การบริหารการเงิน ในสถานศึกษา
การบริหารการเงินในสถานศึกษา ประเภทของเงินราชการ เงินงบประมาณ เงินนอกงบประมาณ เงินรายได้แผ่นดิน
1. เงินงบประมาณ (1) งบบุคลากร (2) งบดำเนินงาน (3) งบลงทุน รายจ่ายตามงบประมาณ 1. รายจ่ายของส่วนราชการและรัฐวิสาหกิจ (1) งบบุคลากร (2) งบดำเนินงาน (3) งบลงทุน (4) งบเงินอุดหนุน (5) งบรายจ่ายอื่น
1. เงินงบประมาณ (ต่อ) เงินช่วยเหลือบุตร เงินเบี้ยหวัดบำเหน็จบำนาญ 2. รายจ่ายงบกลาง เงินสวัสดิการค่ารักษาพยาบาล / การศึกษาบุตร / เงินช่วยเหลือบุตร เงินเบี้ยหวัดบำเหน็จบำนาญ เงินสำรองเงินสบทบและเงินชดเชยข้าราชการ เงินสมทบของลูกจ้างประจำ ฯลฯ
2. เงินนอกงบประมาณ เงินรายได้สถานศึกษา เงินภาษีหัก ณ ที่จ่าย เงินลูกเสือ เงินเนตรนารี เงินยุวกาชาด เงินประกันสัญญา เงินบริจาคที่มีวัตถุประสงค์
3. เงินรายได้แผ่นดิน ค่าขายแบบรูปรายการที่ใช้เงินจากเงินงบประมาณ 3. เงินรายได้แผ่นดิน 3.1 เงินรายได้แผ่นดินของสถานศึกษาที่มีการจัดเก็บมีประเภทต่าง ๆ ดังนี้ (1) ค่าขายของเบ็ดเตล็ด ค่าขายพัสดุชำรุดที่จัดหาจากเงินงบประมาณ ค่าขายแบบรูปรายการที่ใช้เงินจากเงินงบประมาณ
ออมทรัพย์ของเงินอุดหนุนทั่วไป 3. เงินรายได้แผ่นดิน (2) ค่าธรรมเนียมเบ็ดเตล็ด ค่าธรรมเนียมสอบแข่งขันลูกจ้างประจำ (3) เงินเหลือจ่ายปีเก่าส่งคืน 3.2 ดอกเบี้ยจากบัญชีเงินฝากธนาคารประเภท ออมทรัพย์ของเงินอุดหนุนทั่วไป
การนำส่งเงินรายได้แผ่นดิน ให้สถานศึกษารวบรวมเงินรายได้แผ่นดินนำส่ง อย่างน้อยเดือนละ 1 ครั้ง เว้นแต่มีเงินรายได้แผ่นดินเก็บรักษาเกินกว่า 10,000 บาท ให้นำส่งอย่างช้าไม่เกิน 7 วันทำการ
2. ข้อกำหนดในการจ่ายเงิน 3. ข้อกำหนดในการเก็บรักษาเงิน การควบคุมภายในด้านการเงิน ตามระเบียบการเก็บรักษาเงินและการนำเงินส่งคลัง ในหน้าที่ของอำเภอและกิ่งอำเภอ พ.ศ.2520 1. ข้อกำหนดในการรับเงิน 2. ข้อกำหนดในการจ่ายเงิน 3. ข้อกำหนดในการเก็บรักษาเงิน 4. ข้อกำหนดในการนำเงินส่งและการเบิกเงิน
ข้อกำหนดในการรับเงิน 1. ใบเสร็จรับเงิน ใช้ตามแบบที่กระทรวงการคลังกำหนด จัดทำทะเบียนคุมใบเสร็จรับเงิน การเขียนใบเสร็จรับเงินถูกต้องตามระเบียบ ไม่ใช้ใบเสร็จรับเงินข้ามปีงบประมาณในเล่มเดียวกัน สิ้นปีงบประมาณมีการรายงานการใช้ใบเสร็จรับเงิน
ข้อกำหนดในการรับเงิน (ต่อ) 2. การรับเงิน การรับเงินมีการออกใบเสร็จรับเงินให้แก่ผู้ชำระเงินทุกครั้ง บันทึกเงินที่ได้รับในบัญชีภายในวันที่ได้รับเงินนั้น
ข้อกำหนดในการจ่ายเงิน 1. การจ่ายเงิน จ่ายตามกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ มติครม.หรือได้รับอนุญาตจากกระทรวงการคลัง ผู้มีอำนาจอนุมัติจ่าย มีหลักฐานการจ่าย เจ้าหน้าที่การเงินที่เป็นผู้จ่ายเงินลงลายมือชื่อรับรองการจ่าย พร้อมด้วยชื่อตัวบรรจงกำกับไว้ในหลักฐานการจ่ายเงิน บันทึกรายการจ่ายเงินในบัญชีในวันที่จ่ายเงิน
2. หลักฐานการจ่าย 2.1 หลักฐานการจ่ายที่ส่วนราชการจัดทำตามแบบที่ กระทรวงการคลังกำหนด 2.2 ใบสำคัญคู่จ่ายที่เป็นใบเสร็จรับเงิน ซึ่งผู้รับเงินออกให้ (1) ชื่อ สถานที่อยู่ หรือที่ทำการของผู้รับเงิน (2) วัน เดือน ปี ที่รับเงิน (3) รายการแสดงการรับเงินระบุว่าเป็นค่าอะไร (4) จำนวนเงินทั้งตัวเลข และตัวอักษร (5) ลายมือชื่อของผู้รับเงิน
กรณีใบเสร็จรับเงินมีรายการไม่ครบถ้วน (5 รายการ) ผู้จ่ายทำใบรับรองการจ่ายเงิน (แบบ บก. 111) - ระบุว่าเป็นการจ่ายเงินค่าอะไร - วัน เดือน ปีใด - จำนวนเงินเท่าใด - ลงลายมือชื่อรับรองการจ่ายเงิน - แนบหลักฐานการรับเงิน เพื่อการตรวจสอบ
การเขียนเช็คสั่งจ่ายเงิน 1. จ่ายเงินตั้งแต่ 5,000 บาทขึ้นไป สั่งจ่ายในนาม เจ้าหนี้ / ผู้มีสิทธิรับเงิน และขีดฆ่า “หรือตามคำสั่ง” หรือ “หรือผู้ถือ” ออก (จะขีดคร่อมหรือไม่ก็ได้ 2. จ่ายเงินต่ำกว่า 5,000 บาท สั่งจ่ายในนามเจ้าหนี้ / ผู้มีสิทธิรับเงิน และจะไม่ขีดฆ่า “หรือตามคำสั่ง” หรือ “หรือผู้ถือ” ออกก็ได้ โดยอยู่ในดุลยพินิจของผู้สั่งจ่าย
ห้ามออกเช็คสั่งจ่ายเป็นเงินสด (ต่อ) 3. สั่งจ่ายเงินเพื่อขอรับเงินสดมาจ่ายให้ออกเช็ค สั่งจ่ายในนามเจ้าหน้าที่ของส่วนราชการและขีดฆ่า คำว่า “หรือตามคำสั่ง” หรือ “หรือผู้ถือ” ห้ามออกเช็คสั่งจ่ายเป็นเงินสด
การจ่ายเงินยืม จัดทำสัญญาการยืมเงินตามแบบที่กระทรวงการคลังกำหนด ประมาณการค่าใช้จ่ายและกำหนดเวลาส่งใช้ ผู้มีอำนาจอนุมัติจ่ายเงินยืม ให้ยืมเท่าที่จำเป็นเพื่อใช้ในราชการ ห้ามอนุมัติให้ยืมเงินรายใหม่ ถ้าผู้ยืมมิได้ส่งใช้เงินยืม รายเก่าให้เสร็จสิ้น เมื่อผู้ยืมส่งใช้เงินยืม ให้เจ้าหน้าที่ผู้รับคืนเงินยืมบันทึกการรับคืนในสัญญาการยืมเงิน
ข้อกำหนดในการเก็บรักษาเงิน จัดทำรายงานเงินคงเหลือประจำวัน นำเงินที่จะเก็บรักษา พร้อมหลักฐานแทนตัวเงินและรายงานเงินคงเหลือประจำวัน ส่งมอบต่อคณะกรรมการเก็บรักษาเงิน
ข้อกำหนดในการเก็บรักษาเงิน (ต่อ) ข้อกำหนดในการเก็บรักษาเงิน (ต่อ) คณะกรรมการเก็บรักษาเงินตรวจสอบตัวเงินและหลักฐานแทนตัวเงินกับรายงานเงินเงินคงเหลือประจำวัน เมื่อถูกต้องตรงกัน ลงลายมือชื่อในรายงานเงินคงเหลือประจำวัน นำเงินเข้าเก็บรักษาในตู้นิรภัย เจ้าหน้าที่การเงินนำรายงานเงินคงเหลือประจำวัน เสนอผู้อำนวยการสถานศึกษาเพื่อทราบ
การตรวจสอบการรับ - จ่ายประจำวัน 1. ตรวจสอบการรับเงิน จัดให้มีผู้ตรวจสอบการรับเงิน ตามระเบียบฯ ข้อ 20 ตรวจสอบจำนวนเงินที่จัดเก็บและนำส่งกับหลักฐานและ รายการที่บันทึกไว้ในบัญชี หากถูกต้องให้ลงลายมือชื่อกำกับไว้ในสำเนาใบเสร็จรับเงินฉบับสุดท้าย
2. ตรวจสอบการจ่ายเงิน จัดให้มีผู้ตรวจสอบการจ่ายเงิน ตามระเบียบ ฯ ข้อ 37 ตรวจสอบรายการจ่ายเงินที่บันทึกในบัญชีกับหลักฐานการจ่าย หากถูกต้องให้ลงลายมือชื่อกำกับยอดเงินคงเหลือในบัญชี
เงินอุดหนุนทั่วไป เงินอุดหนุนค่าใช้จ่ายในการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน (ค่าใช้จ่ายรายหัว) เงินอุดหนุนปัจจัยพื้นฐานสำหรับนักเรียนยากจน เงินอุดหนุนค่าอาหาร เงินอุดหนุนส่งเสริมการประกอบอาชีพอิสระเพื่อ การมีรายได้ระหว่างเรียนของนักเรียน (สอร.)
1. เงินอุดหนุนค่าใช้จ่ายในการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน (ค่าใช้จ่ายรายหัว) 1. เงินอุดหนุนค่าใช้จ่ายในการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน (ค่าใช้จ่ายรายหัว) แนวทางการใช้ แบ่งสัดส่วนการใช้เงินให้สอดคล้องกับแผนปฏิบัติงาน ประจำปีของโรงเรียนดังนี้ งบด้านวิชาการ ร้อยละ 60 - 70 งบด้านบริหารทั่วไป ร้อยละ 20 - 30 งบสำรองจ่าย ร้อยละ 10 - 20 ให้คณะกรรมการสถานศึกษาเห็นชอบ ประกาศโดยเปิดเผย
การใช้จ่ายเงินอุดหนุน(ค่าใช้จ่ายรายหัว) ให้ใช้จ่ายใน 3 ประเภทงบประมาณรายจ่ายดังนี้ 1. รายจ่ายงบบุคลากร 2. รายจ่ายงบดำเนินงาน 3. รายจ่ายงบลงทุน
2. เงินอุดหนุนปัจจัยพื้นฐานสำหรับนักเรียนยากจน การใช้จ่ายเงิน 1. ค่าเครื่องแต่งกายนักเรียน 2. ค่าอาหารกลางวัน จ่ายเงินให้นักเรียน โรงเรียนจัดซื้อวัสดุประกอบอาหาร 3. ค่าหนังสือและอุปกรณ์การเรียน 4. ค่าพาหนะไป – กลับ โรงเรียนจ้างเหมาบริการรับ - ส่งนักเรียน
3. เงินอุดหนุนส่งเสริมการประกอบอาชีพอิสระ เพื่อการมีรายได้ระหว่างเรียนของนักเรียน (สอร.) การใช้จ่ายเงิน สอร. จ่ายให้กลุ่มนักเรียนยืมไปดำเนินการประกอบวิชาชีพ อิสระฯ โครงการที่คณะกรรมการ สอร. อนุมัติ โรงเรียนทำทะเบียนย่อยคุมแต่ละโครงการ/บริษัท ทวงเงินคืนเมื่อถึงกำหนด กรณีขาดทุน/อนุมัติจากคณะกรรมการสอร./รายงานกรมฯ
2. เงินนอกงบประมาณ เงินรายได้สถานศึกษา เงินภาษีหัก ณ ที่จ่าย เงินลูกเสือ เงินเนตรนารี เงินยุวกาชาด เงินประกันสัญญา เงินบริจาคที่มีวัตถุประสงค์
เงินรายได้สถานศึกษาที่เป็นนิติบุคคล หมายถึง รายได้ตามมาตรา 59 แห่งพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 ซึ่งเกิดจาก การจัดหาผลประโยชน์จากทรัพย์สิน ที่ราชพัสดุ ทรัพย์สินอื่นที่เป็นของตนเอง
จัดหารายได้จากบริการสถานศึกษา/ ค่าธรรมเนียมการศึกษา (ต่อ) จัดหารายได้จากบริการสถานศึกษา/ ค่าธรรมเนียมการศึกษา เบี้ยปรับที่เกิดจากการผิดสัญญา ลาศึกษา ซื้อทรัพย์สิน/จ้างทำของด้วยเงิน งบประมาณ
เงินรายได้สถานศึกษาที่เป็นนิติบุคคล ใช้ระเบียบ กค. ว่าด้วยเงินรายได้ของสถานศึกษา ของรัฐที่ไม่เป็นนิติบุคคล พ.ศ. 2546 ไปพลางก่อน เปลี่ยนชื่อ เงินบำรุงการศึกษา เป็น เงินรายได้ สถานศึกษา ในเอกสารทางการเงิน
การใช้จ่ายเงินรายได้ (ตามประกาศ ศธ.) 1. ค่าตอบแทนใช้สอยและวัสดุ ยกเว้นค่าใช้จ่าย ในการเดินทางไปราชการต่างประเทศ 2. ค่าสาธารณูปโภค 3. ค่าครุภัณฑ์ หน่วยละต่ำกว่า 500,000 บาท 4. ค่าที่ดินและสิ่งก่อสร้าง หน่วยละต่ำกว่า 5,000,000 บาท 5. สมทบค่าครุภัณฑ์ ที่ดินและสิ่งก่อสร้าง 6. จ่ายเป็นเงินยืมทดรองในการปฏิบัติราชการ/สวัสดิการ ข้าราชการ
รายจ่ายที่ต้องขอความเห็นชอบจาก เลขาธิการ กพฐ. ก่อน 1. ค่าจ้างชั่วคราว 2. ค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปต่างประเทศ 3. ค่าครุภัณฑ์หน่วยละ 500,000 บาท ขึ้นไป 4. ค่าที่ดินและสิ่งก่อสร้าง หน่วยละ 5,000,000 บาท ขึ้นไป
การอนุมัติจ่าย/ ก่อหนี้ผูกพันเงินรายได้ 1. ผอ.สถานศึกษา ครั้งละไม่เกิน 1,000,000 บาท 2. ผอ. สพท. ครั้งละไม่เกิน 3,000,000 บาท 3. ผู้ว่าราชการจังหวัด ครั้งละไม่เกิน 4,000,000 บาท 4. ที่ปรึกษาฯที่คุม สคส. ครั้งละไม่เกิน 5,000,000 บาท 5. รองเลขาธิการที่คุม สคส. ครั้งละไม่เกิน 6,000,000 บาท 6. ส่วนที่เกินเป็นอำนาจของ เลขาธิการ กพฐ.
เงินภาษีหัก ณ ที่จ่าย เงินที่เจ้าหน้าที่ผู้จ่ายเงินของส่วนราชการหักจากผู้ขายหรือ ผู้รับจ้าง เพื่อนำส่งกรมสรรพากร กรณีการซื้อหรือจ้าง มีหลักเกณฑ์การหักภาษี ณ ที่จ่าย ดังนี้ 1. ซื้อหรือจ้างบุคคลธรรมดา ตั้งแต่ 10,000 บาทขึ้นไป หักร้อยละ 1 ของมูลค่าสินค้า/บริการก่อนบวกภาษีมูลค่าเพิ่ม 2. ซื้อหรือจ้างนิติบุคคล ตั้งแต่ 500 บาทขึ้นไปหักร้อยละ 1 ของมูลค่าสินค้า/บริการก่อนบวกภาษีมูลค่าเพิ่ม
เงินภาษีหัก ณ ที่จ่าย (ต่อ) การนำส่ง ให้นำส่งสรรพากรในท้องที่ที่สถานศึกษาตั้งอยู่ ภายใน 7 วันนับแต่วันสิ้นเดือนของเดือนที่จ่ายเงิน หากไม่นำส่งภายในกำหนดเวลา ผู้จ่ายเงินต้องรับผิดชอบชำระเงินเพิ่มเอง ร้อยละ 1.5 ต่อเดือน หรือเศษของเดือนของภาษีที่นำส่งและอาจได้รับโทษทางอาญาปรับไม่เกิน 2,000 บาท
การคำนวณภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย ตัวอย่างที่ 1 ราคาวัสดุสำนักงาน(บริษัทสินไทย) = 4,000 บาท ภาษีมูลค่าเพิ่ม = 280 บาท ราคาซื้อวัสดุสำนักงาน = 4,280 บาท ภาษีหัก ณ ที่จ่าย = 1 x 4,000 บาท = 40 บาท 100
ตัวอย่างที่ 2 = 120 บาท ราคาซื้อครุภัณฑ์ (ร้าน ช.พานิช) = 12,840 ราคาซื้อครุภัณฑ์ (ร้าน ช.พานิช) = 12,840 ภาษีมูลค่าเพิ่ม = 1 x 12,840 = 840 ราคาครุภัณฑ์ก่อนบวกภาษีมูลค่าเพิ่ม = 12,840 – 840 = 12,000 ภาษีหัก ณ ที่จ่าย = 1 x 12,000 = 120 บาท 107 100
เงินลูกเสือ อัตราการเก็บค่าบำรุงลูกเสือประจำปี การเก็บรักษาเงิน ถือปฏิบัติตามข้อบังคับคณะลูกเสือแห่งชาติ ว่าด้วยการปกครองหลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ พ.ศ. 2509 อัตราการเก็บค่าบำรุงลูกเสือประจำปี เก็บจากลูกเสือคนหนึ่งไม่เกิน ปีละ 5 บาท เก็บจากผู้บังคับบัญชาลูกเสือ ปีละ 10 บาท การเก็บรักษาเงิน นำฝากธนาคาร
เงินเนตรนารี เก็บจากผู้บังคับบัญชาเนตรนารี ปีละ 10 บาท ถือปฏิบัติตามข้อบังคับคณะลูกเสือแห่งชาติว่าด้วยการปกครองหลักสูตรวิชาพิเศษและเครื่องแบบของเนตรนารี ฉบับชั่วคราว พ.ศ. 2520 อัตราการเก็บค่าบำรุงเนตรนารี เก็บจากเนตรนารีคนหนึ่ง ไม่เกินปีละ 5 บาท เก็บจากผู้บังคับบัญชาเนตรนารี ปีละ 10 บาท การเก็บรักษา นำฝากธนาคาร
เงินยุวกาชาด อัตราการเก็บค่าบำรุงประจำปี ถือปฏิบัติตามประกาศคณะกรรมการบริหารยุวกาชาด เรื่องระเบียบปฏิบัติเกี่ยวกับยุวกาชาด พ.ศ. 2533 อัตราการเก็บค่าบำรุงประจำปี เก็บจากยุวกาชาดคนหนึ่ง ไม่เกินปีละ 10 บาท การเก็บรักษาเงิน นำฝากธนาคารออมสินหรือ ธนาคารพาณิชย์