ไม่เบียดเบียนตนเอง ไม่เบียดเบียนผู้อื่น ไม่เบียดเบียนสิ่งแวดล้อม

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Chapter 3 Data Representation (การแทนข้อมูล)
Advertisements

ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชา การสอนภาษาอังกฤษเพื่อ วิชาการและงานอาชีพ
ศูนย์เรียนรู้ชุมชนเศรษฐกิจ พอเพียงบ้านซ่อง อ.พนมสารคาม จ.ฉะเชิงเทรา
สาระที่ ๒ การเขียน.
การบริหารจัดการโครงการ และการเบิกจ่ายงบประมาณ
ศึกษาข้อมูลท้องถิ่นบ้านสนาม
ยินดีต้อนรับ คณะกรรมการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน “สำนักส่งเสริมวิชาการและงานทะเบียน” วันอังคารที่ 23 สิงหาคม พ.ศ
Application of Electron Paramagnetic Resonance (EPR)
Lubna Shamshad (Ph.D Student) Supervisor Dr.GulRooh
Q n° R n°.
อาคารสำนักงานเขต พื้นที่การศึกษา (สพป./สพม.)
Chapter 3 Design of Discrete-Time control systems Frequency Response
ยินดีต้อนรับ นสต. ภ.๙.
การส่งเสริมจริยธรรมและคุณธรรม เพื่อการป้องกันการทุจริต
พอช.องค์การมหาชนของชุมชนไทย
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
หน่วยที่ 2 การประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
หลักสูตรการศึกษานอกระบบ ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
Multiple Input Multiple Output (MIMO)
บทที่ 7 TAS 17 (ปรับปรุง 2558): สัญญาเช่า (Leases)
หลักการสร้างมาตรวัดทางจิตวิทยา
โครงการส่งเสริมการพัฒนาคุณภาพงาน คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
แผนการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
แนวการตรวจสอบภายใน การตรวจสอบรถราชการ
ทะเบียนราษฎร.
นายธนวิทย์ โพธิ์พฤกษ์ เลขที่ 8 นายอนุสรณ์ ขำหลง เลขที่ 29
เรื่อง การบริหารการศึกษาตาม พ.ร.บ ระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ
เอกสารประกอบการบรรยายครั้ง ๒ วิชาซื้อขาย - เช่าทรัพย์ - เช่าซื้อ
ระเบียบกระทรวงมหาดไทย
บทที่ 12 การวิเคราะห์สหสัมพันธ์และการถดถอย
DATA STRUCTURES AND ALGORITHMS
ขั้นตอนการจัดตั้งกลุ่มส่งเสริมอาชีพ จังหวัดนครราชสีมา ปี ๒๕๕๘/๕๙
หลักการจัดกิจกรรมนันทนาการ
การประชุมผู้บริหารระดับสูงกระทรวงวัฒนธรรม ครั้งที่ ๔/๒๕๖๐
การเบิกจ่ายเงินเกี่ยวกับค่าใช้จ่าย ในการบริหารงานของส่วนราชการ
การแก้ไขปัญหา สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยนคลองจั่น จำกัด
ขั้นตอนของกิจกรรม : ปฏิบัติเป็นประจำ เพื่อให้เกิดการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง
ตอนที่ 2.๒ บทบาทหน้าที่ของเจ้าหน้าที่ส่งเสริมการเกษตรระดับอำเภอ
บทที่ 4 การกระจาย อำนาจด้านการคลัง
งานเงินสมทบและการตรวจสอบ
ยินดีต้อนรับเข้าสู่บทเรียนคอมพิวเตอร์ วัยรุ่นไทยใส่ใจวัฒนธรรม เรื่อง
การพัฒนาระบบบริหารจัดการกำลังคนด้านสุขภาพ “การพัฒนาบุคลากร”
ค่าใช้จ่ายต่างๆ ในโครงการฯ
วันเสาร์ที่ 2 กรกฎาคม 2559 วิทยาลัยเทคโนโลยีอักษรพัทยา
วิชาสังคมศึกษา ม.3 สาระที่ 1 ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม.
มหาวิยาลัยราชภัฏนครราชสีมา
โครงการสนับสนุนสินเชื่อเกษตรกรชาวสวนยาง รายย่อยเพื่อประกอบอาชีพเสริม
ความหมายของหนี้สาธารณะ
การจัดการชั้นเรียน.
การบริหารการเงิน ในสถานศึกษา
องค์ประกอบและผลกระทบของธุรกิจไมซ์
โคลง ร่าย และ โดยครูธาริตา นพสุวรรณ
Matrix 1.Thamonaporn intasuwan no.7 2.Wannisa chawlaw no.13 3.Sunita taoklang no.17 4.Aungkhana mueagjinda no.20.
สมาชิกโต๊ะ 1 นายสุรวินทร์ รีเรียง นายภาณุวิชญ์ อนุศรี
นำเสนอ วัดเกาะชัน ด.ช.ปกรณ์ ร้อยจันทร์ ม.2/7 เลขที่ 19
รศ.ดร.อนันต์ จันทรโอภากร
การเขียนวิจารณ์วรรณกรรม ๒
การยืมเงิน จากแหล่งเงินงบประมาณรายได้
วิชา หลักการตลาด บทที่ 7 การออกแบบกลยุทธ์ราคา
ผังมโนทัศน์สาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑
สาระสำคัญพ.ร.บ.การทวงถามหนี้ พ.ศ.๒๕๕๘ สาระสำคัญพ.ร.บ.การทวงถามหนี้ พ.ศ.๒๕๕๘.
การบัญชีตามความรับผิดชอบและ การประเมินผลการปฏิบัติงาน
ตำบลหนองพลับ ประวัติความเป็นมา
แบบทดสอบ เรื่อง ความน่าจะเป็น.
การปฏิรูประบบศาลยุติธรรม หลังรัฐประหาร 2557
ธาตุ สารประกอบ และปฏิกิริยาเคมี
ข้อกำหนด/มาตรฐาน ด้านสุขาภิบาลอาหาร
การบริหารหลักสูตร ความหมาย : การดำเนินงานที่เกี่ยวข้องกับการทำหลักสูตร และเอกสารประกอบหลักสูตร ไปสู่การปฏิบัติในสถานการณ์จริงหรือกิจกรรมการเรียนการสอนให้เป็นไปตามเป้าหมายที่กำหนดไว้ในหลักสูตรโดยอาศัยการสนับสนุนและร่วมมือจากบุคคลที่เกี่ยวข้องกับการใช้หลักส
PHYSICS by P’Tum LINE
การพิจารณาสัญชาติของบุคคล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ไม่เบียดเบียนตนเอง ไม่เบียดเบียนผู้อื่น ไม่เบียดเบียนสิ่งแวดล้อม “สัมมาชีพชุมชน” ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 ไม่เบียดเบียนตนเอง ไม่เบียดเบียนผู้อื่น ไม่เบียดเบียนสิ่งแวดล้อม คำนึงถึง ความเป็นธรรมทางสังคม

นิยามศัพท์ที่สำคัญ... สัมมาชีพ หมายถึง อาชีพที่ไม่เบียดเบียนตนเอง ไม่เบียดเบียนผู้อื่น ไม่เบียดเบียนสิ่งแวดล้อม และมีรายได้มากกว่ารายจ่าย เป็นความพยายามที่จะปรับจากการ “ทำมาหากิน”เป็น “ทำมาค้าขาย” โดยไม่ได้เอากำไรสูงสุดเป็นตัวตั้ง หรือเป็นเป้าหมายสุดท้าย และต้องคำนึงถึงความเป็นธรรมทางสังคม ปราชญ์ชุมชน หมายถึง ผู้ที่ประกอบสัมมาชีพ จนมีความรู้ความชำนาญในการประกอบอาชีพ หรือมีความเชี่ยวชาญในอาชีพนั้นๆ ประสบความสำเร็จและมีความมั่นคงในอาชีพเป็นที่ยอมรับของคนในชุมชน พร้อมมีจิตอาสาที่จะถ่ายทอดและขยายผลไปยังบุคคลอื่นๆ ในชุมชน

นิยามศัพท์ที่สำคัญ... วิทยากรสัมมาชีพชุมชน หมายถึง ปราชญ์ชุมชนที่ผ่านการอบรมตามหลักสูตร “วิทยากรผู้นำสัมมาชีพ” จากศูนย์ศึกษาและพัฒนาชุมชน ทั้ง 11 แห่ง ทีมวิทยากรสัมมาชีพชุมชนระดับหมู่บ้าน หมายถึง ทีมปราชญ์ชุมชนของหมู่บ้าน ๆ ละ 5 คน ประกอบด้วย 1) วิทยากรผู้นำสัมมาชีพ 1 คน และ 2) ปราชญ์ชุมชนที่เข้าร่วมเป็นทีมเพิ่มเติมอีกหมู่บ้านละ 4 คน

นิยามศัพท์ที่สำคัญ... ผู้นำสัมมาชีพชุมชนระดับตำบล หมายถึง วิทยากรสัมมาชีพชุมชนที่ผ่านการพัฒนาตามระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน (มชช.) ตำบลละ 1-2 คน ครัวเรือนเป้าหมายที่ต้องการฝึกอาชีพ หมายถึง ครัวเรือนในหมู่บ้านตามยุทธศาสตร์ที่ 1 (23,589 หมู่บ้าน) จำนวนหมู่บ้านละ 20 ครัวเรือน ที่แสดงความประสงค์ต้องการเข้ารับ การฝึกอาชีพตามแบบสำรวจความต้องการฝึกอาชีพของคนในชุมชน

นิยามศัพท์ที่สำคัญ... ครัวเรือนสัมมาชีพชุมชน หมายถึง ครัวเรือนในหมู่บ้านตามยุทธศาสตร์ที่ 1 (23,589 หมู่บ้าน) จำนวนหมู่บ้านละ 20 ครัวเรือนที่ผ่านการอบรมส่งเสริมการสร้างสัมมาชีพชุมชนในระดับหมู่บ้าน จำนวน 5 วัน และหมายความรวมถึงครัวเรือนสัมมาชีพชุมชนเพิ่มเติมอีกอย่างน้อย 10 ครัวเรือน ที่ขยายผลตามโครงการพัฒนาหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบ ครัวเรือนสัมมาชีพชุมชนตัวอย่าง หมายถึง ครัวเรือนสัมมาชีพชุมชนที่ผ่านการคัดเลือกตามเกณฑ์ที่กำหนดในระดับจังหวัด หรือระดับภาค

นิยามศัพท์ที่สำคัญ... กลุ่มอาชีพ หมายถึง กลุ่มที่จัดตั้งขึ้นใหม่จากการรวมตัวของผู้แทนครัวเรือนในหมู่บ้านตามยุทธศาสตร์ที่ 1 (23,589 หมู่บ้าน) ตั้งแต่ 5 ครัวเรือนขึ้นไป ซึ่งผ่านการส่งเสริมการสร้างสัมมาชีพชุมชนในระดับหมู่บ้าน จำนวน 5 วันที่มีการประกอบอาชีพเดียวกันหรือประเภทอาชีพเดียวกันมาร่วมกันดำเนินการ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อช่วยเหลือซึ่งกันและกันในการประกอบอาชีพ

นิยามศัพท์ที่สำคัญ... ทีมสนับสนุนการขับเคลื่อนสัมมาชีพชุมชน หมายถึง กลุ่มองค์กรเครือข่ายพัฒนาชุมชน 4 องค์กร ได้แก่ 1) คณะกรรมการบริหารสำนักงานกลางศูนย์ประสานงานองค์การชุมชนหรือ ศอช.จ/ศอช.อ. /ศอช.ต. 2) สมาคมผู้นำสตรีพัฒนาชุมชนไทยหรือกพสจ./กพสอ./กพสต. 3) สมาคมผู้นำอาสาพัฒนาชุมชนไทยหรือคณะกรรมการชมรมอาสาพัฒนาชุมชน ระดับจังหวัด/อำเภอ 4) สมาคมกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิตหรือคณะกรรมการเครือข่าย กลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิตระดับจังหวัด/อำเภอหรือผู้แทน คณะกรรมการกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต

เป้าหมาย>> ประชาชนได้รับการพัฒนาอาชีพและมีรายได้ กระบวนการสร้างสัมมาชีพชุมชน ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 เป้าหมาย>> ประชาชนได้รับการพัฒนาอาชีพและมีรายได้ ร้อยละ 85 ของ แผนชุมชน มีการนำไปใช้ในการพัฒนาอาชีพ ประชาชนที่ได้รับ การส่งเสริมอาชีพ 471,780 ราย/ครัวเรือน กลุ่มอาชีพ ที่ได้รับการพัฒนา 2,360 กลุ่ม หน่วยดำเนินการ โครงการหลัก โครงการ ยกระดับต่อยอด โครงการสนับสนุน สพช. (ศูนย์ศึกษาฯ) ประชุมเชิงปฏิบัติการ ทีมสนับสนุนการขับเคลื่อนสัมมาชีพชุมชนระดับประเทศ ประชุมเชิงปฏิบัติการ ทีมสนับสนุนการขับเคลื่อนสัมมาชีพชุมชนระดับจังหวัด ประชุมเชิงปฏิบัติการ ทีมสนับสนุนการขับเคลื่อนสัมมาชีพชุมชนระดับอำเภอ ส่วนกลาง พัฒนาผู้นำสัมมาชีพ 23,589 หมู่บ้าน (คน) ประชุมเชิงปฏิบัติการวิทยากรสัมมาชีพชุมชนระดับจังหวัด 23,589 หมู่บ้าน (คน) เตรียมความพร้อมทีมวิทยากรสัมมาชีพชุมชนระดับหมู่บ้าน 23,589 หมู่บ้านๆ ละ 5 คน ส่งเสริมการสร้างสัมมาชีพชุมชน ในระดับหมู่บ้าน 23,589 หมู่บ้านๆละ 20 คน สนับสนุนการจัดตั้งและ พัฒนากลุ่มอาชีพ จำนวน 2,360 กลุ่ม ประชุมเชิงปฏิบัติการ สร้างเครือข่าย นักจัดการความรู้ชุมชน ไตรมาส 1 จำนวน 76 จังหวัดๆ ละ 2 คน จำนวน 3 วัน ส่วนกลาง ไตรมาส 1-2 จำนวนรุ่นละ 4 วัน ไตรมาส 1,3 จำนวน 4 รุ่นละ 3 วัน ประชุมเชิงปฏิบัติการ องค์กรสตรีระดับภาค ส่งเสริมครัวเรือนสัมมาชีพชุมชน ไตรมาส 1,3 จำนวน 4 ภาคๆ ละ 2 วัน ระดับจังหวัด ระดับจังหวัด จังหวัด พัฒนา ผู้นำสัมมาชีพชุมชนระดับตำบล ไตรมาส 2,4 จำนวน 6,095 คน เฉลี่ยตำบลๆ ละ 1 คน ไตรมาส 1-2 จำนวน 1 วัน ไตรมาส 1,3 จำนวน 1 วัน ระดับหมู่บ้าน พัฒนาผู้นำชุมชนรุ่นใหม่ สืบสานงานสัมมาชีพชุมชน ไตรมาส 1 จำนวน 76 จังหวัด ๆ ละ 1 รุ่นๆ ละ 3 วัน จำนวน 20 คน/รุ่น ระดับอำเภอ อำเภอ ไตรมาส 1-2 จำนวน 3 วัน บูรณาการ แผนชุมชนระดับตำบล ไตรมาส 1 จำนวน 6,095 ตำบลๆ ละ 1 วัน ระดับหมู่บ้าน ไตรมาส 1,3 จำนวน 1 วัน อำเภอ สนับสนุนสัมมาชีพ แก่ครัวเรือนยากจน ไตรมาส 2 จำนวน 10,054 ครัวเรือน ไตรมาส 1-2 จำนวน 5 วัน ระดับหมู่บ้าน พัฒนาหมู่บ้าน เศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบ ไตรมาส 3 จำนวน 878 หมู่บ้าน อำเภอ ไตรมาส 3-4 จำนวน 1 วัน

กระบวนการสร้างสัมมาชีพชุมชน : เป้าหมาย >> ครัวเรือนเป้าหมายในหมู่บ้าน ได้รับการพัฒนาอาชีพและ มีรายได้เฉลี่ยเพิ่มขึ้น ร้อยละ 3 โครงการหลัก 5 โครงการ ดังนี้ สนับสนุนการจัดตั้งและพัฒนากลุ่มอาชีพ 2,360 กลุ่ม (กลุ่มละ 1 วัน) 5 4 3 เตรียมความพร้อม ทีมวิทยากรสัมมาชีพชุมชนระดับหมู่บ้าน 23,589 หมู่บ้าน ๆ ละ 5 คน (หมู่บ้านละ 3 วัน) ส่งเสริมการสร้างสัมมาชีพชุมชนในระดับหมู่บ้าน 23,589 หมู่บ้าน ๆ ละ 20 คน (หมู่บ้านละ 5 วัน) 2 1 ประชุมเชิงปฏิบัติการ วิทยากรสัมมาชีพระดับจังหวัด 23,589 คน ( จังหวัดละ 1 วัน) พัฒนาผู้นำสัมมาชีพ เป็นวิทยากรสัมมาชีพชุมชน 23,589 คน (รุ่นละ 4 วัน)

ดำเนินการรุ่นละ 4 วัน กลุ่มเป้าหมาย ระยะเวลาดำเนินการ 1. โครงการพัฒนาผู้นำสัมมาชีพ... กลุ่มเป้าหมาย วัตถุประสงค์ ระยะเวลาดำเนินการ ปราชญ์ชุมชน มีทักษะ การถ่ายทอดองค์ความรู้และสามารถกลับไปสอน อาชีพได้ จำนวน 23,589 หมู่บ้าน ๆ ละ 1 คน รวมทั้งสิ้น 23,589 คน หน่วยดำเนินการ ไตรมาส 1-2 (ต.ค.59-มี.ค.60) ศูนย์ศึกษาและพัฒนาชุมชน 11 แห่ง สถาบันการพัฒนาชุมชน ดำเนินการรุ่นละ 4 วัน วิทยากรสัมมาชีพชุมชน จำนวน 23,589 คน/หมู่บ้าน ผลผลิต

เงื่อนไข : จังหวัด : กรณีเปลี่ยนแปลง : 1. โครงการพัฒนาผู้นำสัมมาชีพ... กรณีเปลี่ยนแปลง : ดำเนินการปรับปรุงแก้ไขฐานข้อมูลและแจ้งให้กรมฯ ทราบตามแบบทะเบียนข้อมูลทีมวิทยากรสัมมาชีพชุมชนระดับหมู่บ้าน จังหวัด : ตรวจสอบปราชญ์ชุมชนเป้าหมายที่จะเข้ารับการอบรมตามหลักสูตร “วิทยากรผู้นำสัมมาชีพ” เงื่อนไข : เป็นบุคคลเดียว กับฐานข้อมูล ตามแบบรายงานปราชญ์ชุมชนฯ

สำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัด ดำเนินการจังหวัดละ 1 วัน 2. โครงการประชุมเชิงปฏิบัติการ วิทยากรสัมมาชีพระดับจังหวัด... วัตถุประสงค์ กลุ่มเป้าหมาย สร้างทีมปราชญ์ชุมชนตามประเภทอาชีพและวางแผนปฏิบัติการ ฝึกอาชีพให้กับประชาชน ในหมู่บ้าน จำนวน 23,589 หมู่บ้าน ๆ ละ 1 คน รวมทั้งสิ้น 23,589 คน ระยะเวลาดำเนินการ หน่วยดำเนินการ ไตรมาส 1-2 (ต.ค.59-มี.ค.60) สำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัด ดำเนินการจังหวัดละ 1 วัน วิทยากรสัมมาชีพชุมชน จำนวน 23,589 คน/หมู่บ้าน ผลผลิต

เงื่อนไข : จังหวัด : จัดทำฐานข้อมูล : 2. โครงการประชุมเชิงปฏิบัติการ วิทยากรสัมมาชีพระดับจังหวัด... เงื่อนไข : ดำเนินการเมื่อกลุ่มเป้าหมาย ผ่านการฝึกอบรมหลักสูตร “วิทยากรผู้นำสัมมาชีพ”ครบทั้งจังหวัด หรือครบ ทั้งอำเภอ (กรณีมีจำนวนกลุ่มเป้าหมายปริมาณมาก) โดยสามารถจัดประชุม เป็นรุ่นได้ จัดทำฐานข้อมูล : วิทยากรสัมมาชีพชุมชน ตามแบบฟอร์ม ที่กรมฯ กำหนด จังหวัด : ดำเนินการประชุมฯ ตามกรอบการเรียนรู้ ในเล่มแนวทางการสร้างสัมมาชีพชุมชน หน้า 6-8

ดำเนินการหมู่บ้านละ 3 วัน สำนักงานพัฒนาชุมชนอำเภอ 3. โครงการเตรียมความพร้อม ทีมวิทยากรสัมมาชีพชุมชนระดับหมู่บ้าน วัตถุประสงค์ กลุ่มเป้าหมาย สร้างทีมวิทยากรสัมมาชีพชุมชนระดับหมู่บ้านให้มีความพร้อม สามารถจัดการฝึกอบรมอาชีพ ให้กับประชาชนในหมู่บ้านได้อย่างมีประสิทธิภาพ จำนวน 23,589 หมู่บ้าน ๆ ละ 5 คน รวมทั้งสิ้น 117,945 คน ระยะเวลาดำเนินการ ไตรมาส 1-2 (ต.ค.59-มี.ค.60) หน่วยดำเนินการ ดำเนินการหมู่บ้านละ 3 วัน สำนักงานพัฒนาชุมชนอำเภอ 1. ทีมวิทยากรสัมมาชีพชุมชนระดับหมู่บ้าน จำนวน 117,945 คน (หมู่บ้านละ 5 คน) 2. ครัวเรือนเป้าหมายฯ 20 ครัวเรือนพร้อมฝึกอาชีพ ผลผลิต

3. โครงการเตรียมความพร้อม ทีมวิทยากรสัมมาชีพชุมชนระดับหมู่บ้าน จังหวัด : ดำเนินการเตรียมความพร้อมตามกรอบการเรียนรู้ ในเล่มแนวทางการสร้างสัมมาชีพชุมชน หน้า 10-13 เงื่อนไข : 1) ดำเนินการหลังจากปราชญ์ชุมชนหมู่บ้านละ 1 คน ผ่านการประชุมเชิงปฏิบัติการ วิทยากรสัมมาชีพชุมชนระดับจังหวัดเรียบร้อยแล้ว 2) ดำเนินการ 3 วัน ดังนี้ 3) จัดทำฐานข้อมูลทีมวิทยากรสัมมาชีพชุมชนระดับหมู่บ้านตามแบบฟอร์ม ที่กรมฯ กำหนด วันที่ 1-2 - สร้างความรู้ ความเข้าใจการสร้างสัมมาชีพชุมชน - สร้างทีมวิทยากรสัมมาชีพชุมชนระดับหมู่บ้าน - การวิเคราะห์สถานการณ์ความต้องการอาชีพของของครัวเรือนเป้าหมายที่ต้องการ ฝึกอาชีพ วันที่ 3 - การเตรียมความพร้อมครัวเรือนเป้าหมาย ที่ต้องการฝึกอาชีพ

4. โครงการส่งเสริมการสร้าง สัมมาชีพชุมชนในระดับหมู่บ้าน... กลุ่มเป้าหมาย วัตถุประสงค์ จำนวน 23,589 หมู่บ้าน ๆ ละ 20 คน รวมทั้งสิ้น 471,780 คน ระยะเวลาดำเนินการ ส่งเสริมอาชีพตามแนวทางสัมมาชีพชุมชนแก่ประชาชนกลุ่มเป้าหมาย ไตรมาส 1-2 (ต.ค.59-มี.ค.60) หน่วยดำเนินการ ดำเนินการหมู่บ้านละ 5 วัน สำนักงานพัฒนาชุมชนอำเภอ ครัวเรือนเป้าหมายที่ได้รับ การส่งเสริมอาชีพ 471,780 ครัวเรือน ผลผลิต

4. โครงการส่งเสริมการสร้าง สัมมาชีพชุมชนในระดับหมู่บ้าน... อำเภอ : ดำเนินการส่งเสริมฯ ตามกรอบการเรียนรู้ในเล่มแนวทาง การสร้างสัมมาชีพชุมชน หน้า 15-16 เงื่อนไข : 1) ดำเนินการหลังจากดำเนินโครงการเตรียมความพร้อมทีมวิทยากรสัมมาชีพชุมชน ระดับหมู่บ้านเรียบร้อยแล้ว 2) ดำเนินการ 5 วัน ดังนี้ วันที่ 1-3 - สร้างความรู้ ความเข้าใจในเรื่องอาชีพที่ต้องการเรียนรู้ (ความรู้ทางวิชาการ ประกอบด้วย แนวคิด ทฤษฎี หลักการและการสาธิตอาชีพในเบื้องต้น) วันที่ 4 - ศึกษาดูงาน วันที่ 5 - ฝึกปฏิบัติภายในครัวเรือนเป้าหมายที่ต้องการฝึกอาชีพ

4. โครงการส่งเสริมการสร้าง สัมมาชีพชุมชนในระดับหมู่บ้าน... อำเภอ : ดำเนินการส่งเสริมฯ ตามกรอบการเรียนรู้ในเล่มแนวทาง การสร้างสัมมาชีพชุมชน หน้า 15-16 เงื่อนไข : 3) คัดเลือกครัวเรือนเป้าหมายที่เข้าร่วมฝึกอาชีพ จำนวนหมู่บ้านละ 20 ครัวเรือน (ครัวเรือนละ 1 คน) ให้พิจารณาจาก ทะเบียนครัวเรือนที่มีรายได้ต่ำกว่าเกณฑ์ความจำเป็นพื้นฐาน (จปฐ.) เป็นอันดับแรก แบบสำรวจความต้องการฝึกอาชีพของคนในชุมชนที่สมัครใจและตั้งใจฝึกอาชีพ ฯ (คัดเลือกให้แล้วเสร็จในช่วง 3 วันของโครงการเตรียมความพร้อมฯ) 4) ทั้ง 20 ครัวเรือนต้องมีการจัดเก็บจปฐ.ในปี 2560 5) การวิเคราะห์ประเภทอาชีพเพื่อฝึกอบรมและกำหนดสถานที่ศึกษาดูงาน ต้องดำเนินการให้แล้วเสร็จในช่วง 3 วันของโครงการเตรียมความพร้อมทีมวิทยากรฯ) กรณีเปลี่ยนแปลง : ดำเนินการปรับปรุงแก้ไขฐานข้อมูลและแจ้งให้กรมฯ ทราบตามแบบทะเบียนข้อมูลครัวเรือนสัมมาชีพชุมชน

4. โครงการส่งเสริมการสร้าง สัมมาชีพชุมชนในระดับหมู่บ้าน... เงื่อนไข : 6) ทีมวิทยากรสัมมาชีพชุมชนระดับหมู่บ้านต้องรวบรวมข้อมูล (ตามข้อ 5) และประสาน สำนักงานพัฒนาชุมชนอำเภอจัดซื้อวัสดุฝึกอาชีพ เพื่อดำเนินการสนับสนุน การฝึกอาชีพ ให้ครัวเรือนเป้าหมายนำไปฝึกอาชีพได้จริง ก่อนเริ่มดำเนินการฝึกอบรม 7) กรณีวิทยากรสัมมาชีพชุมชนในหมู่บ้านไม่มีความรู้ในเรื่องที่ครัวเรือนเป้าหมาย ต้องการฝึกอาชีพ ให้พิจารณาคัดเลือกจาก 8) การศึกษาดูงานให้เน้นหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบ หรือศูนย์เรียนรู้ชุมชน หรือ บ้านปราชญ์ชุมชนในอำเภอ 9) กรณีงบประมาณไม่เพียงพอหรือต้องการรวมทำเป็นลักษณะกลุ่ม ก็ให้ดำเนินการฝึกปฏิบัติในรูปของกลุ่ม 10) ทีมวิทยากรสัมมาชีพชุมชนระดับหมู่บ้าน ต้องติดตามเยี่ยมเยียน และ รายงานผลการประกอบอาชีพตามแบบฟอร์มการติดตามครัวเรือนสัมมาชีพชุมชน ทีมวิทยากรสัมมาชีพชุมชนระดับหมู่บ้าน ประสานขอรับการสนับสนุนจากวิทยากรสัมมาชีพชุมชนที่จังหวัดได้จัดกลุ่ม ประเภทอาชีพไว้

สำนักงานพัฒนาชุมชนอำเภอ ดำเนินการกลุ่มละ 1 วัน 5. โครงการสนับสนุน การจัดตั้งและพัฒนากลุ่มอาชีพ... กลุ่มเป้าหมาย วัตถุประสงค์ จัดตั้งกลุ่มอาชีพใหม่2,360 กลุ่ม (ร้อยละ 10 ของจำนวนหมู่บ้านเป้าหมาย ระยะเวลาดำเนินการ ส่งเสริมและสนับสนุน ให้ครัวเรือนสัมมาชีพ ที่ผ่านการพัฒนามี การรวมกลุ่มจัดตั้งและพัฒนาเป็นกลุ่มอาชีพ ที่ก่อให้เกิดรายได้ หน่วยดำเนินการ ไตรมาส 3-4 (เม.ย.-ก.ย.60) สำนักงานพัฒนาชุมชนอำเภอ ดำเนินการกลุ่มละ 1 วัน กลุ่มอาชีพที่ได้รับการพัฒนา 2,360 กลุ่ม ผลผลิต

5. โครงการสนับสนุน การจัดตั้งและพัฒนากลุ่มอาชีพ... อำเภอ : ดำเนินการส่งเสริมฯ ตามกรอบการเรียนรู้ในเล่มแนวทางสร้างสัมมาชีพชุมชน หน้า 19-20 เงื่อนไข : 1) ดำเนินการหลังจากดำเนินหลังจากโครงการส่งเสริมการสร้างสัมมาชีพชุมชน ในระดับหมู่บ้าน เรียบร้อยแล้ว 2) การจัดตั้งและพัฒนากลุ่มอาชีพให้พิจารณาคัดเลือกจากหมู่บ้านยุทธศาสตร์ที่ 1 โดยมีหลักเกณฑ์การพิจารณาคัดเลือกที่สำคัญ ดังนี้ 3) จัดทำฐานข้อมูลกลุ่มอาชีพตามแนวทางสัมมาชีพชุมชนตามแบบฟอร์มที่กรมฯ กำหนด 4) จดทะเบียนกลุ่มอาชีพกับสำนักงานพัฒนาชุมชนอำเภอ หรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง มีครัวเรือนในหมู่บ้านตามยุทธศาสตร์ที่ 1 ตั้งแต่ 5 ครัวเรือนขึ้นไป ซึ่งผ่านการส่งเสริมการสร้าง สัมมาชีพชุมชนใน ระดับหมู่บ้าน จำนวน 5 วัน ที่มีการประกอบอาชีพเดียวกันหรือประเภทอาชีพ เดียวกันมาร่วมกันดำเนินการ อาชีพตามข้อ 1) มีโอกาสที่จะสำเร็จได้สามารถสร้างรายได้จริง และมีความเชื่อมโยงกับการตลาด ตามข้อมูลและแผนของจังหวัด เป็นกลุ่มอาชีพที่จัดตั้งขึ้นใหม่ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อช่วยเหลือซึ่งกันและกันในการประกอบอาชีพ และสร้างรายได้

กระบวนการสร้างสัมมาชีพชุมชน : โครงการสนับสนุน 3 โครงการ ดังนี้ 1 2 3 ประชุม เชิงปฏิบัติการ ทีมสนับสนุน การขับเคลื่อน สัมมาชีพชุมชนระดับประเทศ ประชุม เชิงปฏิบัติการ ทีมสนับสนุน การขับเคลื่อนสัมมาชีพชุมชนระดับจังหวัด ประชุม เชิงปฏิบัติการ ทีมสนับสนุน การขับเคลื่อนสัมมาชีพชุมชนระดับอำเภอ

วัตถุประสงค์ ดำเนินการประชุม 4 ครั้งๆละ 3 วัน กลุ่มเป้าหมาย 1. โครงการประชุมเชิงปฏิบัติการทีมสนับสนุน การขับเคลื่อนสัมมาชีพชุมชนระดับประเทศ... วัตถุประสงค์ กลุ่มเป้าหมาย สมาพันธ์องค์การ พัฒนาชุมชน 6 องค์กร รวมทั้งสิ้น 100 คน ผู้นำเครือข่ายองค์กรชุมชนระดับประเทศ มีความรู้ ความเข้าใจ และสามารถสนับสนุนการขับเคลื่อนกิจกรรมสัมมาชีพชุมชนได้ ระยะเวลาดำเนินการ ไตรมาส 1-3 (ต.ค.59-มิ.ย.60) หน่วยดำเนินการ ดำเนินการประชุม 4 ครั้งๆละ 3 วัน สำนักเสริมสร้างความเข้มแข็งชุมชน ร้อยละ 85 ของผู้นำเครือข่ายองค์กรชุมชนระดับประเทศสามารถเป็นกลไกสนับสนุนการขับเคลื่อนสัมมาชีพชุมชนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในระดับประเทศได้ ผลผลิต

ไตรมาส 1,3 (ต.ค. -ธ.ค. 59 และเม.ย.-มิ.ย.60) สำนักงาน พัฒนาชุมชนจังหวัด 2. โครงการประชุมเชิงปฏิบัติการทีมสนับสนุน การขับเคลื่อนสัมมาชีพชุมชนระดับจังหวัด... วัตถุประสงค์ กลุ่มเป้าหมาย 4 องค์กร 1) ศอช.จ. 2) กพสจ. 3) ชมรมอาสาพัฒนาชุมชน ระดับจังหวัด 4) เครือข่ายกลุ่มออมทรัพย์ ฯ ระดับจังหวัด รวมทั้งสิ้น 50 คน ระยะเวลาดำเนินการ องค์กรที่เป็นทีมสนับสนุน การขับเคลื่อนสัมมาชีพชุมชนระดับจังหวัด สามารถเป็นกลไกสนับสนุนการขับเคลื่อนสัมมาชีพชุมชน ระดับจังหวัดได้ ไตรมาส 1,3 (ต.ค. -ธ.ค. 59 และเม.ย.-มิ.ย.60) หน่วยดำเนินการ ดำเนินการ ประชุมฯ ไตรมาส 1 จำนวน 1 ครั้งๆ ละ 1 วัน ติดตามฯ ไตรมาส 3 สำนักงาน พัฒนาชุมชนจังหวัด ร้อยละ 85 ของทีมสนับสนุนการขับเคลื่อนสัมมาชีพชุมชนระดับจังหวัดสามารถเป็นกลไกขับเคลื่อนสัมมาชีพชุมชนระดับจังหวัด ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงได้ ผลผลิต

2. โครงการประชุมเชิงปฏิบัติการทีมสนับสนุน การขับเคลื่อนสัมมาชีพชุมชนระดับจังหวัด... เงื่อนไข : ดำเนินการหลังจากส่วนกลางจัดประชุมเชิงปฏิบัติการทีมสนับสนุนการขับเคลื่อนสัมมาชีพชุมชนระดับประเทศเรียบร้อยแล้ว จัดประชุมคณะกรรมการองค์กรในทุกระดับ โดยใช้การประชุมปกติขององค์กรที่ต้องมีการประชุมกันอยู่แล้ว กำหนดแผนปฏิบัติการส่งเสริม สนับสนุนการขับเคลื่อนการสร้างสัมมาชีพชุมชนร่วมกัน กำหนดวิธีการติดตาม เพื่อเยี่ยมเยียน ส่งเสริม สนับสนุนการขับเคลื่อนการสร้างสัมมาชีพชุมชนในพื้นที่ร่วมกัน จังหวัด : ดำเนินการประชุมตามรายละเอียดในเล่มแนวทางฯ (เล่มรังผึ้ง) ร่วมกับเล่มแนวทางการสร้างสัมมาชีพชุมชน หน้า 23-24

ไตรมาส 1,3 (ต.ค. -ธ.ค. 59 และเม.ย.-มิ.ย.60) สำนักงาน พัฒนาชุมชนอำเภอ 3. โครงการประชุมเชิงปฏิบัติการทีมสนับสนุน การขับเคลื่อนสัมมาชีพชุมชนระดับอำเภอ... วัตถุประสงค์ กลุ่มเป้าหมาย องค์กรที่เป็น ทีมสนับสนุน การขับเคลื่อนสัมมาชีพชุมชนระดับอำเภอ สามารถเป็นกลไกสนับสนุนการขับเคลื่อนสัมมาชีพชุมชน ระดับอำเภอได้ 4 องค์กร 1) ศอช.อ. 2) กพสอ. 3) ชมรมอาสาพัฒนาชุมชน ระดับอำเภอ 4) เครือข่ายกลุ่มออมทรัพย์ ฯ ระดับอำเภอ รวมทั้งสิ้น 50 คน ระยะเวลาดำเนินการ ไตรมาส 1,3 (ต.ค. -ธ.ค. 59 และเม.ย.-มิ.ย.60) หน่วยดำเนินการ ดำเนินการ ประชุมฯ ไตรมาส 1 จำนวน 1 ครั้งๆ ละ 1 วัน ติดตามฯ ไตรมาส 3 สำนักงาน พัฒนาชุมชนอำเภอ ร้อยละ 85 ของทีมสนับสนุนการขับเคลื่อนสัมมาชีพชุมชนระดับอำเภอสามารถเป็นกลไกขับเคลื่อนสัมมาชีพชุมชนระดับอำเภอ ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงได้ ผลผลิต

3. โครงการประชุมเชิงปฏิบัติการทีมสนับสนุน การขับเคลื่อนสัมมาชีพชุมชนระดับอำเภอ... เงื่อนไข : ดำเนินการหลังจากจังหวัดจัดประชุม เชิงปฏิบัติการทีมสนับสนุนการขับเคลื่อนสัมมาชีพชุมชนระดับจังหวัดเรียบร้อยแล้ว จัดประชุมคณะกรรมการองค์กรในทุกระดับ โดยใช้การประชุมปกติขององค์กรที่ต้องมีการประชุมกันอยู่แล้ว กำหนดแผนปฏิบัติการส่งเสริม สนับสนุนการขับเคลื่อนการสร้างสัมมาชีพชุมชนร่วมกัน กำหนดวิธีการติดตาม เพื่อเยี่ยมเยียน ส่งเสริม สนับสนุนการขับเคลื่อนการสร้างสัมมาชีพชุมชนในพื้นที่ร่วมกัน อำเภอ : ดำเนินการประชุมตามรายละเอียดในเล่มแนวทางฯ (เล่มรังผึ้ง) ร่วมกับเล่มแนวทางการสร้างสัมมาชีพชุมชน หน้า 24-26

กระบวนการสร้างสัมมาชีพชุมชน : โครงการยกระดับต่อยอด 7 โครงการ ดังนี้ ส่วนกลาง ภาค จังหวัด อำเภอ 1 2 3 5 ประชุมเชิง ปฏิบัติการ องค์กรสตรี ระดับภาค ส่งเสริม ครัวเรือน สัมมาชีพชุมชน ประชุม เชิงปฏิบัติการ สร้างเครือข่าย นักจัดการความรู้ชุมชน บูรณาการ แผนชุมชน ระดับตำบล พัฒนา ผู้นำสัมมาชีพชุมชน ระดับตำบล 6 พัฒนา หมู่บ้าน เศรษฐกิจพอเพียง ต้นแบบ 4 พัฒนาผู้นำชุมชนรุ่นใหม่ สืบสานงานสัมมาชีพชุมชน 7 สนับสนุนสัมมาชีพ แก่ครัวเรือนยากจน

สำนักเสริมสร้างความเข้มแข็งชุมชน 1. โครงการประชุมเชิงปฏิบัติการ สร้างเครือข่ายนักจัดการความรู้ชุมชน... วัตถุประสงค์ กลุ่มเป้าหมาย สร้างความเข้าใจ และพัฒนาทักษะการเป็น นักจัดการความรู้ชุมชน เพื่อให้นักจัดการความรู้สามารถสร้างเครือข่ายนักจัดการความรู้ชุมชนในระดับชุมชนได้ สร้างเครือข่ายนักจัดการความรู้ระดับจังหวัด และระดับชุมชน ให้สามารถ เป็นทีมเครือข่ายในการพัฒนา และนำความรู้ในการจัดความรู้มาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ซึ่งกันและกัน ระยะเวลาดำเนินการ จำนวน 76 จังหวัดๆ ละ 2 คน รวม 152 คน ประกอบด้วย 1) นักวิชาการพัฒนาชุมชน ของสพจ. จังหวัดๆ ละ 1 คน 2) ผู้นำสัมมาชีพที่ผ่านการ อบรมหรือเตรียมเข้ารับ การอบรมหลักสูตร วิทยากรผู้นำสัมมาชีพ จากกรมฯ จังหวัดละ 1 คน ไตรมาส 1 (ต.ค. -ธ.ค. 59) หน่วยดำเนินการ ดำเนินการ จำนวน 3 วัน สำนักเสริมสร้างความเข้มแข็งชุมชน มีเครือข่ายนักจัดการความรู้ชุมชน 76 จังหวัด ผลผลิต

วัตถุประสงค์ กลุ่มเป้าหมาย ระยะเวลาดำเนินการ 2. โครงการประชุมเชิงปฏิบัติการองค์กรสตรี ระดับภาคส่งเสริมครัวเรือนสัมมาชีพชุมชน... วัตถุประสงค์ กลุ่มเป้าหมาย คณะกรรมการพัฒนาสตรีภาค มีความเข้าใจ และสามารถส่งเสริม องค์กรสตรีใน การสนับสนุน การขับเคลื่อนกิจกรรมพัฒนาสตรีและครัวเรือนสัมมาชีพชุมชน คณะกรรมการพัฒนาสตรีภาค (กพสภ.) 4 ภาค ระยะเวลาดำเนินการ ไตรมาส 1,3 (ต.ค. -ธ.ค. 59 และเม.ย.-มิ.ย.60) หน่วยดำเนินการ จังหวัด : ดำเนินโครงการตามรายละเอียดในเล่มแนวทางฯ (เล่มรังผึ้ง) ร่วมกับเล่มแนวทาง การสร้างสัมมาชีพชุมชน หน้า 37-38 ดำเนินการ ประชุมฯ ไตรมาส 1 จำนวน 4 ภาคๆ ละ 1 ครั้งๆ ละ 2 วัน ติดตามฯ ไตรมาส 3 สำนักงาน พัฒนาชุมชนจังหวัดที่ตั้งภาค (จังหวัดเชียงราย ชลบุรี อุดรธานี และสตูล) 1. จำนวนครัวเรือนสัมมาชีพชุมชนตัวอย่าง ระดับจังหวัด 76 ครัวเรือน (จังหวัดละ 1 ครัวเรือน) 2. จำนวนครัวเรือนสัมมาชีพชุมชนตัวอย่าง ระดับภาค 12 ครัวเรือน (ภาคละ 3 ครัวเรือน) ผลผลิต

3. โครงการพัฒนา ผู้นำสัมมาชีพชุมชนระดับตำบล ... 3. โครงการพัฒนา ผู้นำสัมมาชีพชุมชนระดับตำบล ... วัตถุประสงค์ กลุ่มเป้าหมาย ผู้นำ สัมมาชีพชุมชน จำนวน 6,095 คน ระยะเวลาดำเนินการ ยกระดับผู้นำ สัมมาชีพชุมชน ให้ผ่านการรับรอง ด้วยระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ไตรมาส 2-4 (ม.ค.-ก.ย.60) หน่วยดำเนินการ ดำเนินการ ประชุมฯ ไตรมาส 2 จังหวัดละ 1 วัน ประเมินฯ ไตรมาส 4 สำนักงาน พัฒนาชุมชนจังหวัด ร้อยละ 80 ของผู้นำสัมมาชีพชุมชน ในตำบลเป้าหมาย จำนวน 6,095 คน ผ่านเกณฑ์การประเมินตามระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผลผลิต

3. โครงการพัฒนา ผู้นำสัมมาชีพชุมชนระดับตำบล ... 3. โครงการพัฒนา ผู้นำสัมมาชีพชุมชนระดับตำบล ... เงื่อนไข : สพจ./สพอ.รับสมัครและคัดเลือกผู้นำสัมมาชีพชุมชนที่ผ่านหลักสูตรผู้นำสัมมาชีพ จากกรมฯ จำนวน 6,095 คน เฉลี่ยตำบลละ 1 คน (กรณีที่ได้รับจัดสรรจำนวนเป้าหมายเกินกว่าตำบลที่มีในพื้นที่ยุทธศาสตร์ที่ 1 ให้กระจายจำนวนเป้าหมายไม่เกินตำบลละ 2 คน) จังหวัด : ดำเนินการประชุมตามรายละเอียดในเล่มแนวทางฯ (เล่มรังผึ้ง) ร่วมกับเล่มแนวทางสร้างสัมมาชีพชุมชน หน้า 35-36

4. โครงการพัฒนา ผู้นำชุมชนรุ่นใหม่สืบสานงานสัมมาชีพชุมชน ... 4. โครงการพัฒนา ผู้นำชุมชนรุ่นใหม่สืบสานงานสัมมาชีพชุมชน ... วัตถุประสงค์ กลุ่มเป้าหมาย พัฒนาศักยภาพคน รุ่นใหม่ ในชุมชน ให้สามารถเป็นกลไก ในการบริหารจัดการชุมชนและเป็นผู้นำชุมชนรุ่นใหม่ ที่สืบสานงานสัมมาชีพชุมชน ผู้นำชุมชนรุ่นใหม่สืบสานงานสัมมาชีพชุมชน จำนวน 76 รุ่น ๆ ละ 20 คน รวม 1,520 คน ระยะเวลาดำเนินการ ไตรมาส 1 (ต.ค.-ธ.ค.59) หน่วยดำเนินการ ดำเนินการ จังหวัดละ 1 รุ่นๆ ละ 3 วัน สำนักงาน พัฒนาชุมชนจังหวัด ร้อยละ 80 ของผู้นำชุมชนรุ่นใหม่ที่ได้ผ่านการพัฒนาแล้ว มีความรู้ ความเข้าใจ ในการส่งเสริมสัมมาชีพชุมชน ในหมู่บ้าน/ชุมชน ผลผลิต

4. โครงการพัฒนา ผู้นำชุมชนรุ่นใหม่สืบสานงานสัมมาชีพชุมชน ... 4. โครงการพัฒนา ผู้นำชุมชนรุ่นใหม่สืบสานงานสัมมาชีพชุมชน ... จังหวัด : ดำเนินโครงการตามรายละเอียดในเล่มแนวทางฯ (เล่มรังผึ้ง) ร่วมกับ เล่มแนวทางการสร้างสัมมาชีพชุมชน หน้า 36-37 เงื่อนไข : 1) สพจ. พิจารณาคัดเลือกหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบ ปี 2553-2559 ที่ได้รับ งบประมาณจากกรมการพัฒนาชุมชน และเป็นหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงยุทธศาสตร์ ที่ 1 (23,589 หมู่บ้าน) เป็นบ้านต้นแบบ (บ้านพี่) เพื่อเป็นแหล่งเรียนรู้ จังหวัดละ 1 หมู่บ้าน 2) สพจ. คัดเลือกกลุ่มเป้าหมาย อายุระหว่าง 18-35 ปี (ซึ่งไม่ได้ดำรงตำแหน่งหรือเคยดำรง ตำแหน่งผู้นำที่เป็นทางการ เช่น กำนัน ผู้ใหญ่บ้าน ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้าน สารวัตรกำนัน สมาชิก อบต. เป็นต้น) ซึ่งอยู่ในพื้นที่หมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงยุทธศาสตร์ที่ 1 จำนวน 3-6 หมู่บ้าน รวม 20 คน 3) สพจ. จัดหาครัวเรือนรับรองในหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบฯ (บ้านพี่) เพื่อเป็นที่พักค้างให้แก่กลุ่มเป้าหมาย จำนวน 3 วัน 2 คืน

ศอช.ต. จำนวน 6,095 ตำบล ๆ ละ อย่างน้อย 20 คน สำนักงาน พัฒนาชุมชนอำเภอ 5. โครงการบูรณาการ แผนชุมชนระดับตำบล... วัตถุประสงค์ กลุ่มเป้าหมาย ศอช.ต. จำนวน 6,095 ตำบล ๆ ละ อย่างน้อย 20 คน ส่งเสริมการ บูรณาการแผนชุมชนระดับตำบลและการใช้ประโยชน์จากแผนชุมชน ในการสร้าง สัมมาชีพชุมชน สนับสนุนให้ศอช.ต. เป็นกลไกหลัก ในการบูรณาการแผนชุมชนระดับตำบล ที่เชื่อมโยง สู่แผนพัฒนาท้องถิ่น แผนพัฒนาอำเภอ และแผนพัฒนาจังหวัด ระยะเวลาดำเนินการ ไตรมาส 1 (ต.ค. -ธ.ค. 59) หน่วยดำเนินการ ดำเนินการ ตำบลละ 1 วัน สำนักงาน พัฒนาชุมชนอำเภอ 1. จำนวนแผนชุมชนระดับตำบล 6,095 ตำบล มีการเชื่อมแผนท้องถิ่นเพื่อพัฒนาอาชีพ 2. ร้อยละ 85 ของแผนชุมชนระดับตำบล มีการนำไปใช้ประโยชน์ในการพัฒนาอาชีพ ผลผลิต

5. โครงการบูรณาการ แผนชุมชนระดับตำบล... 5. โครงการบูรณาการ แผนชุมชนระดับตำบล... อำเภอ : ดำเนินโครงการตามรายละเอียดในเล่มแนวทางฯ (เล่มรังผึ้ง) ร่วมกับ เล่มแนวทางการสร้างสัมมาชีพชุมชน หน้า 27-31 เงื่อนไข : 1. ดำเนินการได้ทันทีโดยไม่ต้องรอให้ปราชญ์ชุมชนหมู่บ้านละ 1 คนผ่านการอบรม ตามหลักสูตร “วิทยากรผู้นำสัมมาชีพ” 2. จัดทำไฟล์เอกสารเล่มแผนชุมชนระดับตำบล จัดส่งจังหวัด เพื่อรวมรวมจัดส่งให้ กรมการพัฒนาชุมชนภายในเดือน กุมภาพันธ์ 2560 กรณีได้เป้าหมายตำบลเกินกว่าจำนวนตำบลในพื้นที่ยุทธศาสตร์ที่ 1 : ดำเนินการคัดเลือกตำบลเพิ่มเติมให้ครบตามจำนวนเป้าหมายที่ได้รับจัดสรร โดยพิจารณาจากตำบลที่มีหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบของกรมฯ อยู่ในพื้นที่ตำบลนั้นจากจำนวนหมู่บ้านมากที่สุดไปหาน้อยที่สุดเป็นลำดับแรก หากยังไม่ครบตามเป้าหมายให้พิจารณาคัดเลือกจากตำบลที่มีศักยภาพเพิ่มเติม กรณีตำบลในยุทธศาสตร์ที่ 1 ไม่มี ศอช.ต. ให้อำเภอประสานการดำเนินงานกับเทศบาลฯ โดยสนับสนุนให้ประธานชุมชน ผู้แทนกลุ่ม/องค์กรในเขตตำบล และแกนนำชุมชนหมู่บ้านในพื้นที่ยุทธศาสตร์ที่ 1 ในพื้นที่นั้น ทำหน้าที่จัดเวทีบูรณาการแผนชุมชนระดับตำบล ทั้งนี้ ขอให้ทีมปฏิบัติการตำบลร่วมให้การสนับสนุนการดำเนินงาน

6. โครงการพัฒนา หมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบ ... 6. โครงการพัฒนา หมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบ ... วัตถุประสงค์ กลุ่มเป้าหมาย หมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงในพื้นที่ยุทธศาสตร์ที่ 1 ที่ผ่านการคัดเลือกอำเภอละ 1 หมู่บ้าน รวม 878 หมู่บ้าน ระยะเวลาดำเนินการ ส่งเสริมการใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเป็นแนวทางในการพัฒนาหมู่บ้าน ให้มีระบบการบริหารจัดการชุมชนแบบบูรณาการ ที่เข้มแข็งใน การสร้างสัมมาชีพชุมชน ไตรมาส 3 (เม.ย.-มิ.ย.60) หน่วยดำเนินการ สนับสนุนค่าวัสดุ ต่อยอดพัฒนาอาชีพ และการปรับปรุง ศูนย์เรียนรู้ สำนักงาน พัฒนาชุมชนอำเภอ จำนวนหมู่บ้านพัฒนาตนเองสู่หมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบ จำนวน 878 หมู่บ้าน ผลผลิต

6. โครงการพัฒนาหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบ ... อำเภอ : ดำเนินโครงการตามรายละเอียดในเล่มแนวทางฯ (เล่มรังผึ้ง) ร่วมกับ เล่มแนวทางการสร้างสัมมาชีพชุมชน หน้า 32-33 เงื่อนไข : 1. ดำเนินการคัดเลือกหมู่บ้านที่มีความพร้อมในการพัฒนาตนเอง เพื่อยกระดับเป็นหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบ เฉลี่ยอำเภอละ 1 หมู่บ้าน โดยยึดหลักเกณฑ์ ดังนี้ 2. งบประมาณ 50,000 บาท/หมู่บ้าน นำไปใช้ ดังนี้ ขยายผลครัวเรือนสัมมาชีพชุมชนเพิ่มเติม 30,000 บาท/หมู่บ้าน พัฒนา/ปรับปรุงศูนย์ฯ ในเรื่องที่สำคัญจำเป็น 20,000 บาท/หมู่บ้าน เป็นหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงที่อยู่ในพื้นที่ความรับผิดชอบของยุทธศาสตร์ที่ 1 เป็นหมู่บ้านที่มีศูนย์เรียนรู้และขับเคลื่อนปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง (ชื่อเดิมคือศูนย์เรียนรู้ชุมชน) สามารถใช้เป็นเครื่องมือในการพัฒนาครัวเรือนสัมมาชีพชุมชน และพัฒนา/ขยายผลหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบ ต้องไม่เป็นหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบที่กรมการพัฒนาชุมชน สนับสนุนการดำเนินงาน ตั้งแต่ ปี 2552 – 2559 (ทั้งที่ดำเนินการโดยงบประมาณของกรมฯ งบประมาณของ กระทรวงมหาดไทย และจากการบูรณาการร่วมกับหน่วยงานอื่นๆ และทุนชุมชน) มีทีมวิทยากรสัมมาชีพชุมชนระดับหมู่บ้านที่มีศักยภาพในการขับเคลื่อนการสร้างสัมมาชีพชุมชน เป็นหมู่บ้านที่มีการสร้างสัมมาชีพชุมชนที่ประสบความสำเร็จ คือ ครัวเรือนสัมมาชีพชุมชน 20 ครัวเรือน ที่ได้รับการฝึกอบรมอาชีพประกอบอาชีพทำให้มีรายได้ และมีการรวมตัว เป็นกลุ่มอาชีพที่ก่อให้เกิดรายได้

สนับสนุนค่าวัสดุ พัฒนาอาชีพ สำนักงาน พัฒนาชุมชนอำเภอ 7. โครงการสนับสนุน สัมมาชีพชุมชนแก่ครัวเรือนยากจน ... วัตถุประสงค์ กลุ่มเป้าหมาย ครัวเรือนยากจนเป้าหมายที่มีรายได้ต่ำกว่าเกณฑ์ความจำเป็นพื้นฐาน (จปฐ.) ปี 2559 ที่พัฒนาได้ จำนวน 10,054 ครัวเรือน ระยะเวลาดำเนินการ สนับสนุนเพิ่มโอกาส/ความสำเร็จในการประกอบอาชีพ และมีรายได้ตามแนวทางสัมมาชีพชุมชนของครัวเรือนยากจนเป้าหมาย ไตรมาส 2 (ม.ค.-มี.ค.60) หน่วยดำเนินการ สนับสนุนค่าวัสดุ พัฒนาอาชีพ สำนักงาน พัฒนาชุมชนอำเภอ ครัวเรือนยากจนเป้าหมาย ได้รับการส่งเสริม สนับสนุนสัมมาชีพ จำนวน 10,054 ครัวเรือน ผลผลิต

7. โครงการสนับสนุน สัมมาชีพชุมชนแก่ครัวเรือนยากจน ... 7. โครงการสนับสนุน สัมมาชีพชุมชนแก่ครัวเรือนยากจน ... อำเภอ : ดำเนินโครงการตามรายละเอียดในเล่มแนวทางฯ (เล่มรังผึ้ง) ร่วมกับ เล่มแนวทางการสร้างสัมมาชีพชุมชน หน้า 34-35 เงื่อนไข : ดำเนินกิจกรรมสนับสนุนสัมมาชีพชุมชนแก่ครัวเรือนยากจน แบ่งเป็น 2 กลุ่มเป้าหมาย ดังนี้ 1. ครัวเรือนยากจนที่พัฒนาได้ที่อยู่ในหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงตามยุทธศาสตร์ที่ 1 ดำเนินการ ดังนี้ 1) สนับสนุนให้เข้าร่วมเป็นกลุ่มเป้าหมาย 20 ครัวเรือนที่เข้ารับการอบรมสัมมาชีพชุมชน ตามโครงการส่งเสริมการสร้างสัมมาชีพชุมชนในระดับหมู่บ้าน จำนวน 5 วัน 2) สนับสนุนวัสดุการฝึกอาชีพให้กับครัวเรือนยากจนเป้าหมาย เพื่อต่อยอดอาชีพหลังจากการฝึกอบรม ตามโครงการส่งเสริมการสร้างสัมมาชีพชุมชนในระดับหมู่บ้าน 2. ครัวเรือนยากจนที่พัฒนาได้ที่ไม่อยู่ในหมู่บ้านตามยุทธศาสตร์ที่ 1 ดำเนินการ ดังนี้ 1) พัฒนากร ปราชญ์ชุมชน อช./ผู้นำ อช. และครัวเรือนยากจนเป้าหมาย ร่วมกันวิเคราะห์ความต้องการสร้างสัมมาชีพชุมชน 2) ครัวเรือนยากจนเป้าหมายเรียนรู้อาชีพจากปราชญ์ชุมชน/ฐานเรียนรู้/ศูนย์เรียนรู้ชุมชนตามความเหมาะสม โดยมีทีมสนับสนุนการขับเคลื่อนสัมมาชีพชุมชนระดับอำเภอร่วมสนับสนุนการเรียนรู้และพัฒนาอาชีพ 3) สนับสนุนวัสดุการฝึกอาชีพให้กับครัวเรือนยากจนเป้าหมาย เพื่อส่งเสริมการประกอบอาชีพจากงบประมาณ โครงการสนับสนุนสัมมาชีพชุมชนแก่ครัวเรือนยากจน