หลักสูตรการศึกษาปฐมวัยพุทธศักราช ๒๕๖๐

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เป็นAdjที่บอกสัญชาติหรือภาษา เปลี่ยนรูปมาจาก
Advertisements

(Lower Respiratory Illnesses and Second-hand Smoke (SHS) Exposure
Verb to be : is,am,are Positive ประโยคบอกเล่า โครงสร้าง = ประธานเอกพจน์ + is……… He ,She ,It + is………… He is a man. He is handsome. He is six years old.
ธาตุเหล็กกับการเรียนรู้ ผลกระทบต่อ คุณภาพเด็กไทย
เพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต
การประชุมเอดส์นานาชาติ ครั้งที่ กรกฎาคม 2553 กรุงเวียนนา สาธารณรัฐออสเตรีย Aids 2010 Rights here, Right now. Aids 2010 Rights here, Right now.
ระบบแจ้งปัญหาการใช้งานเครื่องคอมพิวเตอร์ Helpdesk Support
สำนักงานส่งเสริมสวัสดิภาพและพิทักษ์เด็ก
การดูแลผู้ป่วยเด็กในชุมชนและ การบริหารยาในเด็ก สำหรับพยาบาลเวชปฏิบัติ
โครงสร้างแบบลำดับ คำสั่ง x คำสั่ง y.
ศูนย์ความร่วมมือไทย-สหรัฐด้านสาธารณสุข
การจัดสารนิทัศน์ (DOCUMENTATION)
Working Effectively YOUTH Trainer: Pastor Glenn Lim Basic Module 1 with.
Kru Srithong Bovornkosolchit
Elimination of Mother-to-Child HIV Transmission: Knowledge to Practice
ขิ่ม สกุลนุ่ม, พย.ม (สุขภาพจิตและการพยาบาลจิตเวชศาสตร์),APN
ทพญ. เรวดี ศรีหานู. ภาพรวมของการพัฒนา คุณภาพ ระบบบริหารความเสี่ยง องค์กรแพทย์ องค์กรพยาบาล สิ่งแวดล้อมในการดูแลผู้ป่วย การป้องกันและควบคุมการ ติดเชื้อ.
จัดทำโดย นาย ไกรสร วันดี ม.5/1 เลขที่ 11 นาย ชญานิน ป้องทอง ม.5/1 เลขที่ 11 นาย วรุตน์ นิที ม.5/1 เลขที่ 11 นาย ธนวัฒน์ สุจาโน ม.5/1 เลขที่ 11 นาย ธีระพงษ์
สรุปจำนวน APN และแผนการส่งศึกษาต่อ APN
By T’Sumana Hanlamyuang
Achieving equity for every children in Thailand
ความเท่าเทียม เพื่อเด็กไทยทุกคน
วิชาเศรษฐกิจชุมชนท้องถิ่น
การประชุมซักซ้อมเตรียมการชี้แจงงบประมาณ ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
ตัวชี้วัดระดับสำนักทันตสาธารณสุขกับกรมอนามัย: KPI 7
โครงการเด็กไทยสายตาดี
การวิเคราะห์ข้อมูล ดร. นพ. วรสิทธิ์ ศรศรีวิชัย
พระราชปณิธานสมเด็จย่า ต้านภัยมะเร็งเต้านม
Mental Health Crisis Assessment and Treatment Team (MCATT)
โดย นางกองแก้ว ย้วนบุญหลิม หัวหน้าหน่วยวิชาการพยาบาล
ศิลปะการทำงาน ให้ได้ผล คนพอใจ
สำนักงานวิจัยนวัตกรรมและพันธมิตร มจธ.
ข้อมูลสำคัญในการพัฒนาอนามัยแม่และเด็ก: มุมมองและความหมาย
มโนทัศน์เกี่ยวกับการพยาบาลเด็กและวัยรุ่น
ความรู้เบื้องต้นการส่งเสริมพัฒนาการและสุขภาพเด็ก
ความสำคัญของการพัฒนาการและระบบบริการดูแลพัฒนาการเด็ก
ดร.ฐิตวันต์ หงษ์กิตติยานนท์
กอบกู้วิกฤตการศึกษาไทย ความหวังการสร้างชาติที่ยั่งยืน
การเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย
How to decrease no ANC & increase early ANC
โรคไข้เลือดออก เห็ดพิษ รณรงค์วัคซีนไข้หวัดใหญ่ คลีนิกวัคซีนผู้ใหญ่
มหัศจรรย์ 1000 วันแรกของชีวิต: พัฒนาการสมวัย
Service Plan สุขภาพจิต จิตเวชและยาเสพติด
การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน
แม่วัยรุ่น (Teenage Mothers) ศูนย์อนามัยที่ 4 ราชบุรี
ความยืดหยุ่น Elasticity
Thai Visual Impairment Project2549
บทที่ 2 การดูแลความสะอาดสุขสบาย
โรคฟันผุในเด็กปฐมวัย
โครงสร้างของพืชดอก (ลำต้น)
การสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ
ขั้นตอนในการพัฒนาบท หนังสั้น
นายแพทย์สราวุฒิ บุญสุข กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข
Service Industry อุตสาหกรรมบริการ.
พฤติกรรมผู้บริโภค (Consumer Behavior)
4 กรกฎาคม 2556 ณ.โรงแรมเอเซีย แอร์พอร์ต จังหวัดปทุมธานี
แนะนำหนังสือใหม่ พฤศจิกายน 2560
ส่งสัญญาณเตือนระยะต้น
การตรวจวินิจฉัยชนิด และการนับเชื้อมาลาเรีย
พัฒนาและยกระดับผลิตภัณฑ์ชุมชน
เครือข่ายโภชนาการช่วงแรกของชีวิต ประเทศไทย
ผลการดำเนินงานที่สำคัญปี 2560 ตามนโยบายยกกระดาษ A4
ร่าง พ.ร.บ.ควบคุมการส่งเสริมการตลาด อาหารสำหรับทารกและเด็กเล็ก พ.ศ....
การมีส่วนร่วมของประชาชน
ประเทศอินโดนีเซีย ชื่อทางการคือ สาธารณรัฐอินโดนีเซีย (อินโดนีเซีย: Republik Indonesia) เป็นหมู่เกาะที่ใหญ่ที่สุดในโลก ตั้งอยู่ระหว่างคาบสมุทรอินโดจีนกับทวีปออสเตรเลีย และระหว่างมหาสมุทรอินเดียกับมหาสมุทรแปซิฟิก มีพรมแดนติดกับประเทศมาเลเซียบนเกาะบอร์เนียวห
สดุดี 58:11 “แล้วผู้คนจะกล่าวว่า “แน่แล้ว
สรุปผลการตรวจราชการและนิเทศงาน
ลักษณะทั่วไปของการขนส่ง Transport General Features
Thamuang Hospital Kanchanaburi Thailand
ใบสำเนางานนำเสนอ:

หลักสูตรการศึกษาปฐมวัยพุทธศักราช ๒๕๖๐ เข็มชาติ พิมพิลา รองผู้อำนวยการชำนาญการพิเศษ โรงเรียนเวียง เชียงรุ้งวิทยา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา เชียงราย เขต ๑

เด็กปฐมวัย เด็กปฐมวัย มาจากคำในภาษาอังกฤษว่า “Young Children” หมายถึง เด็กที่อยู่ในช่วงวัยแรกเกิดถึงแปดปี หรือในช่วงปฐมวัย (Early Childhood) ซึ่งจะมีชื่อเรียกแตกต่างกันไปในแต่ช่วงอายุ - ช่วงวัยทารกและเตาะแตะ คือ ช่วงอายุ ๐ –๓ ปี - ช่วงวัยก่อนเข้าโรงเรียน คือ ช่วงอายุ ๓ –๕ ปี - ช่วงวัยอนุบาล คือ ช่วงอายุ ๕ –๖ ปี - ช่วงชั้นประถม คือ ช่วงอายุ ๖ –๘ ปี (ที่มา : COPPLE& BREDEKAMP, ๒๐๐๙)

พัฒนาการเด็กปฐมวัย ๑. ด้านร่างกาย ๒. ด้านอารมณ์ จิตใจ ๓. ด้านสังคม ๔. ด้านสติปัญญา

หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช ๒๕๔๖ และ หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช ๒๕๖๐

หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พ.ศ. ๒๕๖๐ กรอบทิศทางหรือแนวปฏิบัติและมาตรฐานหลักสูตรสำหรับสถานศึกษาปฐมวัย และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องใช้ในการจัดการศึกษาปฐมวัย

ความเป็นมาของหลักสูตรฯ พุทธศักราช ๒๕๖๐ - มีการทบทวน/วิจัยหลักสูตร ปี ๔๖ ให้เห็นจุดปรับปรุง/พัฒนา - พัฒนาให้สอดคล้องและทันต่อการเปลี่ยนแปลง - นำข้อมูลจากการวิจัย แผนแม่บท กฎหมายต่างๆมาพัฒนาให้สอดคล้อง - ให้ทุกฝ่ายได้มีส่วนร่วม สนับสนุนในการจัดการศึกษา - เพื่อสร้างรากฐานคุณภาพชีวิตเด็กปฐมวัยให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ ตาม พ.ร.บ.การศึกษาแห่งชาติ

► หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช ๒๕๔๖ ประกาศใช้ ๒ เม.ย. ๒๕๔๖ ► หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช ๒๕๖๐ ประกาศใช้ ๓ ส.ค. ๒๕๖๐ ► ให้ใช้หลักสูตรฯ ปี ๒๕๖๐แทน ปี ๒๕๔๖ ในปี การศึกษา ๒๕๖๑ ► ให้สถานศึกษา/สถานพัฒนาเด็กปฐมวัยใช้หลักสูตร ปี ๒๕๖๐ โดยปรับปรุงให้เหมาะสมกับเด็กและสภาพท้องถิ่น

ความสำคัญของหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย - เป็นเอกสารของทางราชการ - เป็นเกณฑ์มาตรฐานทางการศึกษาปฐมวัย - เป็นเครื่องมือที่ช่วยเสริมสร้างเอกภาพของชาติ - เป็นแผนดำเนินงานของผู้บริหาร ที่จะอำนวยความสะดวกและกำกับ ติดตามผลการจัดการศึกษาปฐมวัย - เป็นเครื่องชี้นาทางในการปฏิบัติงานของครูปฐมวัย - เป็นแนวทางในการจัดประสบการณ์การเรียนการสอนของครู เพื่อพัฒนาเด็กปฐมวัยจนบรรลุจุดหมายของหลักสูตร

ลักษณะของหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย • เป็นเอกภาพ • มีความยืดหยุ่น • มีความเป็นสากลบนพื้นฐานความเป็นไทย • กำหนดช่วงอายุตั้งแต่แรกเกิดถึงหกปีบริบูรณ์ • ใช้ได้กับทุกกลุ่มเป้าหมาย

จุดเน้นของหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย • พัฒนาเด็กอย่างเป็นองค์รวม • ยึดเด็กเป็นสำคัญ • เรียนรู้ด้วยการลงมือกระทำ • บูรณาการผ่านการเล่นและประสบการณ์สำคัญ

การพัฒนาเด็กอย่างเป็นองค์รวม • พัฒนาพร้อมกันทุกด้าน(ร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคม และสติปัญญา) • พัฒนาตามแนวปฏิบัติที่เหมาะสมกับพัฒนาการเด็ก • สร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้ • จัดประสบการณ์บูรณาการผ่านการเล่น ไม่จัดเป็นรายวิชา • จัดกิจกรรมหลากหลาย เด็กได้ใช้ประสาทสัมผัสทั้งห้าได้เคลื่อนไหว มีปฏิสัมพันธ์กับผู้อื่น • ประเมินพัฒนาการและการเรียนรู้ของเด็กเป็นรายบุคคล • ปฏิสัมพันธ์ที่ดีระหว่างครูกับครอบครัวของเด็ก

องค์ประกอบของหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย • ปรัชญาการศึกษาปฐมวัย • วิสัยทัศน์ • หลักการ • หลักสูตรการศึกษาปฐมวัยสำหรับเด็กอายุต่ำกว่า ๓ ปี • หลักสูตรการศึกษาปฐมวัยสาหรับเด็กอายุ ๓ –๖ ปี

จุดปรับเปลี่ยนหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย หลักสูตร ๒๕๔๖ หลักสูตร ๒๕๖๐ ๑. หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย ๒. ปรัชญา ๓. หลักการ ๓. วิสัยทัศน์ ๔. จุดหมาย - มาตรฐานคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ๔. หลักการ ๕. คุณลักษณะตามวัย ๕. จุดหมาย ๖. ระยะเวลาเรียน ๖. มาตรฐานคุณลักษณะอันพึงประสงค์ - ตัวบ่งชี้ - สภาพที่พึงประสงค์

จุดปรับเปลี่ยนหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย หลักสูตร ๒๕๔๖ หลักสูตร ๒๕๖๐ ๗. สาระการเรียนรู้ ๗. การจัดเวลาเรียน ๘. การจัดประสบการณ์ ๘. สาระการเรียนรู้ ๙. การประเมินพัฒนาการ ๙. การจัดประสบการณ์ ๑๐.การจัดหลักสูตรสถานศึกษา ๑๐. การประเมินพัฒนาการ ๑๑.การจัดสำหรับกลุ่มเป้าหมายเฉพาะ ๑๑.การจัดทำหลักสูตรสถานศึกษา ๑๒. การเชื่อมต่อกับ ป.๑ ๑๒.การจัดสำหรับกลุ่มเป้าหมายเฉพาะ ๑๓. การกำกับ ติดตาม ประเมินและรายงาน ๑๓. การเชื่อมต่อกับ ป.๑ ๑๔. การกากับ ติดตาม ประเมินและรายงาน

ความแตกต่างของหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย ๒๕๔๖ กับ ๒๕๖๐ หลักสูตร ๒๕๔๖ หลักสูตร ๒๕๖๐ พัฒนาเด็กตั้งแต่แรกเกิดถึง ๕ ปี บนพื้นฐานการอบรมเลี้ยงดูและการส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้ พัฒนาเด็กตั้งแต่แรกเกิด ถึง ๖ ปีบริบูรณ์ อย่างเป็นองค์รวมบนพื้นฐานการอบรมเลี้ยงดู และการส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้

ปรัชญาการศึกษาปฐมวัย หลักสูตร ๒๕๔๖ หลักสูตร ๒๕๖๐ การศึกษาปฐมวัยเป็นการพัฒนาเด็กตั้งแต่แรกเกิดถึง 5 ปี บนพื้นฐานการอบรมเลี้ยงดูและการส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้ที่สนองต่อธรรมชาติและพัฒนาการของเด็กแต่ละคนตามศักยภาพ ภายใต้บริบท สังคม-วัฒนธรรมที่เด็กอาศัยอยู่ ด้วยความรักความเอื้ออาทร และ ความเข้าใจของทุกคน เพื่อสร้างรากฐาน คุณภาพชีวิตให้เด็กพัฒนาไปสู่ความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ เกิดคุณค่าต่อตนเองและสังคม การศึกษาปฐมวัยเป็นการพัฒนาเด็กตั้งแต่ แรกเกิด ถึง 6 ปีบริบูรณ์ อย่างเป็นองค์รวม บนพื้นฐานการอบรมเลี้ยงดู และการส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้ที่สนองต่อธรรมชาติ และพัฒนาการตามวัยของเด็กแต่ละคนให้เต็มตามศักยภาพ ภายใต้บริบทสังคมและวัฒนธรรมที่เด็กอาศัยอยู่ ด้วยความรัก ความเอื้ออาทร และความเข้าใจของทุกคน เพื่อสร้างรากฐาน คุณภาพชีวิตให้เด็กพัฒนาไปสู่ความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ เกิดคุณค่าต่อตนเอง ครอบครัว ชุมชน สังคม และประเทศชาติ

ความแตกต่างของหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย ๒๕๔๖ กับ ๒๕๖๐ หลักสูตร ๒๕๔๖ หลักสูตร ๒๕๖๐ หลักสูตร ๒๕๔๖ ไม่มีวิสัยทัศน์ หลักสูตร ๒๕๖๐ กำหนดวิสัยทัศน์ “หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย มุ่งพัฒนาเด็กทุกคนให้ได้รับการพัฒนาด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคม และสติปัญญา อย่างมีคุณภาพ และต่อเนื่อง มีทักษะชีวิต และปฏิบัติตนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง”

องค์ประกอบของหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย • ปรัชญาการศึกษาปฐมวัย • วิสัยทัศน์ • หลักการ • หลักสูตรการศึกษาปฐมวัยสำหรับเด็กอายุต่ำกว่า ๓ ปี • หลักสูตรการศึกษาปฐมวัยสาหรับเด็กอายุ ๓ –๖ ปี