ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการรับเงิน การเบิกจ่ายเงิน การฝากเงิน การเก็บรักษาเงิน และการตรวจเงินขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ.2547แก้ไขเพิ่มเติมถึง.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
COMPUTER CONTROL OF MACHINES AND PROCESSES
Advertisements

ระบบจดทะเบียนการตายในสามประเทศ
หลักการโปรแกรม 1 Lecture 1: ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ การโปรแกรม.
Hotel software management
ระบบสารสนเทศทางธุรกิจ
Warehouse and Material Handling
Introduction to System Administration
ศาสตราจารย์ ดร.วิจิตร ศรีสอ้าน
2.รูปแบบงบประมาณ.
Acquisition Module.
ระบบงานพัฒนาทรัพยากรสารสนเทศ Acquisition Module
ระบบสำนักงานอัตโนมัติ เป็นระบบที่สนับสนุนงานในสำนักงาน หรืองานธุรการของหน่วยงาน ระบบจะ ประสานการทำงานของบุคลากรรวมทั้งกับ บุคคลภายนอก หรือหน่วยงานอื่น.
ประสบการณ์และเทคนิคทำวิจัยสถาบัน
ระบบสารสนเทศในหน่วยธุรกิจ
สำนักงานอัตโนมัติ (Office Automation)
หลักการตลาด บทที่ 14 การโฆษณา.
สถานวิทยาศาสตร์พรีคลินิก
ด้านที่ 3 ด้านการบริหารงานการเงินและการคลัง
โครงการเพิ่มประสิทธิภาพ
นักวิชาการเงินและบัญชี ชำนาญการ
The Comptroller General’s Department
ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัสดุ พ.ศ และที่แก้ไขเพิ่มเติม
การสร้างเว็บไซด์อีคอมเมิร์ซ
ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ * Management Information Systems
บัญชีเบื้องต้น 1 (Basis Accounting I)
ระบบการชำระเงินในอีคอมเมิร์ซ (Electronic Commerce Payment System)
ระบบสารสนเทศ (Information System)
ความมั่นคงของระบบสารสนเทศในสถานศึกษา: นโยบายและการนำไปใช้
ผู้สอน : อ.บุศรินทร์ เอี่ยมธนากุล [อ.อ้อย]
เอกสารประกอบการบรรยาย วิชา ชุมชนศึกษาและนวัตกรรมเพื่อพัฒนาชุมชน
สรุปรายงานผลการปฏิบัติงานประจำเดือน เมษายน 2555
การตรวจราชการแบบบูรณาการ ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัสดุ พ.ศ และที่แก้ไขเพิ่มเติม
แนวทางการดำเนินงาน การประกันคุณภาพการศึกษา ปีการศึกษา 2560
Database ฐานข้อมูล.
การจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศ ในสถานศึกษา
เดินหน้ามหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ สู่ทศวรรษที่ 8
การคำนวณต้นทุนผลผลิต
การประกวดสิ่งประดิษฐ์ ของคนรุ่นใหม่
SGS : Secondary Grading System
ทักท้วงจากสำนักงานการตรวจเงินแผ่นดิน กรณีการจัดทำแผนพัฒนาท้องถิ่น
Chapter 9 กฎหมายพาณิชย์ธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส Edit
ผู้ช่วยศาสตราจารย์จุฑาวุฒิ จันทรมาลี
เอกสารประกอบคำบรรยาย เรื่อง
สำนักโรคไม่ติดต่อและสำนักระบาดวิทยา กระทรวงสาธารณสุข
ร้อยละของหน่วยบริการที่ประสบภาวะวิกฤตทางการเงินระดับ 7
นางสาวนนทิชา วรรณสว่าง ผู้อำนวยการสำนักบริหารกลาง กรมการข้าว
แผนผังแสดงกลไกการป้องกันและแก้ไขปัญหาการทุจริตภาครัฐ
Bornedmen are we all and one
ผู้สอนวิชากฎหมายธุรกิจและภาษีอากร(bus226)
กายภาพบำบัดใน ผู้ป่วยภาวะวิกฤต รศ.สมชาย รัตนทองคำ
เป้าหมาย ผลการดำเนินงาน การบริหารจัดการด้านการเงินการคลังสุขภาพ
การพัฒนาข้อมูลสาเหตุการตาย
การบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน School- Based Management
ความผิดเกี่ยวกับหนังสือเดินทาง
การพัฒนา IT ให้บูรณาการเข้ากับโครงสร้างและระบบงาน
แผนพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ 2561
เสนอขอรับทุนท้าทายไทยและโครงการวิจัยตอบสนองนโยบาย
กองการเงินและบัญชี กรมชลประทาน
ประเด็นการขับเคลื่อนองค์การไปสู่ระบบราชการ 4.0
ตัวชี้วัดตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ (Performance Agreement: PA)
การจัดเตรียมเอกสาร ประกอบการจัดหาพัสดุของหน่วยงาน
การดูแลสุขภาพบุคลากรในโรงพยาบาล :Update องค์ความรู้ (Violence)
ขั้นตอนการดำเนินการจัดหาพัสดุ ด้วยวิธีเฉพาะเจาะจง (การจัดหาพัสดุ ครั้งหนึ่งซึ่งมีราคาไม่เกิน 100,000 บาท) - ตามพระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ.
การจัดซื้อจัดจ้าง พระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้าง และการบริหารพัสดุภาครัฐ.
บทที่ 9 ซอฟต์แวร์ทางการบัญชี
สังคม วัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทย
เงินสดและการควบคุมเงินสด
ตารางแสดงจำนวนบุคลากรแยกตามศูนย์
การขายสินค้าออนไลน์.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการรับเงิน การเบิกจ่ายเงิน การฝากเงิน การเก็บรักษาเงิน และการตรวจเงินขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ.2547แก้ไขเพิ่มเติมถึง (ฉบับที่ 3) พ.ศ.2558

ระเบียบ มท.ว่าด้วยการรับเงินฯ พ.ศ.2547 ข้อ 4 ให้ปลัดกระทรวงมหาดไทยรักษาการให้เป็นไปตามระเบียบนี้ และให้มีอำนาจตีความวินิจฉัยปัญหา กำหนดหลักเกณฑ์ และวิธีปฏิบัติ เพื่อดำเนินการให้เป็นตามระเบียบนี้ *ในกรณีที่องค์กรปกคอรงสวนท้องถิ่นไมสามารถปฏิบัติตามระเบียบนี้ได้ ให้ขอทำความตกลงกับปลัดกระทรวงมหาดไทยก่อนการปฏิบัติ *ปลัดกระทรวงมหาดไทย อาจมอบอำนาจตามวรรคสองให้ อธิบดีกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น หรือผู้ว่าราชการจังหวัดก็ได้

ระเบียบ มท.ว่าด้วยการรับเงินฯ พ.ศ.2547 ข้อ 5. ความหมาย.... ผู้เบิก : หน่วยงานที่ได้รับงบประมาณทั่วไปและงบประมาณเฉพาะการ และเงินนอกงบประมาณด้วย หลักฐานการจ่าย : หลักฐานแสดงให้เห็นว่าได้มีการจ่ายเงินให้แก่ผู้รับหรือเจ้าหนี้ตามข้อผูกพันแล้ว ใบสำคัญคู่จ่าย : หลักฐานการจ่ายเงินที่เป็นใบเสร็จรับเงิน หลักฐาน ของธนาคารที่แสดงการจ่ายเงินแก่เจ้าหนี้ หรือหลักฐานการนำเงินเข้าฝากบัญชีเงินฝากของผู้รับที่ธนาคาร และรวมถึงใบนำส่งเงินต่อหน่วยงานคลังด้วย

ระเบียบ มท.ว่าด้วยการรับเงินฯ พ.ศ.2547 ข้อ 5. ความหมาย เงินรายรับ : เงินทั้งปวงที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจัดเก็บหรือได้รับไว้เป็นกรรมสิทธิ์ตามกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ หรือจากนิติกรรม เงินนอกงบประมาณ : เงินทั้งปวงที่อยู่ในความรับผิดชอบขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เว้นแต่เงินที่ปรากฏตามงบประมาณรายจ่าย และเงินที่รัฐบาลอุดหนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นโดยระบุวัตถุประสงค์ รายงานสถานะการเงินประจำวัน : ยอดเงินรายรับและจ่ายในแต่ละวัน รวมถึงยอดเงินที่ฝากธนาคารและคลังจังหวัดด้วย เงินยืม : เงินงบประมาณหรือเงินนอกงบประมาณที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จ่ายให้แก่บุคคลใดยืมเพื่อเป็นค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการหรือปฏิบัติราชการอื่นใด

ระเบียบ มท.ว่าด้วยการรับเงินฯ พ.ศ.2547 ข้อ 5. ความหมาย.... แผนการใช้จ่ายเงิน : แผนแสดงรายละเอียดการใช้จ่ายเงินของหน่วยงานผู้เบิกในช่วงระยะเวลาใดเวลาหนึ่ง ซึ่งหน่วยงานผู้เบิกได้ยื่นต่อหน่วยงานคลังทุกระยะสามเดือน ทุนสำรองเงินสะสม : ยอดเงินสะสมจำนวนร้อยละยี่สิบห้าของยอดเงินสะสมประจำทุกสิ้นปีงบประมาณ เพื่อรักษาเสถียรภาพการเงินการคลังขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เงินสะสม : เงินที่เหลือจ่ายจากเงินรายรับตามงบประมาณรายจ่ายประจำปี และหรืองบประมาณรายจ่ายเพิ่มเติม และให้หมายความรวมถึงเงินรายรับอื่น ที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นได้รับไว้ภายในวันสิ้นปีงบประมาณหลักจากที่ได้หักทุนสำรองเงินสะสมไว้แล้ว และรวมถึงเงินสะสมปีก่อน ๆ ด้วย

ระเบียบ มท.ว่าด้วยการรับเงินฯ พ.ศ.2547 ข้อ 8 การรับเงินให้รับเป็นเงินสด การรับเป็นเช็ค หรือดร๊าฟด์ หรือตราสารอย่างอื่นให้ปฏิบัติตามวิธีการที่กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นกำหนด ข้อ 9 การรับเงินให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นออกใบเสร็จรับเงินให้แก่ผู้ชำระเงินทุกครั้ง เว้นแต่การรับเงินที่มีเอกสารขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นระบุจำนวนเงินที่ชำระอันมีลักษณะเช่นเดียวกับใบเสร็จรับเงิน และการรับเงินตามฎีกาเบิกเงินจากหน่วยงานคลัง

ระเบียบ มท.ว่าด้วยการรับเงินฯ พ.ศ.2547 ข้อ 10 ให้หน่วยงานคลังบันทึกเงินสดที่ได้รับในวันที่ได้รับเงิน -กรณีรับเงินหลังปิดบัญชีให้บันทึกบัญชีในวันนั้นและให้เก็บเงิน ในตู้นิรภัย ข้อ 12 ให้หน่วยงานคลังจัดให้มีการตรวจสอบการรับเป็นประจำทุกวัน ข้อ 13 ใบเสร็จรับเงิน ข้อ 14 ให้หน่วยงานคลังจัดทำทะเบียนคุมใบเสร็จรับเงิน ข้อ 16 เมื่อสิ้นปีให้หัวหน้าหน่วยงานที่รับใบเสร็จรับเงินไปดำเนินการจัดเก็บเงินแจ้งให้หัวหน้าหน่วยงานคลังทราบ

กรรมการเก็บรักษาเงิน ข้อ 22 แต่งตั้งกรรมการอย่างน้อยสามคน โดยหัวหน้าหน่วยงานคลังเป็นกรรมการโดยตำแหน่ง ข้อ 23 ระบุผู้ถือกุญแจตู้นิรภัย ข้อ 24 กรรมการสำรอง ปฏิบัติหน้าที่แทนชั่วคราว ข้อ 26 ให้หัวหน้าหน่วยงานคลังจัดทำรายงานสถานะการเงินประจำวัน

การรับส่งเงิน ข้อ 35 เงินที่รับไว้ตาม ข้อ 20 ในตู้นิรภัย ให้นำฝากทั้งจำนวน ถ้าฝากไม่ทันภายในวันนั้น ให้นำฝากในวันรุ่งขึ้น หรือวันทำการถัดไป การแต่งตั้งกรรมการให้ทำเป็นหนังสือ/คำสั่งไว้เป็นหลักฐาน

การเบิกเงิน การจัดทำแผนการใช้จ่ายเงิน -ให้หน่วยงานผู้เบิกจัดทำแผนเสนอให้หน่วยงานคลังทุก ๆ สามเดือน -ในกรณีจำเป็นสามารถปรับแผนการใช้จ่ายเงินได้ตามความเหมาะสม

การเบิกเงิน -ให้หน่วยงานผู้เบิกรีบวางฎีกาโดยเร็ว ข้อ 47 กากรซื้อ เช่าทรัพย์สิน หรือ จ้างทำของ -ให้หน่วยงานผู้เบิกรีบวางฎีกาโดยเร็ว -อย่างช้าไม่เกิน 5 วัน นับแต่วันที่ได้ตรวจรับทรัพย์สิน ข้อ 48 เอกสารประกอบฎีกา สัญญาซื้อ/เช่า/จ้าง ใบส่งมอบ/ใบส่งขอ/ใบแจ้งหนี้ ใบตรวจรับ เอกสารใช้เป็นภาพถ่ายหรือสำเนาซึ่งผู้เบิกลงนามรับรอง

การเบิกเงิน(ต่อ) ข้อ 56 ค่าใช้จ่ายที่เป็นรายจ่ายประจำที่เกิดขึ้นในปีใดให้เบิกจากงบประมาณรายจ่ายในปีนั้น การเบิกเงินเพื่อจ่ายให้ยืม ถ้าจำเป็นต้องจ่ายคาบเกี่ยวกับปีงบประมาณใหม่ -ให้เบิกเงินล่วงหน้าจากปีปัจจุบันได้ และให้ถือว่าเป็นค่าใช้จ่ายของปีงบประมาณที่เบิกงบประมาร

การเบิกเงิน(ต่อ) กรณีจ่ายเงินคาบเกี่ยวปีงบประมาณ -ค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการ ไม่เกิน 60 วัน -ค่าใช้จ่ายอื่น ๆ ไม่เกิน 15 วัน

การกันเงิน ข้อ 57 ก่อหนี้ผูกพันไว้ก่อนสิ้นปีงบประมาณ ให้กันเงินไว้เบิกในปีงบประมาณถัดไปได้อีก 1 ปีงบประมาณ -กันได้ทุกหมวดรายจ่าย -เป็นอำนาจผู้บริหารท้องถิ่น -หากเบิกไม่ทันภายในหนึ่งปี ให้ขอขยายต่อสภาท้องถิ่นไปอีกไม่เกิน 6 เดือน

การกันเงิน(ต่อ) ข้อ 59 กรณีไม่ก่อหนี้ผูกพัน -ให้ขอกันต่อสภาท้องถิ่น -กันได้เฉพาะหมวดค่าครุภัณฑ์ที่ดินและสิ่งก่อสร้าง -กันไว้เบิกได้อีก 1 ปีงบประมาณ -ภายใน 1 ปีก่อหนี้ไม่ทันให้ขอขยายต่อสภาได้อีก 1 ปี -หากภายใน 2 ปี ยังไม่ดำเนินการให้ตกเป็นเงินสะสม

การตรวจและอนุมัติฎีกา ข้อ 60 ให้หัวหน้าหน่วยงานคลังหรือเจ้าหน้าที่การเงินที่ได้รับมอบหมายเป็นผู้ตรวจฎีกา -มีลายมือชื่อผู้เบิกครบถ้วน -มีหนี้ผูกพัน และจำเป็นต้องจ่าย -มีเงินงบประมาณเพียงพอ -มีเอกสารประกอบฎีกาครบถ้วน

การอนุมัติฎีกา ข้อ 64 การอนุมัติฎีกาค่าซื้อทรัพย์สิน/จ้างทำของ ไม่มีเหตุทักท้วง ให้ดำเนินการให้แล้วเสร็จภายใน 3 วันทำการนับจากวันรับฎีกา มีเหตุทักท้วง ให้ดำเนินการให้แล้วเสร็จภายใน 3 วันทำการนับแต่วันแก้ไขเสร็จวิธีพิเศษ

การจ่ายเงิน ข้อ 67 จะจ่ายเงิน/ก่อหนี้ ให้กระทำได้เฉพาะที่กฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ หนังสือสั่งการ มท.กำหนด ข้อ 68 การจ่ายเงินให้แก่เจ้าหนี้ กรณีซื้อ/จ้าง/เช่าทรัพย์สิน -ให้จ่ายเป็นเช็คในนามเจ้าหนี้ -กรณีมีความจำเป็นต้องนำเงินสดมาจ่าย ให้จ่ายในนามหัวหน้าหน่วยงานคลังวงเงินต่ำกว่า 2,000 บาท

การจ่ายเงิน(ต่อ) ให้ผู้จ่ายหักภาษีใด ณ ที่จ่าย ข้อ 71 การจ่ายเงินทุกกรณี ให้ผู้จ่ายหักภาษีใด ณ ที่จ่าย บุคคลธรรมดาจ่ายครั้งหนึ่ง 10,000 บาทขึ้นไป นิติบุคคล 500 บาทขึ้นไป

หลักฐานการจ่าย ข้อ 77 ให้ผู้จ่ายลงนามรับรองการจ่ายพร้อมทั้งมีชื่อสกุลด้วยตัวบรรจง กรณีเป็นใบสำคัญคู่จ่าย ให้หัวหน้าหน่วยงานคลังลงลายมือชื่อรับรองความถูกต้องไว้ด้วย

การจ่ายเงินยืม ข้อ 84-85 ห้ามยืมแทนกัน ไม่มีเงินยืมเก่าค้างส่ง กรณีเดินทางไปราชการปกติ ภายใน 15 วัน นับจากวันเดินทางกลับมาถึงอบการพิจารณาของผู้ว่าฯ กรณีอื่น ๆ ภายใน 30 วันนับแต่วันรับเงิน

เงินสะสม ข้อ 87 ให้กันยอดเงินสะสมไว้ร้อยละยี่สิบห้าของทุกปี ไว้เป็นทุนสำรองเงินสะสม

การใช้ทุนสำรองเงินสะสม มีเงินสะสมส่วนที่เหลือมีไม่เพียงพอ ขออนุมัติผู้ว่าฯ มียอดเงินสำรองฯเกินร้อยละ 25 ของประมาณการรายจ่ายประจำปีนั้น -ขออนุมัติจากสภาท้องถิ่น ภายใต้ข้อ 89(1)

เงินสะสม(ต่อ) ข้อ 88 เมื่องบประมาณรายจ่ายอนุมัติแล้ว -สามเดือนแรกรายได้ไม่เข้า ให้ใช้เงินสะสมไปพลางก่อนได้ -กรณีทราบยอดเงินอุดหนุนเฉพาะกิจแล้ว สามารถยืมเงินสะสมจ่ายก่อนได้

ทำดได้เฉพาะในอำนาจหน้าที่ แต่มีเงื่อนไข -บริการชุมชนและสังคม เงินสะสม(ต่อ) ข้อ 89 ใช้เงินสะสมอำนาจสภาท้องถิ่น ทำดได้เฉพาะในอำนาจหน้าที่ แต่มีเงื่อนไข -บริการชุมชนและสังคม -เพิ่มพูนรายได้ให้ อปท. -บำบัดความเดือดร้อนของประชาชน -ต้องปรากฏในแผนพัฒนา อปท.

เงินสะสม(ต่อ) ข้อ 90 จ่ายขาดเงินสะสมอำนาจผู้บริหาร รับโอน เลื่อนระดับ เลื่อนขั้นเงินเดือน เบิกให้ผู้บริหาร รองนายก สมาชิก และพนักงาน อปท.ตามสิทธิ

เงินสะสม(ต่อ) ข้อ 91 ภายใต้ ข้อ 89 จ่ายขาดเงินสะสม กรณีฉุกเฉินเกิดสาธารณภัย เป็นอำนาจผู้บริหารท้องถิ่น ตามความจำเป็น โดยให้คำนึงถึงฐานะการคลัง

การถอนคืนเงินรายรับ (ลาภมิควรได้) ถอนภายในปีงบประมาณ -อำนาจผู้บริหารท้องถิ่น ข้ามปีงบประมาณ -อำนาจสภาท้องถิ่น

การตรวจเงิน ข้อ 89 การจัดทำบัญชี ข้อ 90 การจัดทำงบเดือน ข้อ100 การจัดทำงบประจำปี -ส่ง สตง.ภายใน 90 วันนับแต่วันสิ้นปีงบประมาณ ข้อ 101 ประกาศสำเนางบแสดงฐานะการเงินฯ

เงินเศรษฐกิจชุมชน (น.ที่ มท 0808.3/0132 ลว.11 ม.ค2551 กรณี อบต.ยกฐานะเป็นเทศบาล ให้เทศบาลคืนเงินให้อำเภอ กรณีได้เงินคืนยังไม่ครบให้รายงานนายอำเภอ ให้เทศบาลตั้งงบประมาณชดใช้แล้วติดตามคืนให้ครบ

ระเบียบ ทม.ว่าด้วยการรับเงินฯแก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 3) พ.ศ.2558 ระเบียบ ทม.ว่าด้วยการรับเงินฯแก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 3) พ.ศ.2558 มีผลบังคับใช้ วันที่ 26 กันยายน 2558 ข้อ 5 ให้ยกเลิกข้อ 8 (ระเบียบเดิม) แก้ไขเป็น “การรับเงินให้รับเป็น เงินสด ส่วนการรับเช็ค ดราฟท์ หรือตราสารอย่างอื่น หรือโดยวิธีอื่นใด ให้ปฏิบัติตามวิธีการที่กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นกำหนด” ข้อ 6 ให้ยกเบิก ข้อ 10(ระเบียบเดิม) แก้ไขเป็น “ให้หน่วยงานคลังบันทึกเงินสดที่ได้รับในสมุดเงินสด ภายในวันที่ได้รับเงินสด เช็คหรือดราฟท์ หรือตราสารอย่างอื่น หรือโดยวิธีอื่นใดนั้น โดยแสดงให้ทราบว่าได้รับเงินตามฎีกา ใบเสร็จรับเงิน หรือเอกสารอื่น เล่มใด เลขใด จำนวนเท่าใด”

ระเบียบ มท.ว่าด้วยการรับเงินฯ แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 3) พ.ศ.2558 ระเบียบ มท.ว่าด้วยการรับเงินฯ แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 3) พ.ศ.2558 ข้อ 7 ให้ยกเลิก ข้อ 46 (เดิม) เป็น “การเบิกเงินเดือน ค่าจ้าง บำเหน็จบำนาญ เงินประจำตำแหน่ง เงินเพิ่ม เงินประโยชน์ตอบแทนอื่น เงินช่วยเหลือและเงินอื่นในลักษณะเดียวกัน ให้เป็นไปตามกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ คำสั่งหรือหนังสือสั่งการของกระทรวงมหาดไทย” ข้อ 8 ให้เพิ่ม “ข้อ 59/1 รายจ่ายเงินเดือน ค่าจ้าง บำเหน็จบำนาญ เงินประจำตำแหน่ง เงินเพิ่ม เงินประโยชน์ตอบแทนอื่น เงินช่วยเหลือและเงินอื่นในลักษณะเดียวกัน หากเบิกไม่ทันสิ้นปีและมีความจำเป็นต้องใช้จ่ายเงินนั้นต่อไปอีก ให้ผู้บริหารท้องถิ่นอนุมัติให้กันเงินได้ไม่เกิน เก้าสิบวัน”

ระเบียบ มท.ว่าด้วยการรับเงินฯ แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 3) พ.ศ.2558 ระเบียบ มท.ว่าด้วยการรับเงินฯ แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 3) พ.ศ.2558 ข้อ 9 ให้ยกเลิกความใน (5) ของข้อ 84 “(5) ในกรณีที่ผู้ยืมจะต้องพ้นจากตำแหน่งหรือพ้นจากการปฏิบัติงานให้แก่ อปท.ไม่ว่ากรณีใด ๆ ให้หัวหน้าหน่วยงานคลังมีหน้าที่ตรวจสอบทะเบียนเงินยืมของบุคคลดังกล่าว หากปรากฏว่ายังค้างเงินยืมอยู่ ให้หัวหน้าหน่วยงานคลังเร่งรัดให้เสร็จสิ้นทันที ก่อนที่ผู้ยืมจะต้องพ้นจากตำแหน่งหน้าที่ไปหรือพ้นจากการปฏิบัติงานให้แก่ อปท.ไป ในกรณีที่ผู้ยืมถึงแก่กรรมหรือไม่ยินยอมชดใช้เงินยืมให้นำความใน (2) มาใช้บังคับโดยอนุโลม”(ให้หักเงินเดือนฯ)

ระเบียบ มท.ว่าด้วยการรับเงินฯ แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 3) พ.ศ.2558 ระเบียบ มท.ว่าด้วยการรับเงินฯ แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 3) พ.ศ.2558 ข้อ 10 ให้ยกเลิกข้อความในข้อ 93,94 เป็น “ข้อ 93 ให้หน่วยงานคลังจัดทำรายงานเงินสะสมและทุนสำรองเงินสะสม ณ วันสิ้นเดือนมีนาคม และกันยายนตามแบบรายงานที่กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นกำหนดส่งให้สำนักงานส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นจังหวัดตรวจสอบแล้วรายงานให้ผู้ว่าราชการจังหวัดทราบภายในเดือนเมษายน และเดือนตุลาคมของทุกปี “ข้อ 94 กรณี อปท.ได้รับเงินรายรับและต่อมามีการขอคืนในลักษณะของลาภมิควรได้ภายในกำหนดอายุความ ให้ อปท.ถอนคืนเงินรายรับ โดยถือปฏิบัติตาม ข้อ 95 และข้อ 96

ระเบียบ มท.ว่าด้วยการรับเงินฯ แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 3) พ.ศ.2558 ระเบียบ มท.ว่าด้วยการรับเงินฯ แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 3) พ.ศ.2558 ข้อ 11 ให้เพิ่มข้อความเป็นวรรคสองของข้อ 98 “การจัดทำบัญชีโดยระบบบัญชีคอมพิวเตอร์ของ อปท.ให้เป็นไปตามหมวด 11” ข้อ 12 ให้เพิ่มความ ในข้อ 101/1 “ข้อ 101/1 ให้หัวหน้าหน่วยงานคลังจัดทำรายงานแสดงผลการดำเนินงานรายไตรมาส ตามที่กรม.สถ.กำหนดเสนอผู้บริหาร อปท.ภายในสามสิบวันนับจากวันสิ้นไตรมาส และประกาศสำเนารายงานดังกล่าวโดยเปิดเผยให้ประชาชนทราบ ณ สำนักงาน อปท.ภายในสิบห้าวันนับแต่วันที่ผู้บริหารรับทราบรายงานดังกล่าว”

ระเบียบ มท.ว่าด้วยการรับเงินฯ แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 3) พ.ศ.2558 ระเบียบ มท.ว่าด้วยการรับเงินฯ แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 3) พ.ศ.2558 ข้อ 13 ให้ยกเลิกข้อความ ข้อ 104 “ข้อ 104 ให้สำนักงานส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นจังหวัด ตรวจสอบการจัดทำบัญชี และรายงานการเงินของ อปท.อย่างน้อยปีละหนึ่งครั้ง พร้อมทั้งรายงานให้ผู้ว่าราชการจังหวัดทราบภายในสิบห้าวันนับแต่วันที่ได้ทำการตรวจสอบแล้วเสร็จ” ข้อ 14 ให้ยกเลิกชื่อหมวด 11 “เบ็ดเตล็ด” และให้ใช้ชื่อ “ระบบบัญชีคอมพิวเตอร์ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (E lectronic Local Administrative Accounting System : e-LAAS) ซึ่งอย่างน้อยประกอบด้วยระบบการทำงาน 4 ระบบ ดังนี้

ระเบียบ มท.ว่าด้วยการรับเงินฯ แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 3) พ.ศ.2558 ระเบียบ มท.ว่าด้วยการรับเงินฯ แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 3) พ.ศ.2558 (1) ระบบงบประมาณ ประกอบด้วยการจัดทำข้อบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปี ข้อบัญญัติงบประมาณรายจ่ายเพิ่มเติม เทศบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปี เทศบัญญัติงบประมาณรายจ่ายเพิ่มเติม การโอน และการแก้ไข เปลี่ยนแปลงคำชี้แจงงบประมาณ รวมทั้งการควบคุมงบประมาณและรายงานยอดงบประมาณคงเหลือ (2) ระบบรายรับ ประกอบด้วยการรับเงินทุกประเภท รวมทั้งการออกใบเสร็จรับเงิน และหลักฐานการรับเงิน รายงานและทะเบียนต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง

ระเบียบ มท.ว่าด้วยการรับเงินฯ แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 3) พ.ศ.2558 ระเบียบ มท.ว่าด้วยการรับเงินฯ แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 3) พ.ศ.2558 (3) ระบบรายจ่าย ประกอบด้วยการก่อหนี้ผูกพันและการเบิกจ่ายเงิน รวมทั้งการจัดทำฎีกา รายงาน และทะเบียนต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง (4) ระบบบัญชี ประกอบด้วยการจัดทำบัญชีและทะเบียนต่าง ๆ รวมทั้งการจัดทำรายงานการเงินขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น”

ระเบียบ มท.ว่าด้วยการรับเงินฯ แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 3) พ.ศ.2558 ระเบียบ มท.ว่าด้วยการรับเงินฯ แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 3) พ.ศ.2558 ให้เพิ่มข้อความในข้อ 105/1 และ 105/2 “ข้อ 105/1 ให้กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น วางระบบ กำหนดวิธีปฏิบัติงาน การบริหารพัฒนาระบบ การส่งเสริมและกำกับดูแลการปฏิบัติงานระบบบัญชีคอมพิวเตอร์ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ข้อ 105/2 ให้สำนักงานส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นจังหวัด ส่งเสริมสนับสนุนรวมทั้งกำกับดูแลการปฏิบัติงานในระบบบัญชีคอมพิวเตอร์ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ให้เป็นไปตามที่กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นกำหนด”

ระเบียบ มท.ว่าด้วยการรับเงินฯ แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 3) พ.ศ.2558 ระเบียบ มท.ว่าด้วยการรับเงินฯ แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 3) พ.ศ.2558 ข้อ 17 การปฏิบัติงานในระบบบัญชีคอมพิวเตอร์ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่ได้ดำเนินการตามระเบียบ ข้อบังคับ ประกาศ คำสั่ง หรือหนังสือสั่งการไปก่อนวันที่ระเบียบนี้มีผลใช้บังคับ ให้ถือว่าเป็นการปฏิบัติงานในระบบบัญชีคอมพิวเตอร์ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นตามระเบียบนี้ ข้อ 18 ในวาระเริ่มแรก หาก อปท.ยังไม่พร้อมปฏิบัติ ตามหมวด 11 ระบบบัญชีคอมพิวเตอร์ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น(e-LAAS) ตามระเบียบนี้ ให้ อปท.นั้นปฏิบัติตามระเบียบ ข้องบังคับ ประกาศ คำสั่ง หรือหนังสือสั่งการเดิมต่อไปได้ แต่ทั้งนี้ต้องไม่เกินหนึ่งร้อยแปดสิบวันนับแต่ระเบียบนี้มีผลใช้บังคับ

ระเบียบ มท.ว่าด้วยการรับเงินฯ ข้อ 14 ให้หน่วยงานคลังจัดทำทะเบียนคุมใบเสร็จรับเงิน ข้อ 16 ให้หน่วยงานคลังรายงานการใช้ใบเสร็จรับเงิน ทุกสิ้นปีงบประมาณ ให้เสร็จอย่างช้าภายในวันที่ 31 ตุลาคม ของปีถัดไป

ระเบียบ มท.ว่าด้วยการรับเงินฯ แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 3) พ.ศ.2558 ระเบียบ มท.ว่าด้วยการรับเงินฯ แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 3) พ.ศ.2558 ข้อ 18 ในวาระเริ่มแรก หาก อปท.ยังไม่พร้อมปฏิบัติ ตามหมวด 11 ระบบบัญชีคอมพิวเตอร์ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น(Electronic Local Administrative Accountine System : e-LAAS) ตามระเบียบนี้ ให้ อปท.นั้นปฏิบัติตามระเบียบ ข้องบังคับ ประกาศ คำสั่ง หรือหนังสือสั่งการเดิมต่อไปได้ แต่ทั้งนี้ต้องไม่เกินหนึ่งร้อยแปดสิบวันนับแต่ระเบียบนี้มีผลใช้บังคับ (23 มีนาคม 2559) (26 ก.ย.58 – 23 มี.ค.59 = 180 วัน)

ระเบียบ มท.ว่าด้วยการรับเงินฯ แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 3) พ.ศ.2558 ระเบียบ มท.ว่าด้วยการรับเงินฯ แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 3) พ.ศ.2558 ข้อ 19 บรรดาระเบียบ ข้อบังคับ ประกาศ คำสั่ง หรือหนังสือสั่งการ ที่ใช้อยู่ก่อนวันที่ระเบียบนี้มีผลใช้บังคับ ให้ใช้ต่อไปโดยอนุโลม เท่าที่ไม่ขัดหรือแย้งกับระเบียบนี้

สวัสดี ชูเดช เปสุริยะ โทร.0878629799 ชูเดช เปสุริยะ นักวิชาการเงินและบัญชีชำนาญการ สำนักงานส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นจังหวัดขอนแก่น โทร.0878629799