สถิติชีพและสถานะสุขภาพ พื้นที่เครือข่ายบริการสุขภาพที่ ๑๒

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Faculty of Public Health, Mahasarakham University, Thailand
Advertisements

เครื่องมือและเทคนิคการทำงานแบบมีส่วนร่วมของชุมชน
SWOT.
1 คณะที่ 5 การตรวจราชการแบบบูรณา การ ร่วมกับสำนักนายกรัฐมนตรี
กลยุทธ์การ บริหารงานอุตสาหกรรม (Industrial Management Strategy) สัปดาห์ที่ 1 อาจารย์ชาญฉจิต วรรณนุรักษ์ ภาควิชาการจัดการอุตสาหกรรมคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
จังหวัดกาฬสินธุ์ของเราจะมีงานวิจัยที่ดีและจำนวนมากพอได้อย่างไร?จังหวัดกาฬสินธุ์ของเราจะมีงานวิจัยที่ดีและจำนวนมากพอได้อย่างไร? สงัด เชื้อลิ้นฟ้า (BPH,
บทบาทหน้าที่ของทีม สุขภาพจิตในระบบใหม่ ของกระทรวงสาธารณสุข.
การบริหารผลการปฏิบัติงาน (Performance Management).
นายรังสรรค์ ศรีล้วน สรุปผลการดำเนินงานระบบสุขภาพอำเภอ 2558 ระบบสุขภาพอำเภอจังหวัดอุบลราชธานี
บริษัท จำกัด Logo company
หน่วยที่ 3 การวิเคราะห์ผลการประเมินระดับชาติและ
รายละเอียดตัวชี้วัดตาม คำรับรองการปฏิบัติราชการ
รองผู้อำนวยการฝ่ายการแพทย์ รพ.สมุทรสาคร
ผศ.ดร.กมลพร สอนศรี คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
ยุทธศาสตร์ 20 ปี 5 ปี และปี 2561.
ประเด็นนำเสนอ(DM/HT,Stroke,CPOD)
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่
การโฆษณาผ่านสื่อดิจิทัล AMC4301
การจัดทำแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม
P eople centered approach M astery Retreat MOPH เป็นองค์กรหลักด้านสุขภาพ ที่รวมพลังสังคม เพื่อประชาชนสุขภาพดี พัฒนาและอภิบาลระบบสุขภาพ อย่างมีส่วนร่วมและยั่งยืน.
สร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค
Family Care Team : ทีมหมอครอบครัว
ดร.นพ.ภานุวัฒน์ ปานเกตุ ผู้อำนวยการสำนักโรคไม่ติดต่อ
เป้าหมาย SP สุขภาพจิต # ดูแลตนเองได้ # ครอบครัว/ชุมชน #ลดความรุนแรง
เทศบาลนครขอนแก่น ยินดีต้อนรับ
เขตสุขภาพ ที่11.
ตัวชี้วัดที่ 2.1 ระดับความสำเร็จของการถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับหน่วยงาน/กลุ่มงานสู่ระดับบุคคล.
Service Plan สุขภาพจิต จิตเวชและยาเสพติด
กรอบแนวคิดในการพัฒนา มาตรฐานการจัดบริการอาชีวอนามัย
P S BB ART ระบบงบประมาณแบบมุ่งเน้น ผลงานตามยุทธศาสตร์ กับ PART ผลผลิต
การประชุมคณะกรรมการโครงการ DHS South phase 2 ครั้งที่ 1/2560
การปฏิรูปการศึกษาเพื่อพัฒนาคนอย่างยั่งยืน พ.ศ
การปฐมนิเทศนักศึกษาฝึกงาน โรงเรียนเทคโนโลยีภาคตะวันออก (อี.เทค)
ค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรม,การจัดงาน
(Promotion and Prevention Excellence) นายแพทย์ธงชัย เลิศวิไลรัตนพงศ์
ผู้อำนวยการวิทยาลัยเทคโนโลยีไทย-ไต้หวัน (BDI)
ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ประชุมสายงานบริการ ครั้งที่ 3/2562
ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ความก้าวหน้าการขับเคลื่อน งานวิชาการและนวัตกรรม กรมอนามัยปี ๒๕๖๑
การขับเคลื่อนการพัฒนาองค์กร นายแพทย์ธงชัย เลิศวิไลรัตนพงศ์
กรอบการบริหารยุทธศาสตร์ด้านสุขภาพ ปี 2560
การพัฒนาระบบการดูแลผู้สูงอายุระยะยาวอำเภอบางละมุง จังหวัดชลบุรี
P eople centered approach M astery Retreat MOPH เป็นองค์กรหลักด้านสุขภาพ ที่รวมพลังสังคม เพื่อประชาชนสุขภาพดี พัฒนาและอภิบาลระบบสุขภาพ อย่างมีส่วนร่วมและยั่งยืน.
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดตรัง
สาขาการพัฒนาเครือข่าย สุขภาพอำเภอและบริการปฐมภูมิ เขตสุขภาพที่ 2
นพ.ทวีทรัพย์ ศิรประภาศิริ สำนักงานคณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ
คำถามที่ 1 ๒.๔ การวิเคราะห์ศักยภาพของอำเภอ ๑) ด้านเศรษฐกิจ
การบริหารเชิงกลยุทธ์ (Strategic Management)
วันที่ 29 สิงหาคม 2562 นายบรรเจิด เดชาศิลปชัยกุล เภสัชกรเชี่ยวชาญ
การเปลี่ยนแปลงเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ ปลัดกระทรวงสาธารณสุข
การประชุมการพัฒนาระบบบริการสุขภาพ service plan จังหวัดพิษณุโลก
แผนพัฒนาบริการสุขภาพ พิษณุโลก อุตรดิตถ์ เพชรบูรณ์ สุโขทัย ตาก
การบริหารจัดการกำลังคน เครือข่ายบริการที่ 5
พระราชบัญญัติสุขภาพจิต พ.ศ สถาบันกัลยาณ์ราชนครินทร์
งานการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน
สร้างเครือข่ายในชุมชน
จุดที่ควรปรับปรุง SR 1 และ SR 2.
นโยบายและแนวทางการเตรียมความพร้อมเพื่อเข้าสู่ประชาคมอาเซียน
- การกำหนดวิสัยทัศน์ ภารกิจ วัตถุประสงค์และเป้าหมาย
การสวัสดิการกองทัพเรือ
อภิญญา เวชยชัย ประธานคณะกรรมการติดตามและประเมินผล
(ตัวอย่าง)การวิเคราะห์สภาวะภายใน
ฝึกปฏิบัติบูรณาการ แผนชุมชนระดับตำบล
การประชุม พบส.ทันตสาธารณสุข
Output ที่ต้องการ (คาดหวัง) ระบบงาน หรือ มาตรฐานการดำเนินงานที่ควรมี
P P P การพัฒนากระบวนการคุณภาพในมิติของ 3P
สภาพแวดล้อมทางการตลาด
ร้อยละ 80 ของโรงพยาบาลที่ใช้ยาอย่างสมเหตุผล
ใบงานกลุ่มย่อย.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สถิติชีพและสถานะสุขภาพ พื้นที่เครือข่ายบริการสุขภาพที่ ๑๒

อัตราเกิด อัตราตาย และอัตราเพิ่มของประชากร ปี 2555 ระดับประเทศ 18.4 2

อัตราป่วยของผู้ป่วยใน 5 อันดับแรก ปี 2555 ระดับประเทศ 18.4 ที่มา : รายงานสรุปผลการตรวจราชการ รอบที่ 1/2556 3

อัตราตายของประชากร 5 อันดับแรก ปี 2555 ระดับประเทศ 18.4 ที่มา : รายงานสรุปผลการตรวจราชการ รอบที่ 1/2556 4

สถานการณ์การป่วยและตาย ด้วยโรคติดต่อ

อัตราป่วยด้วยโรคที่ติดต่อที่นำโดยแมลง ปี 2551 – 2555 ใน 7 จังหวัดภาคใต้ตอนล่าง อัตราต่อแสนประชากร ปี (พ.ศ.) แหล่งที่มา : สำนักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค

อัตราป่วยด้วยโรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน 2551 – 2555 อัตราป่วยด้วยโรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน 2551 – 2555 ใน 7 จังหวัดภาคใต้ตอนล่าง อัตราต่อแสนประชากร ปี (พ.ศ.) แหล่งที่มา : สำนักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค

อัตราป่วยด้วยโรคที่ติดต่อทางอาหารและน้ำเป็นสื่อ ปี 2551 – 2555 ใน 7 จังหวัดภาคใต้ตอนล่าง อัตราต่อแสนประชากร ปี (พ.ศ.) แหล่งที่มา : สำนักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค

สถานการณ์ด้านอนามัยแม่และเด็ก

อัตราส่วนการตายของมารดา ปีงบประมาณ 2544 – 2555 อัตราส่วนการตายของมารดา ปีงบประมาณ 2544 – 2555 ใน 7 จังหวัดภาคใต้ตอนล่าง เป้าหมายการพัฒนาแห่งสหัสวรรษของประเทศไทย (Millennium Development Goals- MDG+) กำหนดให้ลดอัตราส่วนการตายของมารดาในเขตพื้นที่สูงจังหวัดภาคเหนือบางแห่งและสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ลงครึ่งหนึ่งในช่วงปี 2548 – 2558 ปีงบฯ56 ผลงาน ตค. 55 – มีค. 56 งานอนามัยแม่และเด็ก ศูนย์อนามัยที่ ๑๒ ยะลา

อัตราตายปริกำเนิดของทารก ปีงบประมาณ 2544 – 2555 อัตราตายปริกำเนิดของทารก ปีงบประมาณ 2544 – 2555 ใน 7 จังหวัดภาคใต้ตอนล่าง เป้าหมายการพัฒนาแห่งสหัสวรรษของประเทศไทย (Millennium Development Goals- MDG+) กำหนดให้ลดอัตราส่วนการตายของมารดาในเขตพื้นที่สูงจังหวัดภาคเหนือบางแห่งและสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ลงครึ่งหนึ่งในช่วงปี 2548 – 2558 งบ, 56 ผลงาน ตค. 55 – มีค. 56 งานอนามัยแม่และเด็ก ศูนย์อนามัยที่ ๑๒ ยะลา

อัตราภาวะโลหิตจางในหญิงตั้งครรภ์ ปีงบประมาณ 2544 – 2555 อัตราภาวะโลหิตจางในหญิงตั้งครรภ์ ปีงบประมาณ 2544 – 2555 ใน 7 จังหวัดภาคใต้ตอนล่าง เป้าหมายการพัฒนาแห่งสหัสวรรษของประเทศไทย (Millennium Development Goals- MDG+) กำหนดให้ลดอัตราส่วนการตายของมารดาในเขตพื้นที่สูงจังหวัดภาคเหนือบางแห่งและสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ลงครึ่งหนึ่งในช่วงปี 2548 – 2558 งานอนามัยแม่และเด็ก ศูนย์อนามัยที่ ๑๒ ยะลา

อัตราหญิงคลอดบุตรต่ำกว่า 20 ปี 2544 – 2555 ใน 7 จังหวัดภาคใต้ตอนล่าง ใน 7 จังหวัดภาคใต้ตอนล่าง เป้าหมายการพัฒนาแห่งสหัสวรรษของประเทศไทย (Millennium Development Goals- MDG+) กำหนดให้ลดอัตราส่วนการตายของมารดาในเขตพื้นที่สูงจังหวัดภาคเหนือบางแห่งและสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ลงครึ่งหนึ่งในช่วงปี 2548 – 2558 งานอนามัยแม่และเด็ก ศูนย์อนามัยที่ ๑๒ ยะลา

อัตราส่วนการตายของมารดา ปีงบประมาณ 2553 – 2555 อัตราส่วนการตายของมารดา ปีงบประมาณ 2553 – 2555 เป้าหมายไม่เกิน 18 : 100,000 การเกิดมีชีพ (ประเทศ) 24 : 100,000 การเกิดมีชีพ (5 จชต.) Institute for Health Metrics and Evaluation ระดับประเทศ 40.0 จากรายงาน ปี 52 - 35.2 แหล่งข้อมูลระดับประเทศ : คาดประมาณโดย IHME อ้างถึงใน รายงานประจำปี 2554 กรมอนามัย ข้อมูลระดับจังหวัด : สสจ. งานอนามัยแม่และเด็ก ศูนย์อนามัยที่ ๑๒ ยะลา

อัตราตายปริกำเนิดของทารก เป้าหมายไม่เกิน 9 : 1,000 ทารกคลอดทั้งหมด แหล่งข้อมูลระดับประเทศ : รายงานประจำปี 2554 กรมอนามัย ข้อมูลระดับจังหวัด : สสจ. งานอนามัยแม่และเด็ก ศูนย์อนามัยที่ ๑๒ ยะลา

อัตราภาวะโลหิตจางในหญิงตั้งครรภ์ เป้าหมาย ไม่เกินร้อยละ 10 ระดับประเทศ 18.4 แหล่งข้อมูลระดับประเทศ : รายงานประจำปี 2554 กรมอนามัย ข้อมูลระดับจังหวัด : สสจ. งานอนามัยแม่และเด็ก ศูนย์อนามัยที่ ๑๒ ยะลา

อัตราหญิงคลอดบุตรอายุต่ำกว่า 20 ปี เป้าหมายไม่เกิน ร้อยละ 10 เป้าหมายไม่เกิน ร้อยละ 10 ประเทศร้อยละ 18 แหล่งข้อมูลระดับประเทศ : รายงานประจำปี 2554 กรมอนามัย ข้อมูลระดับจังหวัด : สสจ. งานอนามัยแม่และเด็ก ศูนย์อนามัยที่ ๑๒ ยะลา

สถานการณ์ทันตสุขภาพ

สถานการณ์ผลกระทบ จากปัญหาความไม่สงบ ในจังหวัดชายแดนใต้

อัตราการบาดเจ็บและตายจากความรุนแรง ในพื้นที่จังหวัดชายแดนใต้ ปี 2550-2555 ระดับประเทศ 18.4 22

SWOT

การวิเคราะห์ปัจจัยภายนอกและปัจจัยภายใน การพัฒนาระบบสุขภาพเครือข่ายบริการสุขภาพ ปีงบฯ ๒๕๕๕ สถานการณ์ ด้านสุขภาพ เครือข่ายบริการสุขภาพ ๑.นโยบายของส่วนกลาง สอดคล้องกับปัญหาของพื้นที ๒.กระทรวงฯ มีนโยบายสนับสนุน งบประมาณแบบ Box Grant ๓.ภาคีเครือข่าย /สมาคม อสม./ ภาคประชาชน มีความเข้มแข็ง ๔.ความก้าวหน้าของเทคโนโลยี สารสนเทศช่วยให้การบริการจัด การงานสะดวกขึ้น ๕.มีกองทุนสุขภาพตำบล และกองทุน อืน ๆ ในพื้นที่สนับสนุนงานด้าน สุขภาพ ๖.ประชาชนยอมรับการแพทย์แผนไทย เพิ่มมากขึ้น ๑.ประชาชนมีความเชื่อถือในโรงพยาบาล ระดับสูงที่การรักษาซับซ้อน ส่งผลให้เกิด ความแออัดมากขึ้น ๒.ประชาชนมีพฤติกรรมเสี่ยง(บริโภคหวาน มัน เค็ม) ที่ส่งผลต่อการป่วยด้วยโรคเรื้อรังสูง ๓.พื้นที่มีโรคระบาดต่อเนื่อง(ไข้เลือดออก โรคคอตีบ) ๔.ขาดการบูรณาการดำเนินงานอาหาร ปลอดภัยทั้งในระดับเขตและพื้นที่ ๕.ปัจจัยด้านสังคม/สิ่งแวดล้อม ส่งผลต่อการ ตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร และการใช้สารเสพติด ๖.ปัญหาความไม่สงบใน ๓ จังหวัดชายแดน ภาคใต้ทำให้การปฏิบัติงานเชิงรุกยากขึ้น ๗.ประชากรในพื้นที่ก้าวเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ ทำให้มีวัยพึ่งพิงด้านสุขภาพเพิ่มมากขึ้น ๘.ท้องถิ่นยังจัดการด้านขยะและและสิ่งแวดล้อม ยังไม่ดีพอทำให้เกิดผลกระทบสุขภาพ O T

การวิเคราะห์ปัจจัยภายนอกและปัจจัยภายใน การพัฒนาระบบสุขภาพเครือข่ายบริการสุขภาพ ปีงบฯ ๒๕๕๕ ๑.แต่ละจังหวัดมี รพสต.ครอบคลุมทุกพื้นที่ ๒.มี อสม.รับผิดชอบครอบคลุมทุกหลังคาเรือน ๓.หน่วยบริการมีโปรแกรมสำเร็จรูปในการ บันทึกการบริการที่ชัดเจนเป็นรูปธรรม ๔.หน่วยบริการมีนักจัดการสุขภาพครอบครัว ที่เพียงพอ ๕.พื้นที่มีนวตกรรมสร้างสุขภาพเพิ่มมากขึ้น ทุกปี ๖.มีงบประมาณเพียงพอในการแก้ปัญหาระดับ พื้นที่ ๗.ระดับเขตมีนโยบายในการขับเคลื่อนงาน และมีถ่ายทอดลงสู่ระดับพื้นที่ที่ชัดเจน ๘.มีแหล่งงบประมาณในการสนับสนุนการ แก้ปัญหาจากหลายแหล่ง (สป.สช./ผลผลิต/ สสส./สช) กลยุทธ์ (S/O) ๑.จัดการสุขภาพเชิงรุกโดย กระบวนการเรียนรู้ตามบริบท ชุมชน (S1,2,4,5,6,7,8, O1,2) ๒.สร้างรูปแบบการจัดการสุขภาพเชิง รุกแบบมีส่วนร่วม (S1,2,4,7 O1,3,5,6) ๓.พัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศให้ เป็นเอกภาพและเชื่อมโยงทุกระดับ (S!,3.5.6.8 O1,4) ๔.สร้างเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในการ พัฒนานวัตกรรมชุมชน (S1,5,6 O1,4) กลยุทธ์ (S/T) ๑.ส่งเสริมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ประชาชนโดยนักจัดการสุขภาพ ครอบครัวและภาคเครือข่าย (S4,5 T2,4) ๒.พัฒนาระบบการจัดการภัยสุขภาพและ การตอบโต้ภาวะฉุกเฉินโดยการบูรณา การทุกภาคส่วน (S4,7,8 T3,5,6,8) ๓.พัฒนาหน่วยบริการปฐมภูมิให้มี ประสิทธิภาพพร้อมบริการขั้นพื้นฐาน ที่เต็มรูปแบบ (S1,2,3,4,6,8 T1,6,7) S

การวิเคราะห์ปัจจัยภายนอกและปัจจัยภายใน การพัฒนาระบบสุขภาพเครือข่ายบริการสุขภาพ ปีงบฯ ๒๕๕๕ ๑.ระดับเขตมีโครงสร้าง/องค์กร ไม่ชัดเจน ๒.การบูรณาการงานในเครือข่ายยังไม่มี ประสิทธิภาพเท่าที่ควร ๓.ระดับเขตยังไม่มีศูนย์ข้อมูลที่ชัดเจน ๔.หน่วยบริหาร/หน่วยบริการผ่านเกณฑ์ คุณภาพตามมาตรฐานยังไม่ครอบคลุมทุกพื้นที่ (รพศ/รพท./รพช.ผ่านเกณฑ์ ร้อยละ ๕๒.๖๓) ๕.หน่วยงานบริการบางแห่ง (๒๖ แห่งใน ๗๔ แห่ง) ไม่มีสภาพคล่องทางการเงิน ๖.บุคลากรสาธารณสุขเฉพาะสาขายังไม่เพียงพอ ในบางพื้นที่ (ทันตแพทย์ แพทย์เฉพาะสาขา) กลยุทธ์ (W/O) ๑.เสริมสร้างรูปแบบการจัดการ สุขภาพแบบมีส่วนร่วม (W1,2 O1,2) ๒.ส่งเสริมการจัดบริการการแพทย์ ไทย การแพทย์ทางเลือกให้มี บริการทุกระดับ (W2,3,4,5 O5,6) ๓.พัฒนาคุณภาพหน่วยงานให้ผ่าน เกณฑ์มาตรฐานโดยเครือข่าย พี่ช่วยน้อง (W4,5,6 O1,2,3,5) กลยุทธ์ (W/T) ๑.พัฒนาระบบการจัดการองค์กร ภายใต้ภาวะวิกฤติแบบ บูรณาการ (W1,2,3,4,6 T6) ๒.พัฒนาระบบการเงินการคลังให้ ได้ตามมาตรฐานการควบคุม ภายใน (W2,4,5 T1) W

และการจัดลำดับความสำคัญของปัญหา สรุปปัญหาสาธารณสุข และการจัดลำดับความสำคัญของปัญหา

สรุปปัญหาสาธารณสุขของเครือข่ายบริการสุขภาพ ที่ 12 โดยคณะกรรมการบริหารในระดับเครือข่ายบริการสุขภาพ ปัญหาการป่วยและตายด้วยโรคไม่ติดต่อ ประกอบด้วยการตายด้วยโรคมะเร็ง โรคหัวใจและหลอดเลือด โรคหลอดสมอง และการป่วยด้วยโรคเบาหวาน/โรคความดันโลหิตสูง ปัญหาการป่วยและตายด้วยโรคติดต่อที่เป็นปัญหา โดยเฉพาะไข้เลือดออก โรคมือเท้าปากและไข้มาลาเรีย ปัญหาอนามัยแม่และเด็ก ประกอบด้วย มารดาตาย ภาวะโลหิตจางในหญิงตั้งครรภ์ การคลอดบุตรอายุต่ำกว่า 20 ปี ปัญหาอุบัติเหตุจราจร การปัญหาความความไม่ปลอดภัยใน 3 จังหวัดชายแดน ปัญหาสุขภาพช่องปาก (เด็กปฐมวัยฟันน้ำนมผุ และเด็กนักเรียนประถมฟันผุ) ปัญหายาเสพติด

ลำดับความสำคัญของปัญหา การจัดลำดับความสำคัญของปัญหาสาธารณสุข ในพื้นที่เครือข่ายบริการสุขภาพที่ ๑๒ ปีงบประมาณ ๒๕๕๕ ปัญหา  สถาน การณ์ ลำดับความสำคัญของปัญหา ขนาด ความรุนแรง นโยบาย การยอมรับ คะแนนรวม ลำดับ ๑.การตายด้วยโรคมะเร็ง (ต่อแสน ปชก.) 32.94 5 4 19 1 ๒. การตายด้วยโรคหัวใจ (ต่อแสน ปชก.) 27.78 ๓. การตายโรคหลอดเลือดสมอง(ต่อแสน ปชก.) ๒๑.๕๑ ๔. การป่วยด้วยโรค DM/HT(ต่อแสน ปชก.) ๒,๕๘๒ ๕. ความแออัดของการเข้ารับบริการใน รพ.รัฐ 2 3 14 ๗ ๖. โรคโลหิตจาง/ภาวะซีดในหญิงมีครรภ์(ร้อยละ) 14.7 ๔ 1๖ ๗. มารดาตาย (ต่อแสนการเกิดมีชีพ) 30.1 16 ๘. ทารกตายปริกำเนิด(ต่อพันทารกคลอด) 7.1 ๙. การตั้งครรภ์ต่ำกว่า 20 ปี (ร้อยละ) 12.00 7

ลำดับความสำคัญของปัญหา <ร้อยละ ๙๐ ทุกชนิดวัคซีน การจัดลำดับความสำคัญของปัญหาสาธารณสุข ในพื้นที่เครือข่ายบริการสุขภาพที่ ๑๒ ปีงบประมาณ ๒๕๕๕ ปัญหา  สถานการณ์ ลำดับความสำคัญของปัญหา ขนาด ความรุนแรง นโยบาย การยอมรับ คะแนนรวม ลำดับ ๑๐. อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก (ต่อแสนคน) 13๓.๗๑ 5 4 3 17 2 ๑๑. อัตราการป่วยด้วยไข้มาลาเรีย (ต่อแสนคน) ๔๔.๙๘ ๒ ๓ ๙ ๑๐ ๑๑. การระบาดของโรคมือเท้าปาก ๔๔.๙๖ 14 7 ๑๒. ฟันผุเด็ก ๓ ปี/ฟันผุ เด็ก ๑๒ ปี 68.92/ 53.57 ๕ ๔ 1๖ ๑๔. การบาดเจ็บด้วยอุบัติเหตุ 19.2 ๑๕. ความครอบคลุมของวัคซีนในเด็ก ๐-๕ ปีต่ำ (ใน ๓ จังหวัดภาคใต้) <ร้อยละ ๙๐ ทุกชนิดวัคซีน 15 6 ๑๖. อัตราการป่วยด้วยโรคคอตีบ 0.32 ๑๗. อัตราการป่วยด้วยไข้มาลาเรีย(ต่อแสนคน) 1 10 9

ลำดับความสำคัญของปัญหา การจัดลำดับความสำคัญของปัญหาสาธารณสุข ในพื้นที่เครือข่ายบริการสุขภาพที่ ๑๒ ปีงบประมาณ ๒๕๕๕ ปัญหา สถานการณ์ ลำดับความสำคัญของปัญหา ขนาด ความรุนแรง นโยบาย การยอมรับ คะแนนรวม ลำดับ ๑๘. ปัญหาสุขภาพจิต (ผู้ป่วยซึมเศร้าเข้าถึงฯ) 23.12 3 12 8 ๑๙. ประชาชนเสพยาเสพติด ๔ ๕ 5 1๗ ๒๐. ประชาชนได้รับผลกระทบจาก สถานการณ์ความไม่สงบ (บาดเจ็บ/ตาย ต่อแสนคน) ๔๑.0/ 12.0 16

แนวทางการพัฒนาระบบสุขภาพของกระทรวงสาธารณสุข เพื่อสนองนโยบายในการดูแลสุขภาพประชาชน โดย นพ.ณรงค์ สหเมธาพัฒน์ ปลัดกระทรวงสาธารณสุข ประชาชนได้อะไร (ผลลัพธ์สุขภาพ : Health Outcome) ๑.๑ ลดแม่ตาย ลูกตาย ๑.๒ เพิ่มพัฒนาการ “ไอคิวเด็ก วัคซีนครอบคลุมจริง” ๑.๓ หยุดปัจจัยเสี่ยง ชะลอโรคเรื้อรัง กลุ่มดี (การส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค:P&P) ๒.๑ กำหนดเป้าหมายและมาตรการตามกลุ่มอายุ และเชิงประเด็น ๒.๒ บูรณาการในระดับพวงบริการ เชื่อมกับระบบบริการ ๒.๓ การจัดงบประมาณสนับสนุนอย่างมีส่วนร่วมและการกำกับ กลุ่มป่วย (การจัดระบบบริการและการลงทุน : Service Plan) ๓.๑ ลดความแออัด รับบริการใกล้บ้าน ๓.๒ การส่งต่อไร้รอยต่อ เบ็ดเสร็จในพวงบริการ ๓.๓ คุณภาพและความปลอดภัยบริการ ๓.๔ แผนการลงทุนที่ตอบสนองเป้าหมายสุขภาพ เป็นธรรม ๓.๕ เพิ่มประสิทธิภาพ ใช้งบประมาณอย่างคุ้มค่า

แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ เครือข่ายบริการสุขภาพที่ ๑๒

วิสัยทัศน์ ประชาชนสุขภาพดี มีความพึงพอใจ และมีระบบบริการสุขภาพที่เป็นเลิศ นิยามวิสัยทัศน์ ประชาชนสุขภาพดี หมายถึง ประชาชนในทุกกลุ่มเป้าหมายได้รับบริการด้านสุขภาพที่เป็นองค์รวม เสมอภาค สามารถดูแลตนเองเบื้องต้นได้ และอยู่ในสังคมได้ตามสภาวะและบริบททางสังคมที่เหมาะสม ประชาชนมีความพึงพอใจ หมายถึง ประชาชนพึงพอใจต่อระบบบริการและบริการที่ได้รับ รวมทั้งสามารถมีส่วนร่วมในการพัฒนาระบบสุขภาพ ระบบบริการสุขภาพที่เป็นเลิศ หมายถึง การมีระบบบริการมีคุณภาพตามมาตรฐานที่กำหนด มีความเชื่อมโยงและไร้รอยต่อในทุกระดับ ระบบบริหารจัดการมีประสิทธิภาพ มีผลงานทางวิชาการที่รองรับระบบบริการ และมีผลการประเมินตามตัวชี้วัดอยู่ในระดับแนวหน้าของประเทศ

พันธกิจ ๑.พัฒนาคุณภาพระบบบริการ และสนับสนุน/จัดหาเครื่องมือ/อุปกรณ์ ให้หน่วยบริการตามมาตรฐาน ๒.ส่งเสริมการจัดหน่วยบริการด้านสุขภาพให้ครอบคลุมพื้นที่ในการ ให้บริการประชาชน ๓.ส่งเสริมการสร้างเสริมสุขภาพของชุมชนโดยการมีส่วนร่วมของ ประชาชนและภาคีเครือข่าย ๔.จัดระบบการประเมินผลงานและควบคุมกำกับให้เป็นไปตามแผนที่ กำหนด ๕.บริหารจัดการด้านการพัฒนาบุคลากรและการกระจายบุคลากรอย่าง ทั่วถึง เพียงพอและมีประสิทธิภาพ ๖.จัดประกวดและนำเสนอผลงานด้านวิชาการระดับเขต

ประเด็นยุทธศาสตร์ ๑.พัฒนาคุณภาพระบบบริการที่เชื่อมโยงทุกระดับ ๒.พัฒนาระบบการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคที่มี คุณภาพโดยการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่าย ๓.พัฒนาระบบบริหารจัดการเพื่อสนับสนุนระบบบริการ ๔.พัฒนาระบบข้อมูลและสารสนเทศเพื่อการจัดการที่มี ประสิทธิภาพ

เป้าประสงค์ ๑.ระบบบริการสุขภาพมีคุณภาพและเชื่อมโยงทุกระดับ ๒.มีผลงานวิจัยและนวัตกรรมสนับสนุนการจัดบริการสุขภาพ ๓.โรคที่เป็นปัญหาสำคัญระดับเครือข่ายลดลง ๔.ปัญหาอนามัยแม่และเด็กลดลง ๕.ปัญหาสุขภาพของประชาชนในแต่ละกลุ่มเป้าหมายลดลง ๖.ประชาชนมีส่วนร่วมในการจัดบริการสุขภาพอย่างต่อเนื่อง ๗.ประชาชนได้บริโภคอาหารและผลิตภัณฑ์ที่ได้มาตรฐานและปลอดภัย ๘.ระบบการเงินการคลังมีประสิทธิภาพ ๙.ระบบบริหารจัดการบุคลากรมีประสิทธิภาพ และบุคลากรมีความพึงพอใจในการ ปฏิบัติงาน ๑๐.ระบบข้อมูลและสารสนเทศมีประสิทธิภาพ และเชื่อมโยงทุกระดับ

สวัสดี