งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

(Lower Respiratory Illnesses and Second-hand Smoke (SHS) Exposure

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "(Lower Respiratory Illnesses and Second-hand Smoke (SHS) Exposure"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 (Lower Respiratory Illnesses and Second-hand Smoke (SHS) Exposure
โรคระบบทางเดินหายใจส่วนล่างในเด็กอายุต่ำกว่า 5 ขวบกับการรับสัมผัสควันบุหรี่มือสอง (Lower Respiratory Illnesses and Second-hand Smoke (SHS) Exposure in Thai Children Under Five) เนาวรัตน์ เจริญค้า1 นิภาพรรณ กังสกุลนิติ1 สตีเฟ่น ฮาแมนน์2 สรศักดิ์ โล่ห์จินดารัตน์3 1คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล 2คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต 3สถาบันสุขภาพเด็กแห่งชาติมหาราชินี ได้รับทุนสนับสนุนจากสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) คณะผู้วิจัยขอขอบคุณผู้ให้ทุน ผู้ช่วยวิจัย ในการเก็บข้อมูล ตลอดจนเด็ก และผู้ปกครองที่ร่วมในการศึกษา และผู้ที่มีส่วนร่วมให้การศึกษานี้สำเร็จ อีกจำนวนมากที่มิสามารถจะกล่าวนามทั้งหมดได้

2 SHS and risk of ARI: conclusion
“SHS exposure of young children and particularly infants from parental smoking is causally associated with an increased risk of lower respiratory tract infections.” US Environmental Protection Agency, 1992

3 SHS and ARI: summary Risk for ARI is greater among children whose parents smoke than among those whose parents do not smoke Risk for ARI from SHS is greatest in first year of life, and remains elevated until about age 3 years Direct effects of SHS exposure on young children's respiratory health occur, independent of in utero exposure to tobacco smoke Risk of ARI increases with increasing exposure to SHS (dose–response relationship)

4 SHS and childhood chronic respiratory symptoms: conclusions
“There is sufficient evidence that SHS exposure at home is causally associated with chronic respiratory symptoms (cough, phlegm, or wheezing) in children, particularly infants and young children.” California Environmental Protection Agency, 1997

5 โรคระบบทางเดินหายใจส่วนล่างในเด็กอายุต่ำกว่า 5 ขวบกับการรับสัมผัสสูดดมควันบุหรี่มือสอง
ปัจจัยเสี่ยง ความเสี่ยงต่อการเป็นโรค เมื่อเทียบกับเด็กปกติ (เท่า) ปอดอักเสบ, กล่องเสียงอักเสบ, หลอดลมอักเสบ, หลอดลมฝอยอักเสบ (n = 296) โรคหืด (n= 166) โรคระบบทางเดินหายใจส่วนล่างทั้งหมด (n= 462) มารดาได้รับควันบุหรี่ขณะตั้งครรภ์ NS 2.6 สมาชิกในบ้านสูบบุหรี่ในขณะให้นม/ป้อนอาหาร/รับประทานอาหารกับเด็ก 4.3 2.9 3.8 การสูดดมควันบุหรี่มือสองขณะอยู่นอกบ้าน เช่น บ้านเพื่อนบ้าน / สถานรับเลี้ยงเด็ก/ ร้านอาหาร /ระหว่างเดินทาง 3.4

6 โรคระบบทางเดินหายใจส่วนล่างในเด็กอายุต่ำกว่า 5 ขวบกับการรับสัมผัสสูดดมควันบุหรี่มือสอง
ปัจจัยเสี่ยง ความเสี่ยงต่อการเป็นโรค เมื่อเทียบกับเด็กปกติ (เท่า) ปอดอักเสบ, กล่องเสียงอักเสบ, หลอดลมอักเสบ, หลอดลมฝอยอักเสบ (n = 296) โรคหืด (n= 166) โรคระบบทางเดินหายใจส่วนล่างทั้งหมด (n= 462) รายได้ครอบครัวต่อเดือน (บาท) น้อยกว่า 4500 4.0 3.2 3.9 4,500-10,000 2.4 3.5 2.7 บิดามีการศึกษาอยู่ในระดับประถมศึกษาหรือต่ำกว่า 3.1 NS 2.1

7 ข้อเสนอแนะจากผลการศึกษา
การรณรงค์ให้เลิกบุหรี่ ควรเน้นในกลุ่มครอบครัวที่มีรายได้ต่ำ และ บิดามารดามีการศึกษาน้อย ให้บ้านเป็นสถานที่ปลอดบุหรี่ เด็กเล็กควรหลีกเลี่ยงการอยู่ใกล้ควันบุหรี่ในทุกสถานที่ เพิ่มความเข้มงวดในการปฏิบัติตามกฎหมายการห้ามสูบบุหรี่ในสถานที่สาธารณะทุกแห่ง

8 ลักษณะทั่วไปของกลุ่มตัวอย่าง
ปัจจัย กลุ่มศึกษา กลุ่มเปรียบเทียบ จำนวน ร้อยละ อายุมารดา(ปีเต็ม) Min-Max(Mean + SD) 14-50 ( ) 16-46 ( ) 0.073 ระดับการศึกษาของมารดา ต่ำกว่า-ประถม มัธยม-อนุปริญญา ปริญญาตรี -สูงกว่า 192 207 60 41.8 45.1 13.1 120 215 124 26.2 46.8 27.0 0.000*** อาชีพของมารดา พนักงานบริษัท รับจ้าง รับราชการ ค้าขาย ว่างงาน 8 206 16 57 175 1.7 44.6 3.5 12.3 37.9 14 160 48 64 176 3.0 34.6 10.4 13.9 38.1 อายุบิดา(ปีเต็ม) Min - Max (Mean + SD) 18-56 ( ) 16-55 ( ) 0.008** ระดับการศึกษาของบิดา ปริญญาตรี-สูงกว่า 189 208 56 41.7 45.9 12.4 102 219 129 22.7 48.7 28.6 อาชีพของบิดา 13 341 33 54 21 2.8 73.8 7.2 11.7 4.5 20 284 79 61 18 4.3 61.5 17.1 13.2 3.9 p-value (

9

10

11 ควันบุหรี่มือสองในสถานบันเทิง ใช้วัดโดยระดับฝุ่นขนาดเล็ก
เป็นการศึกษาเปรียบเทียบ ใน 4 ประเทศ คือ มาเลเซีย เวียดนาม ลาว และ ประเทศไทย ได้รับทุนจาก สถาบันสุขภาพแห่งชาติ สหรัฐอเมริกา หรือ NIH และ ศูนย์ Roswell Park Transdisciplinary Tobacco Use Research Center (TTURC) ใช้เครื่องมือ ที่มีชื่อว่า SidePak ในการตรวจวัดฝุ่นขนาดเล็ก (PM2.5) ใน ไนท์คลับ ผับ บาร์ และ ดิสโก้เทค ในเขตกรุงเทพมหานคร โดยเฉพาะย่านที่เป็นที่นิยมในหมู่วัยรุ่น

12 USEPA Air Quality Standard for Ambient Air
Mean PM2.5 over a 24 hour period 65 ug/m3 - unhealthy 150 ug/m3 - very unhealthy 250 ug/m3 -hazardous

13

14 การศึกษาควันบุหรี่มือสองในเด็กและผู้หญิง (Secondhand Smoke Exposure in Children and Women)
เป็นโครงการความร่วมมือกับ Institute of Global Tobacco Control, Johns Hopkins University และ ประเทศอื่น ๆ รวม 21 ประเทศ ทั่วโลก ยังอยู่ในระหว่างการวิจัย ตรวจวัดหาระดับสารนิโคตินในเส้นผมของเด็ก และ แม่หรือผู้เลี้ยงดูผู้หญิงที่ไม่สูบบุหรี่(ตัดจาก โคนเส้นผมยาวประมาณ 2 ซม.) เก็บตัวอย่างอากาศภายในบ้านที่มีผู้สูบบุหรี่ และบ้านที่ไม่มีผู้สูบบุหรี่ เพื่อเปรียบเทียบระดับสารนิโคตินในอากาศภายในบ้าน เก็บตัวอย่าง ในกรุงเทพมหานคร และจังหวัดมุกดาหาร

15 THANK YOU FOR YOUR ATTENTION


ดาวน์โหลด ppt (Lower Respiratory Illnesses and Second-hand Smoke (SHS) Exposure

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google