รายงานการวิจัย.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Chapter 3 Data Representation (การแทนข้อมูล)
Advertisements

ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชา การสอนภาษาอังกฤษเพื่อ วิชาการและงานอาชีพ
ศูนย์เรียนรู้ชุมชนเศรษฐกิจ พอเพียงบ้านซ่อง อ.พนมสารคาม จ.ฉะเชิงเทรา
สาระที่ ๒ การเขียน.
การบริหารจัดการโครงการ และการเบิกจ่ายงบประมาณ
ศึกษาข้อมูลท้องถิ่นบ้านสนาม
ยินดีต้อนรับ คณะกรรมการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน “สำนักส่งเสริมวิชาการและงานทะเบียน” วันอังคารที่ 23 สิงหาคม พ.ศ
Application of Electron Paramagnetic Resonance (EPR)
Lubna Shamshad (Ph.D Student) Supervisor Dr.GulRooh
Q n° R n°.
อาคารสำนักงานเขต พื้นที่การศึกษา (สพป./สพม.)
Chapter 3 Design of Discrete-Time control systems Frequency Response
ยินดีต้อนรับ นสต. ภ.๙.
การส่งเสริมจริยธรรมและคุณธรรม เพื่อการป้องกันการทุจริต
พอช.องค์การมหาชนของชุมชนไทย
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
หน่วยที่ 2 การประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
หลักสูตรการศึกษานอกระบบ ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
Multiple Input Multiple Output (MIMO)
บทที่ 7 TAS 17 (ปรับปรุง 2558): สัญญาเช่า (Leases)
หลักการสร้างมาตรวัดทางจิตวิทยา
โครงการส่งเสริมการพัฒนาคุณภาพงาน คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
แผนการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
แนวการตรวจสอบภายใน การตรวจสอบรถราชการ
ทะเบียนราษฎร.
นายธนวิทย์ โพธิ์พฤกษ์ เลขที่ 8 นายอนุสรณ์ ขำหลง เลขที่ 29
เรื่อง การบริหารการศึกษาตาม พ.ร.บ ระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ
เอกสารประกอบการบรรยายครั้ง ๒ วิชาซื้อขาย - เช่าทรัพย์ - เช่าซื้อ
ระเบียบกระทรวงมหาดไทย
บทที่ 12 การวิเคราะห์สหสัมพันธ์และการถดถอย
DATA STRUCTURES AND ALGORITHMS
ขั้นตอนการจัดตั้งกลุ่มส่งเสริมอาชีพ จังหวัดนครราชสีมา ปี ๒๕๕๘/๕๙
หลักการจัดกิจกรรมนันทนาการ
การประชุมผู้บริหารระดับสูงกระทรวงวัฒนธรรม ครั้งที่ ๔/๒๕๖๐
การเบิกจ่ายเงินเกี่ยวกับค่าใช้จ่าย ในการบริหารงานของส่วนราชการ
การแก้ไขปัญหา สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยนคลองจั่น จำกัด
ขั้นตอนของกิจกรรม : ปฏิบัติเป็นประจำ เพื่อให้เกิดการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง
ตอนที่ 2.๒ บทบาทหน้าที่ของเจ้าหน้าที่ส่งเสริมการเกษตรระดับอำเภอ
บทที่ 4 การกระจาย อำนาจด้านการคลัง
งานเงินสมทบและการตรวจสอบ
ยินดีต้อนรับเข้าสู่บทเรียนคอมพิวเตอร์ วัยรุ่นไทยใส่ใจวัฒนธรรม เรื่อง
การพัฒนาระบบบริหารจัดการกำลังคนด้านสุขภาพ “การพัฒนาบุคลากร”
ค่าใช้จ่ายต่างๆ ในโครงการฯ
วันเสาร์ที่ 2 กรกฎาคม 2559 วิทยาลัยเทคโนโลยีอักษรพัทยา
วิชาสังคมศึกษา ม.3 สาระที่ 1 ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม.
มหาวิยาลัยราชภัฏนครราชสีมา
โครงการสนับสนุนสินเชื่อเกษตรกรชาวสวนยาง รายย่อยเพื่อประกอบอาชีพเสริม
ความหมายของหนี้สาธารณะ
การจัดการชั้นเรียน.
การบริหารการเงิน ในสถานศึกษา
องค์ประกอบและผลกระทบของธุรกิจไมซ์
โคลง ร่าย และ โดยครูธาริตา นพสุวรรณ
Matrix 1.Thamonaporn intasuwan no.7 2.Wannisa chawlaw no.13 3.Sunita taoklang no.17 4.Aungkhana mueagjinda no.20.
สมาชิกโต๊ะ 1 นายสุรวินทร์ รีเรียง นายภาณุวิชญ์ อนุศรี
นำเสนอ วัดเกาะชัน ด.ช.ปกรณ์ ร้อยจันทร์ ม.2/7 เลขที่ 19
รศ.ดร.อนันต์ จันทรโอภากร
การเขียนวิจารณ์วรรณกรรม ๒
การยืมเงิน จากแหล่งเงินงบประมาณรายได้
วิชา หลักการตลาด บทที่ 7 การออกแบบกลยุทธ์ราคา
ผังมโนทัศน์สาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑
สาระสำคัญพ.ร.บ.การทวงถามหนี้ พ.ศ.๒๕๕๘ สาระสำคัญพ.ร.บ.การทวงถามหนี้ พ.ศ.๒๕๕๘.
การบัญชีตามความรับผิดชอบและ การประเมินผลการปฏิบัติงาน
ตำบลหนองพลับ ประวัติความเป็นมา
แบบทดสอบ เรื่อง ความน่าจะเป็น.
การปฏิรูประบบศาลยุติธรรม หลังรัฐประหาร 2557
ธาตุ สารประกอบ และปฏิกิริยาเคมี
ข้อกำหนด/มาตรฐาน ด้านสุขาภิบาลอาหาร
การบริหารหลักสูตร ความหมาย : การดำเนินงานที่เกี่ยวข้องกับการทำหลักสูตร และเอกสารประกอบหลักสูตร ไปสู่การปฏิบัติในสถานการณ์จริงหรือกิจกรรมการเรียนการสอนให้เป็นไปตามเป้าหมายที่กำหนดไว้ในหลักสูตรโดยอาศัยการสนับสนุนและร่วมมือจากบุคคลที่เกี่ยวข้องกับการใช้หลักส
PHYSICS by P’Tum LINE
การพิจารณาสัญชาติของบุคคล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

รายงานการวิจัย

ส่วนหน้า ปกนอก/ปกใน บทคัดย่อ คำอุทิศ กิตติกรรมประกาศ สารบัญ สารบัญตาราง สารบัญภาพ รายการสัญลักษณ์และคำย่อ

ส่วนเนื้อเรื่อง บทนำ วรรณกรรมและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง วิธีดำเนินการวิจัย ผลการวิจัยและการอภิปรายผล สรุปผลการวิจัยและข้อเสนอแนะ

ส่วนอ้างอิง บรรณานุกรม

ส่วนเพิ่มเติม ภาคผนวก การเผยแพร่ผลงานวิทยานิพนธ์ ประวัติผู้เขียน

บทที่ 1 : บทนำ ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา คำถามของการวิจัย วัตถุประสงค์ของการวิจัย สมมติฐานของการวิจัย ขอบเขตของการวิจัย ข้อตกลงเบื้องต้น นิยามศัพท์เฉพาะ ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับจากการวิจัย

บทที่ 2 : วรรณกรรมและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง บทที่ 2 : วรรณกรรมและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง เป็นส่วนที่จะช่วยให้เห็นภาพพจน์ของปัญหาให้เด่นชัดยิ่งขึ้น ช่วยชี้ให้เห็นเหตุผลที่นำไปสู่จุดมุ่งหมายของการวิจัย และช่วยชี้ให้ทราบว่าส่วนที่เกี่ยวข้องกับโครงการวิจัย ส่วนใดบ้างได้มีผู้ดำเนินการไปแล้ว การสรุปเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องควรเลือกกล่าวถึงเฉพาะสิ่งที่สำคัญ เช่น วัตถุประสงค์ของการวิจัยนั้น ๆ วิธีการที่ผู้วิจัยใช้ในการแก้ปัญหาผลที่ได้รับจากการวิจัย ข้อสรุป ความคิดเห็นเกี่ยวกับคุณค่าของการวิจัยนั้น ๆ ความคิดเห็นจากเอกสารและงานวิจัยต่าง ๆ ที่นำมากล่าวถึง ควรจะนำมาเกี่ยวโยงกัน และให้สัมพันธ์กับปัญหาที่จะทำการวิจัย หากการเสนอความคิดเห็นของงานวิจัยแต่ละเรื่องแยกจากกัน จะทำให้การนำเสนอไม่ต่อเนื่องกัน หลีกเลี่ยงการลอกข้อความโดยตรงมาทั้งหมด ควรจะนำความคิดจากแหล่งต่าง ๆ มารวมกัน และเขียนเสนอเป็นคำพูดของผู้เขียนเอง การเขียนรายงานในส่วนนี้ควรกล่าวถึงเฉพาะสิ่งที่สำคัญ ไม่ควรกล่าวถึงงานวิจัยต่าง ๆ โดยเรียงลำดับ ตามปีที่ดำเนินการวิจัย สรุปแนวคิดที่จะนำมาใช้ในการวิจัยของตนเอง

บทที่ 3 : วิธีดำเนินการวิจัย รูปแบบการวิจัย แหล่งข้อมูล ประชากร และการเลือกตัวอย่าง ตัวแปรที่ศึกษา วิธีการรวบรวมข้อมูล วิธีดำเนินการทดลอง วิธีการวัดผล วิธีการสร้างเครื่องมือ การหาค่าความเที่ยงความตรงของเครื่องมือ การวิเคราะห์ข้อมูล

บทที่ 4 : ผลการวิจัยและการอภิปรายผล เป็นการเสนอข้อมูลที่รวบรวมได้และมีการวิเคราะห์ ต้องระวังไม่เอาผลการวิจัยไปปะปนกับผลของการศึกษางานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ต้องเสนอผลอย่างกระจ่าง รัดกุม และตามข้อเท็จจริง และในลักษณะที่ได้จัดเรียงลำดับไว้อย่างดีแล้ว โดยลำดับตามความสำคัญที่ระบุไว้ในวัตถุประสงค์ หรือตามตัวแปรต่าง ๆ ก็ได้ การใช้ตารางจึงเป็นเครื่องมือที่สำคัญในการเสนอผลการวิจัย โดยเฉพาะอย่างยิ่งการวิจัยที่ใช้สถิติมาก ฉะนั้นก่อนที่จะเขียนบทนี้จะต้องเตรียมตาราง แผนภูมิ หรือภาพ ที่ต้องการจะใช้ให้เรียบร้อยเสียก่อน และเรียงลำดับตามความสำคัญ ชื่อตารางหรือ ภาพจะต้องเฉพาะเจาะจงเพื่อที่จะช่วยให้ทราบว่า ตารางหรือภาพนั้น กล่าวถึงอะไร และควรจะมีคำอธิบายหรือตีความส่วนสำคัญของตาราง และภาพนั้นไว้ข้างท้ายด้วยทุกครั้ง ข้อมูลต่าง ๆ เกี่ยวกับงานวิจัย อาจมีขอบเขตกว้างขวางจนสามารถที่จะนำเสนอ แยกเป็น 1 – 3 บทก็ได้

บทที่ 4 : ผลการวิจัยและการอภิปรายผล การอภิปรายผล เป็นการอธิบายและทำนายผล ว่าผลการวิจัยนั้นมีเหตุมาจากอะไร และมีแนวโน้มว่าจะเป็นอย่างไรต่อไป ซึ่งควรจะมีลักษณะที่สร้างสรรค์ ต้องอาศัยความเข้าใจเกี่ยวกับขอบเขตของการวิจัยและงานวิจัยต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องเป็นอย่างดี การอภิปรายผล ควรจะรวมถึงการประยุกต์ทฤษฎี ทางการศึกษาต่าง ๆ เข้าไว้ด้วย ต้องคำนึงถึงจุดอ่อนของวิธีดำเนินการวิจัย มีการทบทวนแนวคิดในการวิจัย ขอบเขตของการวิจัย เพื่อนำไปสู่การ เสนอแนะเกี่ยวกับการวิจัยอื่น ๆ ต่อไป

บทที่ 5 : สรุปผลการวิจัยและข้อเสนอแนะ บทที่ 5 : สรุปผลการวิจัยและข้อเสนอแนะ เป็นการทบทวน ปัญหา และวิธีที่ใช้ในการวิจัยทั้งนี้มุ่งที่จะให้ผู้อ่านได้ทราบถึงวัตถุประสงค์ของการวิจัย การทบทวนควรจะ กล่าวอย่างสั้น ๆ และนำไปสู่การสรุป การสรุปขึ้นอยู่กับความซับซ้อนของผลที่ ได้จากการวิจัย ควรสรุปตามข้อเท็จจริงที่พบในการวิจัย ข้อเสนอแนะในการนำผลการวิจัยไปใช้ และข้อเสนอแนะในการวิจัยครั้งต่อๆไป ควรคำนึงถึงจุดอ่อน ของวิธีดำเนินการวิจัย ทบทวนแนวคิดในการวิจัย ขอบเขตของการวิจัย และประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ

การเผยแพร่งานวิจัย วัตถุประสงค์ รูปแบบ เทคนิคพิเศษ ภาษา เนื้อหา

บทคัดย่อ วัตถุประสงค์ของการวิจัย วิธีดำเนินการวิจัย ข้อสรุปผลการวิจัย ข้อเสนอแนะที่สำคัญ

เกณฑ์การประเมิน รายงานการวิจัย ความชัดเจนของปัญหาการวิจัยและเหตุผลที่ต้องทำการวิจัย ความเกี่ยวข้องของปัญหาการวิจัยกับสภาพปัจจุบัน ความเกี่ยวข้องของปัญหาการวิจัยกับสาขาวิชาที่ศึกษา ความชัดเจนของวัตถุประสงค์การวิจัย

เกณฑ์การประเมิน รายงานการวิจัย ความสอดคล้องของวัตถุประสงค์กับปัญหาการวิจัย การทบทวนวรรณกรรมที่ครอบคลุมแนวคิด ทฤษฎีและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง การเชื่อมโยงวรรณกรรมที่ทบทวนและงานวิจัยสู่การกำหนดกรอบแนวคิดการวิจัย ระเบียบวิธีวิจัยเหมาะสมและสอดคล้องกับวัตถุประสงค์

เกณฑ์การประเมิน รายงานการวิจัย การกำหนดประชากรและตัวอย่างมีความเหมาะสม คุณภาพของเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ความถูกต้องเหมาะสมของเทคนิคการเก็บรวบรวมข้อมูล วิธีการวิเคราะห์ข้อมูลเหมาะสมกับลักษณะข้อมูล

เกณฑ์การประเมิน รายงานการวิจัย ความน่าเชื่อถือของข้อมูล ความเหมาะสมในการนำเสนอและตีความหมายข้อมูล การสรุปผลถูกต้องและเชื่อถือได้ ความสอดคล้องและครอบคลุมของผลการวิจัยกับวัตถุประสงค์

เกณฑ์การประเมิน รายงานการวิจัย ความรู้ใหม่ที่ได้จากการสังเคราะห์ผลการวิจัย ประโยชน์ของผลที่ได้จากการวิจัย ความสามารถในการบูรณาการความรู้จากงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับผลการวิจัย ความสามารถในการสะท้อนผลถึงข้อดีและข้อจำกัดในการวิจัย ความสมเหตุสมผลในการเสนอแนะถึงการนำผลงานวิจัยไปประยุกต์ใช้

เกณฑ์การประเมิน รายงานการวิจัย ความเหมาะสมของวิธีการนำเสนอ ความเหมาะสมของสื่อที่ใช้ในการนำเสนอ การนำเสนอเนื้อหาเป็นลำดับขั้นตอนที่เหมาะสม การนำเสนอแนวคิดมีความชัดเจนและต่อเนื่อง บุคลิกภาพ การแสดงออก ความเชื่อมั่นของผู้นำเสนอ ความสอดคล้องของเนื้อหาที่นำเสนอกับที่เขียนในรายงานการวิจัย ความสามารถในการสรุปผลการวิจัย