School of Information & Communication Technology

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ชุดที่ 2 Hardware.
Advertisements

ประเภทของ Input ข้อมูล - Data โปรแกรม - Program คำสั่งงาน - Command
บทที่ 6 การออกแบบส่วนนำเข้าและส่วนแสดงผล
Window XP.
Chapter 1 Introduction to Information Technology
บทที่ 2 การประมวลผลข้อมูล
การออกแบบส่วนติดต่อผู้ใช้
หน่วยนำข้อมูลเข้าและออก Input Unit And Output Unit
การวิเคราะห์และออกแบบ ระบบสารสนเทศ
การออกแบบส่วนติดต่อกับผู้ใช้ User Interface Design
Wattanapong suttapak, Software Engineering, school of Information communication Tecnology, university of phayao เกณฑ์การนำเสนอ และเกณฑ์การให้ คะแนน ครั้งที่
MVC DESIGN PATTERN WATTANAPON G SUTTAPAK Software Engineering, School of Information Communication Technology, University of PHAYAO 1.
Database and Application Development Life Cycle 2.
ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (GIS : Geographic Information System)
การออกแบบส่วนต่อประสาน
กิจกรรมอบรมความรู้ด้าน ICT เพื่อส่งเสริมความเท่าเทียม.
ระบบสารสนเทศ อ.วรพจน์ พรหมจักร.
Security in Computer Systems and Networks
ระบบคอมพิวเตอร์.
เทคโนโลยีสารสนเทศ อาจารย์ศิริพร ศักดิ์บุญญารัตน์
ว่าที่ ร.ต.หญิงวรรณธิดา วรสุทธิพงษ์ ครูแผนกวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ
Information Systems Development
Microsoft Access การใช้งานโปรแกรมระบบจัดการฐานข้อมูล
ฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์
ข้อมูลและสารสนเทศ Data & Information.
School of Information & Communication Technology
Microsoft Visual Basic 2010
การทดสอบซอฟต์แวร์ Software Testing
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
Data Management (การจัดการข้อมูล)
เรื่องน่ารู้ ตามกฎหมายว่าด้วยสหกรณ์
บทที่ 5 แบบจำลองกระบวนการ
คอมพิวเตอร์คืออะไร      คอมพิวเตอร์เป็นองค์ประกอบหนึ่งของเทคโนโลยีสารสนเทศที่เอื้อประโยชน์ต่อการแสวงหาสารสนเทศ เป็นอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ ที่สามารถรับโปรแกรมและข้อมูล.
Chapter 9 โปรแกรมสำเร็จรูปกับการวิเคราะห์ข้อมูล
บทที่ 2 Input & Output Devices
Java Development Tools
ที่รองแขนฟองน้ำ หลักการและเหตุผล : เนื่องจากห้องผ่าตัดมีอุณหภูมิเย็น ผู้ป่วยที่มาผ่าตัดส่วนมากเวลาทำผ่าตัดจะจัด ท่านอนหงายราบ วัตถุประสงค์ : :
System Requirement Collection (1)
บทที่ 7 ระบบสารสนเทศ.
บทที่ 1 ความหมายขอบเขต และผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศ.
เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้ (Information Technology for Life)
ผู้สอน : อ.บุศรินทร์ เอี่ยมธนากุล [อ.อ้อย]
การออกแบบระบบ System Design.
(Smart Strategy Praboromarajchanok Institute: SSPI)
for Display Antique and Art Object Information
Object-Oriented Programs Design and Construction
การออกแบบส่วนต่อประสานกับผู้ใช้
การเลี้ยงไก่ไข่.
Project Feasibility Study
KM Day กองแผนงาน ระบบแผนงาน Online 12 กันยายน 2557
Yeunyong Kantanet School of Information and Communication Technology
บทที่ 9 การออกแบบระบบ และการออกแบบยูสเซอร์อินเตอร์เฟช
บรรยายโดย คุณครูกิริยา ทิพมาตย์ สพม. เขต 23
5 แบบจำลองกระบวนการ Process Modeling
Google Documents By Aj.Net Tullabhat Boonterm
Hashing Sanchai Yeewiyom
เทคโนโลยีสารสนเทศ อาจารย์ศิริพร ศักดิ์บุญญารัตน์
บทที่ 12 การออกแบบส่วนต่อประสานผู้ใช้งาน (USER INTERFACE DESIGN)
“Online Article Service & Tracking System”
อ.พิณรัตน์ นุชโพธิ์ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม
การควบคุมการผลิตสินค้าและบริการ
MR. PAPHAT AUPAKA UPDATE PICTURE MEETING ROOM SYSTEM
วิศวกรรมซอฟต์แวร์ วิศวกรรมซอฟต์แวร์ (Software Engineering)
บทที่ 2 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
CIT2205 โปรแกรมประยุกต์ด้านการจัดการฐานข้อมูล
บทที่ 2 อุปกรณ์รับข้อมูลและอุปกรณ์แสดงผล (Input & Output Devices)
Introduction to Structured System Analysis and Design
บทที่ 2 ระบบคอมพิวเตอร์สำหรับงานกราฟิก
Data resource management
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ใบสำเนางานนำเสนอ:

School of Information & Communication Technology Input Design Start Sanchai Yeewiyom School of Information & Communication Technology University of Phayao Next

การออกแบบการนำข้อมูลเข้า วัตถุประสงค์ เพื่ออธิบายถึงจุดมุ่งหมายของการนำข้อมูลเข้า (Input) เพื่ออธิบายถึงความแตกต่างระหว่าง Data Capture, Data Entry และ Data Input เพื่ออธิบายถึงความแตกต่างระหว่างการนำข้อมูลเข้าแบบ ช่วงเวลา (Batch Line Input) และการนำข้อมูลเข้าแบบ ออนไลน์ (Online Input) Back Next

วัตถุประสงค์ (ต่อ) วัตถุประสงค์ เพื่อแจกแจงและอธิบายถึงการตรวจสอบข้อมูลก่อนการ นำข้อมูลเข้า เพื่ออธิบายถึงผลกระทบของการออกแบบเอกสารที่เป็น แหล่งข้อมูล (Source Document) เพื่อสามารถออกแบบใบระเบียนการนำข้อมูลเข้า (Input Records) เพื่ออธิบายถึงแนวทางที่มีผลต่อการออกแบบหน้าจอ Back Next

วัตถุประสงค์ (ต่อ) วัตถุประสงค์ เพื่ออธิบายการออกแบบหน้าจอดาต้าเอนทรี (Data Entry Screens), หน้าจอควบคุมการปฏิบัติงาน (Process Control Screens), กราฟิกที่ติดต่อกับผู้ใช้ (Graphical Use Interfaces), และหน้าจอช่วยการทำงาน (Help Screens) เพื่ออธิบายเทคนิคที่ใช้ควบคุมการนำข้อมูลเข้า (Input Data) Back Next

ความหมายของ Data Capture, Data Entry, Data Input Back Next

ขั้นตอนในการออกแบบการนำข้อมูลเข้า มี 6 ขั้นตอน คือ การออกแบบหรือปรับปรุงเอกสารที่เป็นแหล่งข้อมูล (Source Document) การออกแบบขั้นตอนการนำข้อมูลเข้าระบบ การออกแบบใบระเบียนการนำข้อมูลเข้า (Input Records) การออกแบบหน้าจอดาต้าเอนทรี การออกแบบส่วนติดต่อผู้ใช้ (User Interface Screens) 6. การออกแบบการควบคุมการนำข้อมูลเข้า (Input Control) Back Next

จุดมุ่งหมายในการออกแบบการนำข้อมูลเข้า เพื่อให้ได้ข้อมูลที่มีคุณภาพเข้าสู่ระบบ กระทำได้โดย 1. มีการเลือกใช้สื่อและวิธีการที่เหมาะสมในการนำข้อมูลเข้า 2. มีการนำข้อมูลเข้าอย่างมีประสิทธิภาพ 3. มีการลดปริมาณของข้อมูลที่ต้องเข้าระบบ 4. มีการลดความผิดพลาดของข้อมูลที่นำเข้าระบบ Back Next

การเลือกใช้สื่อกลางและวิธีการที่เหมาะสมในการนำข้อมูลเข้า วิธีการนำข้อมูลเข้าแบ่งเป็น 2 แบบ คือ การนำข้อมูลเข้าแบบออนไลน์ (Online) ผู้ใช้สามารถนำข้อมูลเข้าได้โดยตรง ต้องมีการออกแบบ Data Entry ให้มีรูปแบบที่สามารนำข้อมูลเข้าได้ตลอดเวลา การนำข้อมูลเข้าแบบช่วงเวลา (Batch) Data Entry จะถูกใช้เป็นช่วงๆ อาจเป็นชั่วโมง เป็นวัน หรือเป็นสัปดาห์ ขึ้นอยู่กับลักษณะการรวบรวมข้อมูล หรือขึ้นกับแหล่งข้อมูล Back Next

สื่อที่ใช้ในการนำข้อมูลเข้า เครื่องมือที่ใช้ในการเข้าข้อมูล (Input Device) คำอธิบาย (Description) Back คีย์บอร์ด (Keyboard) การนำเข้าข้อมูลส่วนใหญ่มักใช้เครื่องมือ นี้โดยเฉพาะในแบบการนำข้อมูลเข้าแบบ ออนไลน์ หรืออาจใช้การจดบันทึกไว้ ก่อนแล้วค่อยคีย์เข้าระบบ ส่วนในกรณี เครื่องเทอร์มินอล (Terminal) แบ่งเป็น 2 แบบ คือ แบบแรกใช้คีย์บอร์ดในการ แสดงหน้าจอและแบบที่ 2 สามารถเก็บข้อมูล หรือทำการประมวลผลได้โดยผ่านคีย์บอร์ด Next

สื่อที่ใช้ในการนำข้อมูลเข้า เครื่องมือที่ใช้ในการเข้าข้อมูล (Input Device) คำอธิบาย (Description) Back เมาส์ (Mouse) เป็นเครื่องมือตัวเล็ก ๆ ที่ใช้เคลื่อนเคอร์เซอร์ (Cursor) บนหน้าจอและใช้ในการเลือกหัวข้อ ในการทำงาน (Option) ทัชสกรีน (Touch screen) เป็นการติดต่อกับผู้ใช้โดยการแตะที่หน้าจอ เพื่อเลือกหัวข้อในการทำงาน Next

สื่อที่ใช้ในการนำข้อมูลเข้า เครื่องมือที่ใช้ในการเข้าข้อมูล (Input Device) คำอธิบาย (Description) Back ทัช-โทน เทเลโฟน การใช้โทรศัพท์โดยผู้ใช้กดปุ่มของเครื่อง (Touch-tone telephone) โทรศัพท์เพื่อส่งรายการ (Transactions) ตัวอย่าง เช่น การโอนเงินผ่านโทรศัพท์ หรือ การลงทะเบียนนักศึกษา เป็นต้น เครื่องมือเข้าข้อมูลแบบ เครื่องมือแบบนี้จะหมายถึง ปากกาแสง กราฟิก (Graphic input (Light Pen) ดิจิไตเซอร์ (Digitizer) หรือ device) กราฟิกแทเบล็ท (Graphic Tablet) ซึ่งสามารถ นำข้อมูลที่เป็นรูปกราฟิก (Graphic) เข้าเครื่อง Next

สื่อที่ใช้ในการนำข้อมูลเข้า เครื่องมือที่ใช้ในการเข้าข้อมูล (Input Device) คำอธิบาย (Description) Back เครื่องมือเสียง เครื่องมือนี้เป็นการใช้คำพูดหรือเสียงป้อน เข้าเครื่อง เครื่องอ่าน MICR เครื่องมือนี้เป็นเครื่องอ่านตัวอักษรแม่เหล็ก โดย ผู้ใช้รุ่นแรก คือ ธนาคารที่ใช้หมึกที่เป็นแม่เหล็ก พิมพ์ตัวอักษรลงในเช็ค สแกนเนอร์(Scanner)/ เครื่องมือนี้เป็นเครื่องที่ใช้อ่านรหัสที่พิมพ์เป็นตัว เครื่องออพติคอล (Optical อักษร และรูปภาพได้โดยตรงจากดาต้าแคปเจอร์ recognition device) (Data Capture) Next

สื่อที่ใช้ในการนำข้อมูลเข้า เครื่องมือที่ใช้ในการเข้าข้อมูล (Input Device) คำอธิบาย (Description) Back เครื่องเก็บข้อมูล เครื่องมือนี้เป็นเครื่องนำข้อมูลเข้าเฉพาะ เช่น (Data collection device) ตามโกดังเก็บของ ตามร้านค้า มีเครื่องนำข้อมูล เข้า คือ บาร์โค้ดเพื่อเช็คสินค้า เป็นต้น Next

การนำข้อมูลเข้าอย่างมีประสิทธิภาพ การนำข้อมูลเข้าอย่างมีประสิทธิภาพมีปัจจัยที่สำคัญ คือ เวลาที่ใช้ในการนำข้อมูลเข้า ซึ่งเมื่อมีข้อมูลที่ต้องนำเข้าจำนวนมาก เวลาก็ยิ่งมีความสำคัญมาก ดังนั้น การออกแบบการนำข้อมูลเข้าที่ดีควรหลีกเลี่ยงคอขวดที่จะเกิดขึ้นได้โดยทำการสังเกตแล้วทำการแก้ไข โดยเช็คดูว่าปัญหาที่เกิดขึ้นนั้นเกิดจากสาเหตุใด เช่น อาจเกิดจากการจัดเวลาของพนักงานไม่สอดคล้องกับการนำข้อมูลเข้า ดังนั้นจะต้องมีการปรับแก้เวลาพนักงานให้ถูกต้อง Back Next

การลดปริมาณการนำข้อมูลเข้า การลดปริมาณการนำข้อมูลเข้าก็เพื่อลดจำนวนและขนาดของข้อมูลในการ นำเข้า การลดปริมาณการนำข้อมูลเข้าเท่ากับเป็นการช่วยลดค่าใช้จ่ายทางด้าน แรงงาน ลดเวลาในการทำงานของเครื่องคอมพิวเตอร์ และลดความผิดพลาด ของข้อมูล แนวทางการลดปริมาณการนำข้อมูลเข้าระบบมี 4 แนวทาง คือ 1. การนำข้อมูลเข้าเฉพาะที่มีความสำคัญ 2. อย่านำข้อมูลซึ่งสามารถดึงมาจากแฟ้มข้อมูลอื่น หรือสามารถคำนวณได้จากข้อมูลอื่นมาเป็นข้อมูลเข้า 3. อย่านำเข้า ข้อมูลที่เป็นค่าคงที่เช่น วันที่ป้อนข้อมูล กรณีที่ใช้รหัสแทนข้อมูลนั้นได้ ก็ควรที่จะใช้รหัส เนื่องจากใช้เวลาในการบันทึกสั้นกว่าการต้องป้อนข้อมูลทั้งหมด ซึ่งจะช่วยในการลดเวลาในการป้อนข้อมูลและประหยัดหน่วยความจำ Back Next

การลดความผิดพลาดของนำข้อมูลเข้าระบบ การตรวจสอบการเรียงลำดับ (Sequence Checks) การตรวจสอบว่ามีการนำข้อมูลเข้า (Existence Checks) การตรวจสอบประเภทของข้อมูล (Class Checks) การตรวจสอบช่วงของข้อมูล (Range Checks) การตรวจสอบความสมเหตุสมผล (Reasonableness Checks) การตรวจสอบความถูกต้อง (Validity Checks) Back Next

การลดความผิดพลาดของนำข้อมูลเข้าระบบ 7. การตรวจสอบความสัมพันธ์ของข้อมูล (Combination Checks) 8. การตรวจสอบในกรณีการนำข้อมูลเข้าเป็นช่วงเวลา (Batch Input Checks) Back Next

เอกสารที่ใช้เป็นแหล่งข้อมูล (Source Document) เอกสารที่เป็นแหล่งข้อมูล หมายถึง เอกสารที่ใช้ในการรวบรวมข้อมูล เช่น จดหมายเวียน เอกสารบันทึกข้อมูล แบบฟอร์มต่างๆ เป็นต้น ซึ่งเอกสารที่เป็นแหล่งข้อมูล ก็คือ Data Capture ที่ใช้เพื่อเป็นกลไกในการเก็บรวบรวมข้อมูล เพื่อเตรียมไว้นำข้อมูลเข้า และเตรียมเป็นระเบียนซึ่งใช้เป็นต้นฉบับของข้อมูล โดยตัวอย่างเอกสารที่ใช้เป็นแหล่งข้อมูลแสดงได้ดังสไลด์ถัดไป Back Next

Back Next

การเรียงลำดับโซนต่าง ๆ ในเอกสาร Back Next

ตัวอย่างเอกสารที่ใช้เป็นแหล่งข้อมูล

การออกแบบใบระเบียนนำข้อมูลเข้า (Input Record Design) การออกแบบระเบียนข้อมูล จะใช้ในกรณีเมื่อเป็นการนำข้อมูลเข้าระบบแบบใช้ช่วงเวลา เนื่องจากต้องมีการรวบรวมข้อมูลก่อนมีการนำข้อมูลเข้า การนำข้อมูลเข้าที่รวบรวมนั้นต้องมีการเก็บไว้ในแฟ้มข้อมูลชั่วคราว ซึ่งแฟ้มข้อมูลชั่วคราวนั้น จะกลายเป็นแฟ้มข้อมูลที่ถูกนำเข้า ดังนั้นจึงมีการใช้ใบระเบียนนำข้อมูลเข้า เพื่อใช้ในการบันทึกเฉพาะข้อมูลที่จำเป็นต้องเข้าเครื่องโดยใช้โปรแกรมพิมพ์งาน (Word Processor) และใช้พจนานุกรมข้อมูล (Data Dictionary) ในการอธิบายรูปแบบของระเบียนนั้นทั้งหมด Back Next

ใบรายการบันทึกข้อมูลการลงทะเบียนของนักศึกษา

พจนานุกรมข้อมูลใบระเบียนการนำข้อมูลเข้าการลงทะเบียนของนักศึกษา

แสดงการป้อนข้อมูลตามการจัดเรียงที่ไม่ถูกต้อง

แสดงการป้อนข้อมูลตามการจัดเรียงที่ถูกต้อง

การออกแบบหน้าจอรับข้อมูล การออกแบบหน้าจอรับข้อมูลทั้งหมดมีจุดมุ่งหมาย 2 อย่าง คือ เพื่อนำเสนอข้อมูล และช่วยในการปฏิบัติงานของผู้ใช้ระบบ มีแนวทางในการออกแบบที่ต้องพิจารณาคือ หน้าจอทั้งหมดที่ปรากฏควรดึงดูดใจให้อยากใช้งาน ไม่ควรแน่นเกินไป Back Next

การออกแบบหน้าจอรับข้อมูล แนวทางในการออกแบบหน้าจอรับข้อมูลมีแนวทาง ดังนี้ Back เมื่อเข้าไปที่หน้าจอรับข้อมูล Cursor ต้องอยู่ที่ตำแหน่งแรกของข้อมูลรับตามเนื้อหาของหน้าจอนั้น ตำแหน่งนั้นควรอยู่มุมบนซ้ายมือ หลังจากผู้ใช้ใส่ข้อมูลแล้ว Cursor ควรเลื่อนไปที่ช่องรับข้อมูลถัดไปเสมอ คือ ด้านล่างหรือด้านข้างถัดไปเพื่อให้การป้อนข้อมูลเป็นธรรมชาติจากบนซ้ายไปขวา แล้วจึงลงมาบรรทัดใหม่ 2. ทุกช่องรับข้อมูลต้องมีคำอธิบาย โดยแสดงกำกับที่ช่องนั้น ซึ่งจะต้องระบุให้ชัดเจนและอยู่ในตำแหน่งที่ถูกต้องและควรมีรูปแบบเดียวกันเพื่อให้ผู้ใช้ไม่สับสนในการทำงาน Next

การออกแบบหน้าจอรับข้อมูล 3. ถ้าช่องรับข้อมูลนั้นมีรูปแบบเฉพาะให้แสดงรูปแบบเฉพาะนั้นเพื่อให้ผู้ใช้ป้อนข้อมูลไม่ผิดพลาด เช่น DD/MM/YYYY ในทุกครั้งที่ป้อนข้อมูลในช่องรับข้อมูลนั้นครบถ้วนให้ผู้ใช้กด “Enter” เพื่อไปยังช่องรับข้อมูลถัดไปหรือในกรณีที่ใส่ข้อมูลเท่าจำนวนของข้อมูลนั้นแล้ว Cursor ควรไปยังช่องรับข้อมูลถัดไปอัตโนมัติเพื่อรับข้อมูลถัดไป เพื่ออำนวยความสะดวกต่อผู้ใช้ Back Next

การออกแบบหน้าจอรับข้อมูล กรณีข้อมูลรับเข้าเป็นตัวอักษรพิเศษแล้วควรออกแบบให้สามารถใส่ตัวอักษรพิเศษอัตโนมัติโดยผู้ใช้ไม่ต้องใส่เอง กรณีข้อมูลรับเข้าต้องการแสดงผลการรับเป็นเลข “0” ให้แสดงโดยผู้ใช้ไม่ต้องป้อนเอง กรณีที่ข้อมูลรับเข้าเป็นจำนวนเลขที่นำไปคำนวณค่าควรมี “,” คั่นหลักพันหรือจุดทศนิยมขึ้นอัตโนมัติ 8. กรณีช่องรับข้อมูลนั้นมีค่าที่สามารถกำหนด (Default) ได้ ระบบนั้นควรแสดงค่าที่กำหนดนั้น (Default) ที่ช่องนั้น Back Next

การออกแบบหน้าจอรับข้อมูล สำหรับข้อมูลรับที่เป็นรหัสที่ต้องมีการตรวจสอบก่อนบันทึก คือ ค่านั้นมีความสัมพันธ์กับค่าอื่นที่บันทึกไว้เดิมแล้ว เมื่อมีการป้อนรหัสนั้นต้องรับค่านั้นไปตรวจสอบที่แฟ้มข้อมูลที่อ้างถึง เพื่อตรวจสอบว่าเป็นรหัสเดิมหรือไม่ ควรมีปุ่มคำสั่งต่าง ๆ ตามความเหมาะสมของการใช้งานหน้าจอนั้น 11. หลังจากป้อนข้อมูลในหน้าจอนั้น ๆ สมบูรณ์แล้วและได้รับการตรวจสอบแล้วควรมีการใช้ผู้ใช้ได้ตรวจสอบและยืนยันหรือยกเลิกก่อนบันทึกข้อมูลเข้าเครื่อง Back Next

การออกแบบหน้าจอรับข้อมูล 12. ควรเตรียมปุ่มรับคำสั่ง เพื่อเคลื่อนย้าย Cursor ไปในฟิลด์ ต่าง ๆ ในหน้าจอเพื่อให้ผู้ใช้ได้แก้ไขก่อนจะบันทึกเข้าเครื่อง เช่น ปุ่ม TAB เป็นต้น 13. ถ้าผู้ใช้ Data Capture เพื่อป้อนข้อมูล ในการออกแบบหน้าจอ Data Entry นั้นควรให้สอดคล้องกับ Data Capture นั้น Back Next

การออกแบบหน้าจอรับข้อมูล Back Next

หน้าจอดาต้าเอนทรี (Data Entry Screen) Back Next

การออกแบบหน้าจอควบคุมการปฏิบัติงาน (Process Control Screen Design) หน้าจอที่ออกแบบเพื่อควบคุมการปฏิบัติงาน เรียกว่า หน้าจอควบคุมการปฏิบัติงาน (Process Control Screen) หรือหน้าจอไดอะล็อก (Dialogue Screen) ซึ่งต้องออกแบบให้ตอบสนองต่อผู้ใช้ระบบได้ทันที การออกแบบนี้ใช้ตอบสนองกับระบบสารสนเทศที่มีการประมวลผลแบบออนไลน์ (Online Process) Back Next

การออกแบบเมนู (Menu) หรือ พรอมท์ (Prompt) Back ตัวอย่าง 1 ตัวอย่าง 2 Next ตัวอย่าง 1 ตัวอย่าง 2

เมนูแบบง่ายของระบบการประมวลผลแบบออนไลน์ (Online Processing) ของระบบ Project Tracking Back Next

Back Next

หน้าจอพรอมท์ (Prompt Screens) Back Next N

หน้าจอพรอมท์ (Prompt Screens) Back Next

กราฟิกที่ใช้ติดต่อกับผู้ใช้ (GUI) Back คลิกดูตัวอย่างเทคนิค GUI ทั้ง 8 แบบ Next

ตัวอย่างการใช้ GUI ที่ใช้แทนเมนูหลักของระบบการให้เกรด น.ศ. Back Next Back

เมนูพูลดาวน์ (Pull-Down Menu) Back Next

หน้าต่างป๊อบอัฟ (Pop-up Window) Back Next

แสดงเทคนิคทาง GUI 8 แบบในการนำข้อมูลเข้าหรือเลือกคำสั่ง Radio Button Back Next

การออกแบบหน้าจอช่วยการทำงาน (Help Screen Design) Back Next

เมนูช่วยผู้ใช้งาน Back Next

Back Next

Back Next

Design Example Best Mobile UI UX Design Best Free Mobile App UI PSD Design Best Responsive Web Design Best web design Top-class website templates Back Next

การควบคุมการนำข้อมูลเข้า (Input Control) การควบคุมการนำข้อมูลเข้า คือ ตัววัดความสำเร็จของข้อมูลที่ใส่เข้าระบบว่ามีความถูกต้องสมบูรณ์ของข้อมูล ในกรณีนำข้อมูลเข้าแบบช่วงเวลา (Batch Input) นั้น สามารถทำได้โดยการนำเอกสารที่เป็นแหล่งข้อมูล (Source Document) มาตรวจสอบก่อนนำข้อมูลเข้าระบบ ในกรณีการนำข้อมูลเข้าแบบออนไลน์ (Online) นั้น สามารถดักข้อมูลต่าง ๆ ได้โดยการตรวจสอบข้อมูลก่อนนำเข้า Back Next

การออกแบบการการนำข้อมูลเข้าอัตโนมัติ (Automated Design Tools) ปัจจุบันนี้จะมีโปรแกรมประยุกต์หลายแบบที่ช่วยในการผลิตการนำข้อมูลเข้าทั้งส่วนของการสร้างหน้าจอหรือแบบฟอร์มอัตโนมัติ นั่นคือ DBMS 4GL และ CASE ซึ่งจะช่วยให้การออกแบบการนำข้อมูลเข้าเป็นไปได้อย่างสะดวก รวดเร็ว ถูกต้อง และสวยงาม Back Next

Wireframe https://wireframe.cc/

Example : Design specification for the design of forms and reports (Source : Microsoft Corporation)

Example : Design specification for the design of forms and reports (Source : Microsoft Corporation) Back Next

Example : Design specification for the design of forms and reports (Source : Microsoft Corporation) Back Next

สรุป ในบทนี้ได้เรียนรู้ในการออกแบบการนำข้อมูลเข้า ซึ่งมีเทคโนโลยีกว้างขวางมากขึ้นในการนำสื่อการนำข้อมูลเข้ามาใช้ได้มากขึ้น ซึ่งจะเป็นปัจจัยที่สำคัญในการพัฒนาให้การนำข้อมูลเข้านั้นมีประสิทธิภาพ นั่นคือ ทำให้เป็นการลดปริมาณการนำข้อมูลเข้าและลดความผิดพลาดของข้อมูลที่เข้าเครื่อง Back Next