข้าถึงได้จาก : http://ceramiccenter.dip.go.th/LinkClick.aspx?fileticket=Lgit8erPEco%3D&tabid=36 (วันที่สืบค้นข้อมูล : 23 ตุลาคม 2558). แร่คอวตซ์(Quartz). (15 ก.ย. 2555). เข้าถึงได้จาก : http://kruaon2012.blogspot.com/2012/09/blog-post_3616.html (วันที่สืบค้นข้อมูล : 29 ตุลาคม 2558). วิศาล บุญประกอบ. (2556). ผลิตภัณฑ์เครื่องปั่นดินเผา. เข้าถึงได้จาก : http://research.pcru.ac.th/rdb/pro_data/files/5603019.pdf (วันที่สืบค้นข้อมูล : 25 ตุลาคม 2558). สารานุกรมไทยฉบับเยาวชน. (ม.ป.ป.). วัสดุนาโน (nanomaterials). เข้าถึงได้จาก : http://kanchanapisek.or.th/kp6/sub/book/book.php?book=32&chap=8&page=t32-8-infodetail04.html (วันที่สืบค้นข้อมูล : 20 ตุลาคม 2558). ฤดี นิยมรัตน์. (2557). การพัฒนาสมบัติของดินแดงท้องถิ่นเพื่อการผลิตเครื่องปั้นดินเผา. เข้าถึงได้จาก : http://www.teacher.ssru.ac.th/reudee_ni/file.php/1/Research-Tableware.pdf (วันที่สืบค้นข้อมูล : 30 ตุลาคม 2558). ฤดี นิยมรัตน์. (2558). การพัฒนาดินแดงท้องถิ่นเพื่อการผลิตผลิตภัณฑ์เครื่องโต๊ะอาหาร. เข้าถึงได้จาก : http://www.teacher.ssru.ac.th/reudee_ni/file.php/1/Research-Tableware2558/58-2-abstract.pdf (วันที่สืบค้นข้อมูล : 30 ตุลาคม 2558). มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ Synthesis and analysis in physical characteristics of BNKT- BZZ solid solution