บทที่ 4 การคัดเลือกโครงการ ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ
ความสำคัญของการคัดเลือกโครงการ หลักเกณฑ์ในการจัดลำดับความสำคัญของโครงการ หลักการตอบสนองนโยบาย หลักการวิเคราะห์ต้นทุนและผลประโยชน์ หลักการวิเคราะห์ประสิทธิภาพ หลักการพิจารณาผลผลิต หลักการวิเคราะห์การนำผลที่ได้ไปใช้ประโยชน์
โครงการที่ดำเนินการจนแล้วเสร็จ - ฝ่ายจัดซื้อวัสดุอุปกรณ์ - ผู้ปฏิบัติ - ฝ่ายจัดการทั่วไป ข้อเสนอโครงการใหม่ - ผู้รับบริการ - ฝ่ายวิจัยและพัฒนา - ฝ่ายการตลาด ตัวแบบการประเมินผล ข้อเสนอโครงการที่รอการพิจารณา ตัวแบบกลุ่มและองค์การ ข้อเสนอโครงการที่ถูกคัดออก ตัวแบบการคัดโครงการออก ตัวแบบผสมผสาน โครงการที่ถูกยกเลิก โครงการที่ได้รับการดำเนินการ โครงการที่ดำเนินการจนแล้วเสร็จ
การประเมินค่าการลงทุนในโครงการ โดยใช้วิธีการประเมินค่าโครงการการลงทุนออกได้เป็น 2 วิธี การประเมินโครงการลงทุนที่ไม่คำนึงถึงค่าของเงินกับเวลา วิธีอัตราผลตอบแทนถัวเฉลี่ย ระยะเวลาคืนทุน การประเมินโครงการลงทุนที่คำนึงถึงค่าของเงินกับเวลา วิธีมูลค่าปัจจุบันสุทธิ วิธีอัตราผลตอบแทนของโครงการ อัตราส่วนผลตอบแทนต่อต้นทุน การวิเคราะห์จุดคุ้มทุน
ตัวอย่างที่ 4.1 บริษัทผลิตถุงเท้ากำลังตัดสินใจเปิดโรงงานผลิตถุงเท้าแห่งใหม่ โดยโรงงานแห่งนี้จะมีกำลังการผลิต 200,000 คู่ต่อปี ต้นทุนคงที่เป็น 2,500,000 บาทต่อปี และต้นทุนแปรผันคู่ละ 10 บาท และ Q หมายถึงปริมาณที่ผลิต โดยมีสมการต้นทุน คือ ต้นทุนการผลิตเท่ากับ 2,500,000 + 10Q ผู้บริหารคาดว่าสามารถจำหน่ายถุงเท้าได้คู่ละ 25 บาท และรายได้เท่ากับ 25Q ผู้บริหารสามารถหาจุดคุ้มทุนในการผลิตจากโรงงานแห่งใหม่ได้ดังนี้ จุดคุ้มทุน = ต้นทุนคงที่ ราคาขายต่อหน่วย - ต้นทุนแปรผันต่อหน่วย วิธีคิด ให้กำหนดสมการรายได้เท่ากับต้นทุนซึ่งเป็นจุดที่องค์การผลิตแล้วคุ้มทุน นั่นคือ Q = 2,500,000 25 – 10 = 2,500,000 15 = 166,667 ดังนั้นโรงงานแห่งนี้จะต้องผลิตไม่น้อยกว่า 166,667คู่ต่อปีและจำหน่ายให้หมดอีกด้วย
ตัวแบบการคัดเลือกโครงการออก ตัวแบบลักษณะ (Profile Model) เป็นรูปแบบที่ง่าย มีการนำเสนอการประเมินแบบไม่เป็นตัวเลข ตัวแบบลักษณะไม่ช่วยให้ทราบว่าเกณฑ์ใดอาจนำมาแทนกันได้ เกณฑ์การพิจารณา ระดับของเกณฑ์ สูง กลาง ต่ำ ความน่าเชื่อถือ y x x การบำรุงรักษา y y ความปลอดภัย x ความคุ้มทุน x y ความยั่งยืน y x
ตัวแบบการคัดเลือกโครงการออก ตัวแบบการตรวจสอบรายการ (Checklist Model) ตรวจสอบรายการด้วยการให้คะแนน ให้คะแนนรวมของแต่ละโครงการ เพื่อวิเคราะห์เปรียบเทียบโครงการ และจัดลำดับความสำคัญของโครงการ เช่น คะแนนรวม +2 ขึ้นไป หมายถึง การยอมรับข้อเสนอโครงการ คะแนนรวม +3 ขึ้นไป หมายถึง โครงการที่ดี คะแนนรวมระหว่าง +1ถึง+3 หมายถึง โครงการที่ดีปานกลาง
ตัวอย่างการพิจารณาโครงการ ก ,ข และ ค โดยใช้ตัวแบบการตรวจสอบรายการ ตัวอย่างการพิจารณาโครงการ ก ,ข และ ค โดยใช้ตัวแบบการตรวจสอบรายการ เกณฑ์การพิจารณา (i) คะแนนรวม (Ti) คะแนนของเกณฑ์ (Sij) -2 -1 +1 +2 โครงการ ก +5 ความน่าเชื่อถือ การบำรุงรักษา ความปลอดภัย ความคุ้มทุน ความยั่งยืน โครงการ ข โครงการ ค
ตัวแบบการคัดเลือกโครงการออก ตัวแบบการให้คะแนน (Scoring Model) มีสูตร = คือ คะแนนของเกณฑ์ i คือ ค่าถ่วงน้ำหนักของเกณฑ์ i คือ คะแนนของเกณฑ์ที่ถูกถ่วงน้ำหนัก เกณฑ์การพิจารณา (i) ค่าถ่วงน้ำหนัก คะแนน คะแนนของเกณฑ์ที่ ของเกณฑ์ (Wi) ของเกณฑ์ (Sij) ถูกถ่วงน้ำหนัก (Tj) โครงการ ก ข ค ความน่าเชื่อถือ 4 5 1 20 การบำรุงรักษา 2 3 6 10 ความปลอดภัย 9 ความคุ้มทุน 25 15 ความยั่งยืน รวม 64 37 60
ตัวแบบการคัดเลือกโครงการออก ตัวแบบขอบเขต (Frontier Model) ตัวอย่าง การวิเคราะห์ความแตกต่างระหว่างโครงการ 7 โครงการ โดยแสดงความสัมพันธ์ระหว่างผลตอบแทนและความเสี่ยงในแต่ละโครงการ ความเสี่ยงนั่นคือ โอกาสที่โครงการจะไม่ประสบผลสำเร็จ โดยคิดจาก 1-p ซึ่ง p คือความน่าจะเป็นที่โครงการจะประสบผลสำเร็จ และผลตอบแทนแสดงถึงกำไร ยอดขาย และผลจากการวัดด้านอื่นๆ ของโครงการ X3 ความเสี่ยงสูงสุด ที่ต้องการ Xi = โครงการที่i ขอบเขตประสิทธิภาพ X7 X4 X4 X5 X6 X2 ผลตอบแทน ผลตอบแทนต่ำสุด ที่ต้องการ X1 ความเสี่ยง X1
ตัวแบบดัชนีทางเศรษฐศาสตร์ ตัวแบบดัชนีทางเศรษฐศาสตร์ที่ใช้กันทั่วไป คือ ผลตอบแทนจากการลงทุน (return on investment : ROI) ROI = โดยค่า Ri = ผลตอบแทนสุทธิจากโครงการในปีที่ 1 Ii = เงินลงทุนในปีที่ 1 r = อัตราดอกเบี้ย ค่าดัชนี (index model) ที่ใช้จัดลำดับโครงการที่เสนอเข้ามาใช้สูตร V = โดยค่า V = ค่าดัชนี P = ความน่าจะเป็นที่โครงการจะสำเร็จ R = ผลตอบแทน/กำไร C = ต้นทุน
แสดงตัวแบบดัชนีทางเศรษฐศาสตร์ โครงการ ผลตอบแทน (R) (บาท) ต้นทุน (C) (บาท) ความน่าจะเป็นที่โครงการจะสำเร็จ (P) ค่าดัชนี (V) ลำดับที่ 1 80,000 2,000 0.7 0.28 3 2 70,000 1,000 0.4 120,000 0.2 0.12 4 100,000 5 0.3
ตัวแบบการให้คุณค่า ก ข ค 100 30 20 5 15 75 200 10 65 150 25 โครงการ มูลค่า (ล้านบาท) วัตถุประสงค์ขององค์การ ระยะสั้น (V = 60) วัตถุประสงค์ขององค์การระยะยาว (V = 40) คะแนนการให้มูลค่าทั้งหมด ความสำเร็จ ในด้าน ผลิตภัณฑ์ใหม่ (V=30) ความสำเร็จในด้านผลกำไร (V=20) การลดผล กระทบต่อสิ่งแวดล้อม (V=10) การบำรุง รักษาเทคโนโลยี (V=25) การรักษาส่วนแบ่งตลาด (V=15) ก 100 30 20 5 15 75 ข 200 10 65 ค 150 25
การจัดลำดับโครงการ ลำดับที่ ก คือ 75/100,000,000 = 0. 75 1 ข คือ 65/200,000,000 = 0. 25 2 ค คือ 65/150,000,000 = 0. 33 3
ตัวแบบการพิจารณาอนุมัติงบประมาณ การจัดสรรเงินทุน ในแต่ละโครงการ (บาท) เงินทุนที่สามารถหามาได้ คือ 300,000,000 บาท ผลกำไรที่คาดหวัง (บาท) โครงการ ก (บาท) โครงการ ข (บาท) โครงการ ค (บาท) โครงการ ก 100,000,000 100,000,000 120,000,000 10,000,000 โครงการ ข 200,000,000 250,000,000 285,000,000 215,000,000 โครงการ ค 300,000,000 310,000,000 335,000,000 350,000,000
เพื่อประโยชน์สูงสุด (บาท) การลงทุนที่เหมาะสม เพื่อประโยชน์สูงสุด (บาท) ผลกำไรที่คาดหวัง (ล้านบาท) โครงการ ก 100,000,000 100 โครงการ ข 200,000,000 285 รวม 300,000,000 385
ผลลัพธ์ของแต่ละขั้นตอน ตัวแบบกลุ่มและองค์การ วิธีการแยกประเภทของคิว ขั้นตอน ผลลัพธ์ของแต่ละขั้นตอน 1. ผู้เข้าร่วมแต่ละคนจะได้รับบัตรทั้งหมดที่เขียนชื่อโครงการและคำอธิบายเกี่ยวกับ แต่ละโครงการ 2. ให้ผู้เข้าร่วมแต่ละคนแบ่งบัตรออกเป็น 2 กอง : กองแรกเป็นโครงการที่ได้รับลำดับความสำคัญระดับสูง กองที่ 2 เป็นโครงการที่ได้รับลำดับความสำคัญระดับต่ำ โดยแต่ละกองไม่จำเป็นต้องมีบัตรจำนวนเท่ากัน 3. บอกให้ผู้เข้าร่วมแต่ละคนเลือกบัตรจากแต่ละกองเพื่อแยกไว้เป็นกองที่3ซึ่งเป็นโครงการที่ได้รับลำดับความสำคัญระดับ กลาง 4. ให้ผู้เข้าร่วมแต่ละคนเลือกบัตรจากกองที่ได้รับลำดับความสำคัญระดับสูง เพื่อแยกเป็นกองที่โครงการได้รับลำดับความสำคัญระดับสูงมาก และเลือกบัตรจากกองที่ได้รับลำดับความสำคัญระดับต่ำ เพื่อแยกเป็นกองที่โครงการได้รับลำดับความสำคัญระดับต่ำมาก 5. ให้ผู้เข้าร่วมแต่ละคนตรวจบัตรที่คัดเลือกและสับเปลี่ยนบัตรที่อยู่ในกองที่ไม่เหมาะสมจนกว่าการจัดประเภทโครงการจะเป็นที่พอใจของผู้เข้าร่วม บัตรทั้งหมด ระดับต่ำ ระดับ สูง ระดับ สูง ระดับ ต่ำ ระดับกลาง ระดับ กลาง ระดับสูงมาก ระดับ ต่ำมาก ระดับ ต่ำ ระดับ สูง
การสร้างตัวแบบกลุ่มและองค์การ สำหรับคัดเลือกโครงการ แนวทางการตัดสินใจโดยพิจารณาพฤติกรรมตัวแบบกลุ่มและองค์การ แนวทางการตัดสินใจโดยกระจายอำนาจไปตามสายการบังคับบัญชา การวิเคราะห์ข้อมูลและข้อมูลที่ได้รับการปรับปรุง ผู้บริหารระดับสูง แนวนโยบายงบประมาณ ผู้บริหารแผนก/ผู้บริหารระดับกลาง จัดทำงบประมาณข้อมูล ผู้บริหารฝ่ายวิจัยและพัฒนา พิจารณาและปรับปรุงการพิจารณาอนุมัติงบประมาณ ผู้บริหารโครงการ
ขอขอบคุณที่สนใจฟัง...