สรุปข้อตรวจพบและข้อเสนอแนะ ด้านการบริหารงบประมาณของสถานศึกษา

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Chapter 3 Data Representation (การแทนข้อมูล)
Advertisements

ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชา การสอนภาษาอังกฤษเพื่อ วิชาการและงานอาชีพ
ศูนย์เรียนรู้ชุมชนเศรษฐกิจ พอเพียงบ้านซ่อง อ.พนมสารคาม จ.ฉะเชิงเทรา
สาระที่ ๒ การเขียน.
การบริหารจัดการโครงการ และการเบิกจ่ายงบประมาณ
ศึกษาข้อมูลท้องถิ่นบ้านสนาม
ยินดีต้อนรับ คณะกรรมการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน “สำนักส่งเสริมวิชาการและงานทะเบียน” วันอังคารที่ 23 สิงหาคม พ.ศ
Application of Electron Paramagnetic Resonance (EPR)
Lubna Shamshad (Ph.D Student) Supervisor Dr.GulRooh
Q n° R n°.
อาคารสำนักงานเขต พื้นที่การศึกษา (สพป./สพม.)
Chapter 3 Design of Discrete-Time control systems Frequency Response
ยินดีต้อนรับ นสต. ภ.๙.
การส่งเสริมจริยธรรมและคุณธรรม เพื่อการป้องกันการทุจริต
พอช.องค์การมหาชนของชุมชนไทย
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
หน่วยที่ 2 การประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
หลักสูตรการศึกษานอกระบบ ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
Multiple Input Multiple Output (MIMO)
บทที่ 7 TAS 17 (ปรับปรุง 2558): สัญญาเช่า (Leases)
หลักการสร้างมาตรวัดทางจิตวิทยา
โครงการส่งเสริมการพัฒนาคุณภาพงาน คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
แผนการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
แนวการตรวจสอบภายใน การตรวจสอบรถราชการ
ทะเบียนราษฎร.
นายธนวิทย์ โพธิ์พฤกษ์ เลขที่ 8 นายอนุสรณ์ ขำหลง เลขที่ 29
เรื่อง การบริหารการศึกษาตาม พ.ร.บ ระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ
เอกสารประกอบการบรรยายครั้ง ๒ วิชาซื้อขาย - เช่าทรัพย์ - เช่าซื้อ
ระเบียบกระทรวงมหาดไทย
บทที่ 12 การวิเคราะห์สหสัมพันธ์และการถดถอย
DATA STRUCTURES AND ALGORITHMS
ขั้นตอนการจัดตั้งกลุ่มส่งเสริมอาชีพ จังหวัดนครราชสีมา ปี ๒๕๕๘/๕๙
หลักการจัดกิจกรรมนันทนาการ
การประชุมผู้บริหารระดับสูงกระทรวงวัฒนธรรม ครั้งที่ ๔/๒๕๖๐
การเบิกจ่ายเงินเกี่ยวกับค่าใช้จ่าย ในการบริหารงานของส่วนราชการ
การแก้ไขปัญหา สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยนคลองจั่น จำกัด
ขั้นตอนของกิจกรรม : ปฏิบัติเป็นประจำ เพื่อให้เกิดการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง
ตอนที่ 2.๒ บทบาทหน้าที่ของเจ้าหน้าที่ส่งเสริมการเกษตรระดับอำเภอ
บทที่ 4 การกระจาย อำนาจด้านการคลัง
งานเงินสมทบและการตรวจสอบ
ยินดีต้อนรับเข้าสู่บทเรียนคอมพิวเตอร์ วัยรุ่นไทยใส่ใจวัฒนธรรม เรื่อง
การพัฒนาระบบบริหารจัดการกำลังคนด้านสุขภาพ “การพัฒนาบุคลากร”
ค่าใช้จ่ายต่างๆ ในโครงการฯ
วันเสาร์ที่ 2 กรกฎาคม 2559 วิทยาลัยเทคโนโลยีอักษรพัทยา
วิชาสังคมศึกษา ม.3 สาระที่ 1 ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม.
มหาวิยาลัยราชภัฏนครราชสีมา
โครงการสนับสนุนสินเชื่อเกษตรกรชาวสวนยาง รายย่อยเพื่อประกอบอาชีพเสริม
ความหมายของหนี้สาธารณะ
การจัดการชั้นเรียน.
การบริหารการเงิน ในสถานศึกษา
องค์ประกอบและผลกระทบของธุรกิจไมซ์
โคลง ร่าย และ โดยครูธาริตา นพสุวรรณ
Matrix 1.Thamonaporn intasuwan no.7 2.Wannisa chawlaw no.13 3.Sunita taoklang no.17 4.Aungkhana mueagjinda no.20.
สมาชิกโต๊ะ 1 นายสุรวินทร์ รีเรียง นายภาณุวิชญ์ อนุศรี
นำเสนอ วัดเกาะชัน ด.ช.ปกรณ์ ร้อยจันทร์ ม.2/7 เลขที่ 19
รศ.ดร.อนันต์ จันทรโอภากร
การเขียนวิจารณ์วรรณกรรม ๒
การยืมเงิน จากแหล่งเงินงบประมาณรายได้
วิชา หลักการตลาด บทที่ 7 การออกแบบกลยุทธ์ราคา
ผังมโนทัศน์สาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑
สาระสำคัญพ.ร.บ.การทวงถามหนี้ พ.ศ.๒๕๕๘ สาระสำคัญพ.ร.บ.การทวงถามหนี้ พ.ศ.๒๕๕๘.
การบัญชีตามความรับผิดชอบและ การประเมินผลการปฏิบัติงาน
ตำบลหนองพลับ ประวัติความเป็นมา
แบบทดสอบ เรื่อง ความน่าจะเป็น.
การปฏิรูประบบศาลยุติธรรม หลังรัฐประหาร 2557
ธาตุ สารประกอบ และปฏิกิริยาเคมี
ข้อกำหนด/มาตรฐาน ด้านสุขาภิบาลอาหาร
การบริหารหลักสูตร ความหมาย : การดำเนินงานที่เกี่ยวข้องกับการทำหลักสูตร และเอกสารประกอบหลักสูตร ไปสู่การปฏิบัติในสถานการณ์จริงหรือกิจกรรมการเรียนการสอนให้เป็นไปตามเป้าหมายที่กำหนดไว้ในหลักสูตรโดยอาศัยการสนับสนุนและร่วมมือจากบุคคลที่เกี่ยวข้องกับการใช้หลักส
PHYSICS by P’Tum LINE
การพิจารณาสัญชาติของบุคคล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สรุปข้อตรวจพบและข้อเสนอแนะ ด้านการบริหารงบประมาณของสถานศึกษา โดย... หน่วยตรวจสอบภายใน สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาระนอง

วัตถุประสงค์การบรรยาย เพื่อให้ผู้บริหารสถานศึกษาได้รับทราบข้อตรวจพบและข้อเสนอแนะ ทางด้านการบริหารงบประมาณของสถานศึกษา เพื่อนำไปสู่การปรับปรุงแก้ไข การวิเคราะห์และประเมินความเสี่ยง การจัดวางระบบควบคุมภายใน รวมถึงการกำกับ ติดตามการปฏิบัติงานภายในสถานศึกษา ให้มีประสิทธิภาพ โดยยึดหลักธรรมาภิบาล สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาระนอง

หัวข้อบรรยาย ข้อตรวจพบด้านการวางแผน ข้อตรวจพบด้านการรับ-จ่ายเงิน ข้อตรวจพบด้านการเก็บรักษาเงินและการ นำส่งเงิน สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาระนอง

หัวข้อบรรยาย ข้อตรวจพบด้านการจัดทำบัญชีตามระบบ ควบคุมการเงินของหน่วยงานย่อย พ.ศ. 2544 ข้อตรวจพบด้านการจัดทำรายงาน ข้อตรวจพบด้านการควบคุมและตรวจสอบ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาระนอง

ข้อตรวจพบด้านการวางแผน โครงการ/กิจกรรม ในแผนปฏิบัติการประจำปี ไม่สอดคล้องกับภารกิจ นโยบาย และจุดเน้นของสถานศึกษาและหน่วยงานต้นสังกัด การจำแนกประเภทรายจ่ายไม่ถูกต้อง

ข้อตรวจพบด้านการวางแผน แผนฯ ไม่ครอบคลุมแหล่งเงินของสถานศึกษา ไม่นำเสนอแผนฯ เพื่อขอความเห็นชอบจากคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน หรือมีนำเสนอแต่ไม่ปรากฏหลักฐานหรือร่องรอยการได้รับความเห็นชอบแผนฯ ให้ตรวจสอบ

ข้อตรวจพบด้านการวางแผน การใช้จ่ายเงินไม่สอดคล้องกับแผนปฏิบัติการประจำปี ไม่มีการรายงานผลการดำเนินงานของสถานศึกษาให้สาธารณชนได้รับทราบ

สาเหตุ - บุคลากรโยกย้ายบ่อย เจ้าหน้าที่ใหม่ ขาดความรู้ ความเข้าใจ - บุคลากรโยกย้ายบ่อย เจ้าหน้าที่ใหม่ ขาดความรู้ ความเข้าใจ - ครูมีภาระงานมาก คนเดียวทำงานหลายหน้าที่ ไม่มีเวลาศึกษาระเบียบทำงานแบบเดิม ๆ เหมือนที่เคยทำต่อ ๆ กันมา - เจ้าหน้าที่ธุรการจัดเก็บเอกสารไม่เป็นระบบ สืบค้นยาก เนื่องจากทำหน้าที่ 2 โรงเรียน - ขาดระบบควบคุม กำกับ ติดตามงาน ที่เหมาะสม เพียงพอ

ผลกระทบ - การวางแผนฯ ไม่เป็นไปตามหลักเกณฑ์การใช้จ่ายเงินอุดหนุน - การวางแผนฯ ไม่เป็นไปตามหลักเกณฑ์การนำเงินรายได้สถานศึกษาไปใช้จ่ายเป็นค่าใช้จ่ายในการจัดการศึกษา (ถ้ามี) - ผู้เรียนไม่ได้รับการพัฒนาอย่างเต็มตามศักยภาพ เนื่องจาก การใช้จ่ายเงินไม่สอดคล้องกับแผนฯ -

ข้อเสนอแนะ - เสริมสร้างความรู้ความเข้าใจ ให้แก่ครูที่ได้รับแต่งตั้งใหม่ โดยใช้รูปแบบต่าง ๆ เช่น การสอนงาน การอบรม การสอบถามจากผู้รู้ฯลฯ - ควรมอบหมายงานให้เหมาะสม สอดคล้องกับทรัพยากรบุคคล ที่มีอยู่ หากบุคลากรไม่เพียงพอ และจำเป็นต้องมีการมอบหมายงานให้บุคคลเดียวปฏิบัติหลายหน้าที่ ควรเพิ่มระบบควบคุม กำกับ ติดตาม ที่เหมาะสมเพียงพอ เพื่อลดความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้นจากการปฏิบัติงานได้

ข้อเสนอแนะ - ควบคุม กำกับ ติดตามการปฏิบัติงานและการจัดเก็บเอกสารของเจ้าหน้าที่ธุรการ ให้เป็นไปตามระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงาน สารบรรณ พ.ศ. 2526 และที่แก้ไขเพิ่มเติม - จัดระบบควบคุม กำกับ ติดตาม การปฏิบัติงานด้านการวางแผน ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่กำหนด และจัดระบบควบคุม การใช้จ่ายเงินให้เป็นไปตามแผน โดยมีขั้นตอนแนวทาง ดังนี้

ข้อเสนอแนะ 1. ให้สถานศึกษาจัดทำแผนปฏิบัติการประจำปีของสถานศึกษาที่สอดคล้องกับภารกิจของ สถานศึกษา นโยบายและจุดเน้นของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน 2. นำเสนอแผนปฏิบัติการประจำปีของสถานศึกษา เพื่อให้คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานเห็นชอบ

ข้อเสนอแนะ 3. รายงานผลการดำเนินงานให้สาธารณชนได้รับทราบ 4. การใช้จ่ายงบประมาณต้องสอดคล้องกับแผนปฏิบัติการประจำปีของสถานศึกษา

ข้อตรวจพบด้านการรับ - จ่ายเงิน ไม่จัดทำทะเบียนคุมใบเสร็จรับเงิน ใช้ใบเสร็จรับเงินข้ามปีงบประมาณและใบเสร็จส่วนที่เหลือไม่ได้เจาะ ปรุ ประทับตราเลิกใช้ให้เรียบร้อย

ข้อตรวจพบด้านการรับ - จ่ายเงิน รับเงินโดยไม่ออกใบเสร็จรับเงินตามแบบที่ทางราชการกำหนด บันทึกการรับเงินในทะเบียนคุมที่เกี่ยวข้องไม่ครบถ้วน

ข้อตรวจพบด้านการรับ - จ่ายเงิน มีหลักฐานการจ่ายให้ตรวจสอบไม่ครบถ้วน หลักฐานการจ่ายไม่ถูกต้องตามระเบียบที่เกี่ยวข้อง จ่ายเงินเกินสิทธิ/ซ้ำซ้อน

ข้อตรวจพบด้านการรับ - จ่ายเงิน ใช้จ่ายเงินผิดวัตถุประสงค์ ไม่เป็นไปตามหลักเกณฑ์และแนวทางที่กำหนด การจัดเก็บหลักฐานการจ่ายไม่รัดกุม เพียงพอ ไม่สามารถป้องกันการชำรุด หรือสูญหายได้

ข้อตรวจพบด้านการรับ - จ่ายเงิน ไม่ประทับตรา “จ่ายเงินแล้ว” ไม่ลงลายมือชื่อผู้จ่ายเงิน พร้อมตัวบรรจง และวันเดือนปีที่จ่ายในหลักฐานการจ่าย วิธีการจ่ายเงินไม่ถูกต้อง /ล่าช้า บันทึกรายการจ่ายเงินไม่ครบถ้วน

สาเหตุ - บุคลากรโยกย้ายบ่อย เจ้าหน้าที่ใหม่ ขาดความรู้ ความเข้าใจ - บุคลากรโยกย้ายบ่อย เจ้าหน้าที่ใหม่ ขาดความรู้ ความเข้าใจ - ครูมีภาระงานมาก คนเดียวทำงานหลายหน้าที่ ไม่มีเวลาศึกษาระเบียบทำงานแบบเดิม ๆ เหมือนที่เคยทำต่อ ๆ กันมา - ระบบการจัดเก็บเอกสารของโรงเรียนไม่รัดกุม เพียงพอ - ขาดระบบควบคุม กำกับ ติดตามงาน ที่เหมาะสม เพียงพอ

ผลกระทบ - การใช้จ่ายเงินไม่เป็นไปตามระเบียบที่เกี่ยวข้อง ไม่มีประสิทธิภาพ ต้องเรียกเงินคืนบ่อยครั้ง - ผู้เรียนขาดโอกาสและไม่ได้รับการพัฒนาอย่างเต็มตามศักยภาพ เนื่องจากการใช้จ่ายเงินไม่เป็นไปตามวัตถุประสงค์ และไม่เป็นไปตามแนวทางที่กำหนด

ข้อเสนอแนะ - เสริมสร้างความรู้ความเข้าใจ ให้แก่ครูที่ได้รับแต่งตั้งใหม่ โดยใช้รูปแบบต่าง ๆ เช่น การสอนงาน การอบรม การสอบถามจากผู้รู้ฯลฯ - ควรมอบหมายงานให้เหมาะสม สอดคล้องกับทรัพยากรบุคคล ที่มีอยู่ หากบุคลากรไม่เพียงพอ และจำเป็นต้องมีการมอบหมายงานให้บุคคลเดียวปฏิบัติหลายหน้าที่ ควรเพิ่มระบบควบคุม กำกับ ติดตาม ที่เหมาะสมเพียงพอ เพื่อลดความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้นจากการปฏิบัติงานได้

ข้อเสนอแนะ - ควบคุม กำกับ ติดตามการจัดเก็บเอกสารด้านการเงินให้เป็นไปตามระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ. 2526 และที่แก้ไขเพิ่มเติม และระเบียบกระทรวงการคลังที่กำหนด - จัดระบบควบคุม กำกับ ติดตาม การปฏิบัติงานด้านการรับ-จ่ายเงินแต่ละประเภท ให้เป็นไปตามกฎ ระเบียบ แนวทางและหลักเกณฑ์ที่กำหนด

ข้อเสนอแนะ - ควบคุม กำกับ ติดตามการจัดเก็บเอกสารด้านการเงินให้เป็นไปตามระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ. 2526 และที่แก้ไขเพิ่มเติม และระเบียบกระทรวงการคลังที่กำหนด - จัดระบบควบคุม กำกับ ติดตาม การปฏิบัติงานด้านการรับ-จ่ายเงินแต่ละประเภท ให้เป็นไปตามกฎ ระเบียบ แนวทางและหลักเกณฑ์ที่กำหนด

ข้อตรวจพบด้านการเก็บรักษาเงินและการนำส่งเงิน เก็บรักษาเงินสดเกินอำนาจ เจ้าหน้าที่การเงินเป็นผู้เก็บรักษาเงิน ไม่นำส่ง ดอกเบี้ยเงินอุดหนุน/ดอกเบี้ยเงินอาหารกลางวัน (อปท.) เป็นรายได้แผ่นดิน

ข้อตรวจพบด้านการเก็บรักษาเงินและการนำส่งเงิน ไม่นำส่งเงินอุดหนุนเหลือจ่ายเกิน 2 ปีงบประมาณเป็นเงินรายได้แผ่นดิน ไม่บันทึกรายการในทะเบียนคุมการรับและนำส่งเงินรายได้แผ่นดิน

ข้อตรวจพบด้านการเก็บรักษาเงินและการนำส่งเงิน ไม่นำเงินอุดหนุนอาหารกลางวันส่วนที่เกิน 200,000 บาท ฝากส่วนราชการผู้เบิก ไม่นำเงินรายได้สถานศึกษาส่วนที่เกินอำนาจเก็บของโรงเรียน ฝากส่วนราชการผู้เบิก ไม่นำเงินประกันสัญญาฝากส่วนราชการผู้เบิก

สาเหตุ - บุคลากรโยกย้ายบ่อย เจ้าหน้าที่ใหม่ ขาดความรู้ ความเข้าใจ - บุคลากรโยกย้ายบ่อย เจ้าหน้าที่ใหม่ ขาดความรู้ ความเข้าใจ - ครูมีภาระงานมาก คนเดียวทำงานหลายหน้าที่ ไม่มีเวลาศึกษาระเบียบทำงานแบบเดิม ๆ เหมือนที่เคยทำต่อ ๆ กันมา - ขาดระบบควบคุม กำกับ ติดตามงาน ที่เหมาะสม เพียงพอ

ผลกระทบ - การเก็บเงินสดเกินอำนาจและเก็บรักษาเงินไว้ที่เจ้าหน้าที่การเงิน เป็นปัจจัยเสี่ยงอาจก่อให้เกิดความเสียหายแก่เงินของทางราชการ

ผลกระทบ - การรับและนำส่งเงินไม่เป็นไปตามระเบียบที่กำหนด ส่งผลกระทบให้โรงเรียนมีการเก็บรักษาเงินเกินอำนาจ มีเงินคงเหลืออยู่ในบัญชีสูงเกินจริง และเป็นภาระทางบัญชี

ข้อเสนอแนะ - เสริมสร้างความรู้ความเข้าใจ ให้แก่ครูที่ได้รับแต่งตั้งใหม่ โดยใช้รูปแบบต่าง ๆ เช่น การสอนงาน การอบรม การสอบถามจากผู้รู้ฯลฯ - ควรมอบหมายงานให้เหมาะสม สอดคล้องกับทรัพยากรบุคคล ที่มีอยู่ หากบุคลากรไม่เพียงพอ และจำเป็นต้องมีการมอบหมายงานให้บุคคลเดียวปฏิบัติหลายหน้าที่ ควรเพิ่มระบบควบคุม กำกับ ติดตาม ที่เหมาะสมเพียงพอ เพื่อลดความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้นจากการปฏิบัติงานได้

ข้อเสนอแนะ - จัดระบบควบคุม กำกับ ติดตาม การปฏิบัติงานด้านการรับและนำส่งเงินให้เป็นไปตามกฎ ระเบียบที่กำหนด โดยเงินรายได้แผ่นดินให้นำส่งอย่างน้อยเดือนละครั้ง ยกเว้นกรณีมีเงินเรายได้แผ่นดินเก็บรักษาเกิน 10,000 บาท ให้นำส่ง ภายใน 7 วัน ส่วนเงินนอกงบประมาณให้นำส่งอย่างน้อยเดือนละ 1 ครั้ง เว้นแต่คาดว่าจะต้องจ่ายในเดือนถัดไป (ระเบียบฯ ข้อ 64)

ข้อตรวจพบด้านการจัดทำบัญชี ไม่จัดทำทะเบียนคุมหลักฐานขอเบิกเพื่อควบคุมการเบิกเงินงบประมาณจากสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา หรือมีการจัดทำแต่ไม่ครบถ้วน

ข้อตรวจพบด้านการจัดทำบัญชี จัดทำทะเบียนคุมเงินนอกงบประมาณไม่ถูกต้อง ไม่ครบถ้วน ไม่จัดทำทะเบียนคุมเงินนอกงบประมาณ – เงินฝาก เพื่อควบคุมเงินประกันสัญญา

ข้อตรวจพบด้านการจัดทำบัญชี ไม่จัดทำทะเบียนคุมเงินรายได้แผ่นดิน หรือจัดทำแต่ไม่ครบถ้วน ไม่ได้ปิดบัญชีทุกสิ้นเดือน

สาเหตุ - บุคลากรโยกย้ายบ่อย เจ้าหน้าที่ใหม่ ขาดความรู้ ความเข้าใจ - บุคลากรโยกย้ายบ่อย เจ้าหน้าที่ใหม่ ขาดความรู้ ความเข้าใจ - ครูมีภาระงานมาก คนเดียวทำงานหลายหน้าที่ - ละเว้นการปฏิบัติ หรือการปฏิบัติงานไม่เป็นไปตามลำดับขั้นตอน - ขาดระบบควบคุม กำกับ ติดตามงาน ที่เหมาะสม เพียงพอ

ผลกระทบ - ไม่สามารถควบคุมหลักฐานขอเบิก ได้ว่ารายการใดส่งเบิกแล้ว รายการใดยังไม่ได้ส่งเบิก มีการส่งเบิกเรียงตามลำดับหรือไม่ รายการใดส่งเบิกล่าช้าบ้าง - ไม่สามารถควบคุมเงินคงเหลือของสถานศึกษาให้ถูกต้องครบถ้วน

ข้อเสนอแนะ - เสริมสร้างความรู้ความเข้าใจ ให้แก่ครูที่ได้รับแต่งตั้งใหม่ โดยใช้รูปแบบต่าง ๆ เช่น การสอนงาน การอบรม การสอบถามจากผู้รู้ฯลฯ - ควรมอบหมายงานให้เหมาะสม สอดคล้องกับทรัพยากรบุคคล ที่มีอยู่ หากบุคลากรไม่เพียงพอ และจำเป็นต้องมีการมอบหมายงานให้บุคคลเดียวปฏิบัติหลายหน้าที่ ควรเพิ่มระบบควบคุม กำกับ ติดตาม ที่เหมาะสมเพียงพอ เพื่อลดความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้นจากการปฏิบัติงานได้

ข้อเสนอแนะ - จัดระบบควบคุม กำกับ ติดตาม การปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ฝ่ายต่าง ๆ ให้ดำเนินงานเป็นไปตามลำดับขั้นตอน โดยถือปฏิบัติตา มระบบการควบคุมการเงินของหน่วยงานย่อย พ.ศ. 2544 อย่างเคร่งครัด

ข้อตรวจพบด้านการจัดทำรายงาน ไม่จัดทำรายงานเงินคงเหลือประจำวัน ไม่จัดทำรายงานเงินคงเหลือประจำวัน ณ วันทำการสุดท้าย ของเดือน ไม่จัดทำงบเทียบยอดเงินฝากธนาคารกรณีเงินเหลือไม่ตรงกัน

ข้อตรวจพบด้านการจัดทำรายงาน ไม่จัดส่งสำเนารายงานเงินคงเหลือประจำวัน ณ วันทำการสุดท้ายของเดือน ให้ สพป.ระนอง ทราบ ไม่จัดส่งรายงานการใช้ใบเสร็จรับเงินให้ สพป.ระนอง ทราบภายในวันที่ 15 ตุลาคม ของทุกปี (ระเบียบฯ ข้อ 11)

ข้อตรวจพบด้านการจัดทำรายงาน ไม่จัดทำรายงานการรับ-จ่ายเงินรายได้สถานศึกษา แจ้งให้คณะกรรมการสถานศึกษาทราบ และแจ้งให้ สพป.ระนอง ทราบ ภายใน 30 วันนับแต่สิ้นปีงบประมาณ (ถ้ามี) (ประกาศฯ ข้อ 6)

สาเหตุ - บุคลากรโยกย้ายบ่อย เจ้าหน้าที่ใหม่ ขาดความรู้ ความเข้าใจ - บุคลากรโยกย้ายบ่อย เจ้าหน้าที่ใหม่ ขาดความรู้ ความเข้าใจ - ครูมีภาระงานมาก คนเดียวทำงานหลายหน้าที่ - ละเว้นการปฏิบัติ หรือการปฏิบัติงานไม่เป็นไปตามลำดับขั้นตอน - ขาดระบบควบคุม กำกับ ติดตามงาน ที่เหมาะสม เพียงพอ

ผลกระทบ - ไม่สามารถควบคุมเงินคงเหลือของสถานศึกษาให้ถูกต้อง ครบถ้วน - ไม่สามารถควบคุมเงินคงเหลือของสถานศึกษาให้ถูกต้อง ครบถ้วน - การปฏิบัติไม่เป็นไปตามระบบการควบคุมการเงินของหน่วยงานย่อย พ.ศ. 2544 และประกาศ สพฐ. ว่าด้วยหลักเกณฑ์ อัตรา และวิธีการนำเงินรายได้สถานศึกษา ไปใช้จ่ายเป็นค่าใช้จ่ายในการจัดการศึกษา

ข้อเสนอแนะ - เสริมสร้างความรู้ความเข้าใจ ให้แก่ครูที่ได้รับแต่งตั้งใหม่ โดยใช้รูปแบบต่าง ๆ เช่น การสอนงาน การอบรม การสอบถามจากผู้รู้ฯลฯ - ควรมอบหมายงานให้เหมาะสม สอดคล้องกับทรัพยากรบุคคล ที่มีอยู่ หากบุคลากรไม่เพียงพอ และจำเป็นต้องมีการมอบหมายงานให้บุคคลเดียวปฏิบัติหลายหน้าที่ ควรเพิ่มระบบควบคุม กำกับ ติดตาม ที่เหมาะสมเพียงพอ เพื่อลดความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้นจากการปฏิบัติงานได้

ข้อเสนอแนะ - จัดระบบควบคุม กำกับ ติดตาม การปฏิบัติงาน ให้ถือปฏิบัติตามกฎ ระเบียบที่กำหนดอย่างเคร่งครัด ดังนี้ 1. จัดทำรายงานเงินคงเหลือประจำวัน ทุกสิ้นวัน หากวันใดไม่มีการรับจ่ายเงินให้หมายเหตุไว้ในรายงานเงินคงเหลือประจำวันในวันถัดไป 2. ทุกสิ้นเดือน ให้จัดส่งสำเนารายงานเงินคงเหลือประจำวัน ณ วัน ทำการสุดท้ายของเดือนให้ สพป.ระนอง ทราบ ภายในวันที่ 15 ของเดือนถัดไป 3.

ข้อเสนอแนะ 3. ทุกสิ้นปีงบประมาณ ให้จัดทำรายงานการใช้ใบเสร็จรับเงิน โดยระบุว่า มีใบเสร็จรับเงินในความรับผิดชอบเล่มใด เลขที่ใดถึงแลขที่ใด และได้ใช้ไปแล้วเล่มใด เลขที่ใดถึงเลขที่ใด ส่ง สพป.ระนอง ทราบ ภายในวันที่ 15 ตุลาคม ของปีงบประมาณถัดไป

ข้อเสนอแนะ 4. ทุกสิ้นปีงบประมาณ ให้จัดทำรายงานการรับจ่ายเงินรายได้สถานศึกษา ตามแบบที่กำหนดให้คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานและสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ทราบภายใน 30 วันนับแต่วันสิ้นปีงบประมาณ

ข้อตรวจพบด้านการควบคุมและตรวจสอบ ไม่แต่งตั้งผู้ตรวจสอบรายการรับ-จ่ายเงินประจำวัน ผู้ที่ได้รับการแต่งตั้ง ไม่ปฏิบัติหน้าที่ตามที่ได้รับมอบหมาย หรือปฏิบัติหน้าที่แต่ไม่มีร่องรอยการตรวจสอบ

สาเหตุ - ครูมีภาระงานมาก คนเดียวทำงานหลายหน้าที่ - ครูมีภาระงานมาก คนเดียวทำงานหลายหน้าที่ - ละเว้นการปฏิบัติ หรือการปฏิบัติงานไม่เป็นไปตามลำดับขั้นตอน - ขาดระบบควบคุม กำกับ ติดตามงาน ที่เหมาะสม เพียงพอ

ผลกระทบ - อาจมีข้อผิดพลาดเกิดขึ้นระหว่างปฏิบัติงานได้ เนื่องจากไม่มีระบบการตรวจสอบและการสอบทานงานระหว่างกัน

ข้อเสนอแนะ - ควรมอบหมายงานให้เหมาะสม สอดคล้องกับทรัพยากรบุคคล ที่มีอยู่ หากบุคลากรไม่เพียงพอ และจำเป็นต้องมีการมอบหมายงานให้บุคคลเดียวปฏิบัติหลายหน้าที่ ควรเพิ่มระบบควบคุม กำกับ ติดตาม ที่เหมาะสมเพียงพอ เพื่อลดความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้นจากการปฏิบัติงานได้

ข้อเสนอแนะ - จัดระบบควบคุม กำกับ ติดตาม การปฏิบัติงาน ให้ถือปฏิบัติตามกฎ ระเบียบที่กำหนดอย่างเคร่งครัด โดยจัดให้มีผู้ตรวจสอบรายการรับจ่ายเงินประจำวัน เพื่อทำหน้าที่ตรวจสอบการรับเงิน การจ่ายเงิน และการบันทึกรายการในทะเบียนคุมว่าถูกต้องตรงกันหรือไม่ และให้ลงลายมือชื่อกำกับการตรวจสอบไว้ด้านหลังสำเนาใบเสร็จรับเงินฉบับสุดท้ายของ แต่ละวัน

จบการนำเสนอ สวัสดีค่ะ