ชุดที่ 1 ไป เมนูรอง.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ชุดที่ 1 ไป เมนูรอง.
Advertisements

เฉลย (เฉพาะข้อแสดงวิธีทำ)
อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
เฉลยใบงานที่ 1 องค์ประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ เตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ
หน่วยที่ 3 ความคลาดเคลื่อน ความถูกต้อง ความเที่ยงตรง และความไว.
KINETICS OF PARTICLES: Work and Energy
Kinetics of Systems of Particles A B C F A1 F A2 F C1 F B1 F B2 Particles A B C System of Particles.
สมการการเคลื่อนที่ในระบบพิกัดต่าง ๆ - พิกัดฉาก (x-y)
Engineering Mechanics
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
กระบวนการของการอธิบาย
พยาบาลวิชาชีพชำนาญการพิเศษ
การใช้งาน Microsoft Excel
LOGO ภาษาซี 1.1 อ. กฤติเดช จินดาภัทร์. LOGO ตัวอย่างโค้ดภาษาซี
หน่วยที่ 1 ปริมาณทางฟิสิกส์ และเวกเตอร์
การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ
สถิติเบื้องต้นสำหรับการวิเคราะห์ข้อมูล
stack #2 ผู้สอน อาจารย์ ยืนยง กันทะเนตร
การทำ Normalization 14/11/61.
แรงแบ่งได้เป็น 2 ลักษณะ คือ 1. แรงสัมผัส ( contact force )
ครูสินอารย์ ลำพูนพงศ์ ร.ร.บุญวาทย์วิทยาลัย ลำปาง
การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
บทที่ 1 สถาปัตยกรรมของระบบฐานข้อมูล (Database Architecture)
ความเค้นและความเครียด
แผนที่และเครื่องมือทางภูมิศาสตร์
หน่วยที่ 1 ปริมาณทางฟิสิกส์ และเวกเตอร์
เรียนรู้การใช้งานโปรแกรม เพื่อจำลองระบบไมโครคอนโทรลเลอร์
สารอินทรีย์ สารประกอบอินทรีย์ที่มีธาตุออกซิเจนเป็นองค์ประกอบ ได้แก่
อาจารย์พีรพัฒน์ คำเกิด
คุณลักษณะของสัญญาณไฟฟ้าแบบต่าง ๆ
DC Voltmeter.
การบัญชีต้นทุนช่วง (Process Costing).
การหาตำแหน่งภาพที่เกิดจากการสะท้อนของแสงบนกระจกเงาโค้งทรงกลม
บทที่ 6 งานและพลังงาน 6.1 งานและพลังงาน
Vernier เวอร์เนียร์ คือเครื่องมือที่ใช้วัดระยะ (distance) หรือ ความยาว (length) ให้ได้ค่าอย่างละเอียด เวอร์เนียร์ต่างจากไม้บรรทัดทั่วๆไป เพราะมี 2 สเกล.
แรงและการเคลื่อนที่.
GALILEO GALILEI กาลิเลโอ กาลิเลอี
เซต (SET) ประวัติย่อของวิชาเซต ความหมายของเซต การเขียนแทนเซต
บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์
One Point Lesson (OPL).....บทเรียนประเด็นเดียว
หลักการแต่ง คำประพันธ์ประเภท โคลง. หลักการแต่ง คำประพันธ์ประเภท โคลง.
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
ขั้นตอนการออกแบบ ผังงาน (Flow Chart)
จุดหมุน สมดุลและโมเมนต์
แผนที่อากาศและแนวปะทะอากาศ
กำหนดกรอบระยะเวลาการขึ้นทะเบียนปี2556/57 1. ข้าว
ฟิสิกส์ ว ระดับมัธยมศึกษาปีที่ 5
วิธีการกำหนดค่า Microsoft SharePoint ของคุณ เว็บไซต์ออนไลน์
แผ่นดินไหว.
การวัด และหน่วย อ.รัตนสุดา สุภดนัยสร โดย
เครื่องผ่อนแรง Krunarong.
การทดลองหาค่าความแน่นของดินที่มีเม็ดผ่านตะแกรงขนาด 19.0 มม. 1 เติมทรายลงในขวดซึ่งประกอบเข้ากับกรวยเรียบร้อย แล้วให้มีปริมาณเพียงพอสำหรับการใช้งาน.
วัฏจักรหิน วัฏจักรหิน : วัดวาอาราม หินงามบ้านเรา
การสร้างแบบสอบถาม และ การกำหนดเงื่อนไข.
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี อ.ปิยะพงศ์ ผลเจริญ
บทที่ 4 แรงและกฎของนิวตัน
ความดัน (Pressure).
บทที่ 11 พัลส์เทคนิค
การเปลี่ยนแปลงประมาณการทางบัญชี และข้อผิดพลาด
การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไตล์ (Projectile Motion) จัดทำโดย ครูศุภกิจ
ค่ารูรับแสง - F/Stop ค่ารูรับแสงที่มีค่าตัวเลขต่ำใกล้เคียง 1 มากเท่าไหร่ ค่าของรูรับแสงนั้นก็ยิ่งมีความกว้างมาก เพราะเราเปรียบเทียบค่าความสว่างที่ 1:1.
การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
การเติบโตของฟังก์ชัน (Growth of Functions)
แบบจำลองน้ำขึ้นน้ำลง
การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย (Simple harmornic motion)
การวิเคราะห์สถานะคงตัวของ วงจรที่ใช้คลื่นรูปไซน์
ปรากฏการณ์ดอปเพลอร์ของเสียง Doppler Effect of Sound
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ชุดที่ 1 ไป เมนูรอง

การเขียนรูปเวกเตอร์แทนแรง ถาม – ตอบ ตรวจสอบความเข้าใจ (1) มวลและจุดศูนย์กลางมวล การเขียนรูปเวกเตอร์แทนแรง กฎแรงดึงดูดระหว่างมวลของนิวตัน น้ำหนักของวัตถุ สภาพไร้น้ำหนักและสภาพเสมือนไร้น้ำหนัก สนามความโน้มถ่วงของโลก และจุดศูนย์ถ่วงของวัตถุ ถาม – ตอบ ตรวจสอบความเข้าใจ (1) ร.ร.บุญวาทย์วิทยาลัย ลำปาง ครูสินอารย์ ลำพูนพงศ์

สภาพเดิมของการเคลื่อนที่ 2.เคลื่อนที่ด้วยความเร็วคงตัว มี 2 สภาพ คือ 1.อยู่นิ่งตลอดไป 2.เคลื่อนที่ด้วยความเร็วคงตัว กลับ เมนูรอง ร.ร.บุญวาทย์วิทยาลัย ลำปาง ครูสินอารย์ ลำพูนพงศ์

ของการเคลื่อนที่ของวัตถุ ในการต้านการเปลี่ยนสภาพ การเคลื่อนที่ของวัตถุ ความเฉื่อย ( inertia ) เป็น สมบัติในการรักษาสภาพเดิม ของการเคลื่อนที่ของวัตถุ หรือเป็น สมบัติ ในการต้านการเปลี่ยนสภาพ การเคลื่อนที่ของวัตถุ กลับ เมนูรอง ร.ร.บุญวาทย์วิทยาลัย ลำปาง ครูสินอารย์ ลำพูนพงศ์

วัตถุมีความเฉื่อยมากน้อยเพียงใด มวล ( mass , m ) เป็น ปริมาณที่บอกให้ทราบว่า วัตถุมีความเฉื่อยมากน้อยเพียงใด มวล เป็น ปริมาณสเกลาร์ สัญลักษณ์แทนมวล คือ m ในระบบ SI มีหน่วย เป็น kg กลับ เมนูรอง ร.ร.บุญวาทย์วิทยาลัย ลำปาง ครูสินอารย์ ลำพูนพงศ์

จุดศูนย์กลางมวล (centre of mass, c.m.) เป็น เสมือนที่รวมมวลของวัตถุ ทั้งก้อนหรือทั้งระบบ เมื่อออกแรงดันวัตถุแล้ว ถ้าวัตถุ มีการเลื่อนที่อย่างเดียวโดยไม่หมุน กลับ เมนูรอง ร.ร.บุญวาทย์วิทยาลัย ลำปาง ครูสินอารย์ ลำพูนพงศ์

เมื่อออกแรงดันวัตถุแล้ว ถ้าวัตถุ มีการเลื่อนที่อย่างเดียวโดยไม่หมุน แนวแรงจะผ่านจุดศูนย์กลางมวล กลับ เมนูรอง ร.ร.บุญวาทย์วิทยาลัย ลำปาง ครูสินอารย์ ลำพูนพงศ์

ตัวอย่าง ตำแหน่ง จุด c.m. ของวัตถุ กลับ เมนูรอง ร.ร.บุญวาทย์วิทยาลัย ลำปาง ครูสินอารย์ ลำพูนพงศ์

ตัวอย่าง ตำแหน่ง จุด c.m. ของวัตถุ กล่องอยู่สูงจากพื้นเท่าใด กล่องสูง 1 m วางบนพื้นราบ c.m. 1 m c.m. more จุด c.m. ใช้เป็น สิ่งบอกตำแหน่งของวัตถุ กลับ เมนูรอง ร.ร.บุญวาทย์วิทยาลัย ลำปาง ครูสินอารย์ ลำพูนพงศ์

มีหน่วยเป็น นิวตัน ( N ) แรง ( Force ) เป็น ปริมาณเวกเตอร์ มีหน่วยเป็น นิวตัน ( N ) ต้องการย้ายที่ ดึงด้วย แรง 20 N ดึงด้วย แรง 20 N กลับ เมนูรอง ร.ร.บุญวาทย์วิทยาลัย ลำปาง ครูสินอารย์ ลำพูนพงศ์

อยู่ ณ จุดที่วัตถุถูกแรงกระทำ Q  P  การเขียนรูปแสดงแรงที่กระทำต่อวัตถุ จะเขียนรูปลูกศรตรง มี ชื่อกำกับไว้แทนแต่ละแรง ควรเขียนให้ หัว หรือ หาง ของลูกศร อยู่ ณ จุดที่วัตถุถูกแรงกระทำ กลับ เมนูรอง ร.ร.บุญวาทย์วิทยาลัย ลำปาง ครูสินอารย์ ลำพูนพงศ์

กฎแรงดึงดูดระหว่างมวลของนิวตัน m1 m2 F12 F21 R m1 และ m2 เป็น มวลของวัตถุทั้งสอง F12 และ F21 เป็น แรงดึงดูดระหว่างมวล ที่แต่ละวัตถุต่างส่งไปกระทำต่อกัน R เป็น ระยะทางระหว่างวัตถุทั้งสอง กลับ เมนูรอง ร.ร.บุญวาทย์วิทยาลัย ลำปาง ครูสินอารย์ ลำพูนพงศ์

Fg เป็น ขนาดของทั้ง F12 และ F21 Fg  m1 m2 m1m2 R2 Fg  1 R2 Fg  G m1m2 R2 Fg = G เป็น ค่าคงตัวความโน้มถ่วงสากล G มีค่า 6.67 x 10-11 Nm2/ kg2 กลับ เมนูรอง ร.ร.บุญวาทย์วิทยาลัย ลำปาง ครูสินอารย์ ลำพูนพงศ์

น้ำหนัก ( Weight , W ) หรือ แรงโน้มถ่วง คือ แรงที่โลกดึงดูดวัตถุ เป็น แรงดึงดูดระหว่างมวลที่โลกกระทำต่อวัตถุ ตาม กฎแรงดึงดูดระหว่างมวล กลับ เมนูรอง ร.ร.บุญวาทย์วิทยาลัย ลำปาง ครูสินอารย์ ลำพูนพงศ์

ยิ่งสูง/ไกล จากโลก วัตถุยิ่งมี น้ำหนักน้อยลง G m1m2 จาก Fg = R2 G MEmx R2 W = ในที่นี้คือ ยิ่งสูง/ไกล จากโลก วัตถุยิ่งมี น้ำหนักน้อยลง ถ้าอยู่ไกลจนไม่มีแรงที่โลกดึงดูดวัตถุเลย เรียกว่า วัตถุอยู่ในสภาพไร้น้ำหนัก กลับ เมนูรอง ร.ร.บุญวาทย์วิทยาลัย ลำปาง ครูสินอารย์ ลำพูนพงศ์

สภาพเสมือนไร้น้ำหนัก ที่มา http://commons.wikimedia.org/wiki/ กลับ เมนูรอง ร.ร.บุญวาทย์วิทยาลัย ลำปาง ครูสินอารย์ ลำพูนพงศ์

สภาพเสมือนไร้น้ำหนัก เกิดขึ้นได้โดยไม่จำเป็นต้องอยู่ไกลจากโลกแต่เป็น สภาพที่ปรากฏเฉพาะต่อผู้สังเกตที่มีความเร่ง เช่น ผู้สังเกตที่อยู่ในยานอวกาศที่กำลังโคจรรอบโลก สังเกตสิ่งที่อยู่ในยาน หรือ ผู้ที่อยู่ในลิฟต์ ที่ขาดและตกลงมาด้วยความเร่งเนื่องจากแรงโน้มถ่วงของโลก สังเกตสิ่งที่อยู่ในลิฟต์ กลับ เมนูรอง ร.ร.บุญวาทย์วิทยาลัย ลำปาง ครูสินอารย์ ลำพูนพงศ์

ส่งไปกระทำต่อหนึ่งหน่วยมวลของวัตถุ สนามความโน้มถ่วง ( gravitational field ) เป็นปริมาณที่บอกถึง ค่าแรงโน้มถ่วงที่โลก ส่งไปกระทำต่อหนึ่งหน่วยมวลของวัตถุ บางทีเรียก ค่าความโน้มถ่วง ( gravity, g ) แรงโน้มถ่วงที่โลกกระทำต่อวัตถุ มวลของวัตถุ สนามความโน้มถ่วง = กลับ เมนูรอง ร.ร.บุญวาทย์วิทยาลัย ลำปาง ครูสินอารย์ ลำพูนพงศ์

จาก G m1m2 G MEmx ในที่นี้ Fg = W = R2 R2 G mxME W R2 mx แรงโน้มถ่วงที่โลกกระทำต่อวัตถุ มวลของวัตถุ สนามความโน้มถ่วง = G m1m2 ในที่นี้ G MEmx Fg = W = R2 R2 G mxME R2 สนามความโน้มถ่วง = = W mx G ME R2 หรือ ความโน้มถ่วง = g = กลับ เมนูรอง ร.ร.บุญวาทย์วิทยาลัย ลำปาง ครูสินอารย์ ลำพูนพงศ์

เราวัดค่า g, RE , G ได้ ดังนั้น จึงคำนวณหา ME คือ มวลของโลก ได้ จาก G ME R2 ความโน้มถ่วง = g = ที่ผิวโลก G ME RE2 ความโน้มถ่วง = g = g RE2 G ดังนั้น ME = เราวัดค่า g, RE , G ได้ ดังนั้น จึงคำนวณหา ME คือ มวลของโลก ได้ กลับ เมนูรอง ร.ร.บุญวาทย์วิทยาลัย ลำปาง ครูสินอารย์ ลำพูนพงศ์

หรือค่าความโน้มถ่วง หรือ gนี้ ก็คือค่าความเร่ง G ME R2 จาก ความโน้มถ่วง = g = ยิ่งสูง/ไกล จากโลก ค่าความโน้มถ่วงน้อยลง G MEmx R2 W = จาก และทำให้ได้ว่า W = mg ความสัมพันธ์นี้ สอดคล้องกับกฎการเคลื่อนที่ข้อที่สองของนิวตันโดยค่าสนามความโน้มถ่วง หรือค่าความโน้มถ่วง หรือ gนี้ ก็คือค่าความเร่ง เนื่องจากแรงโน้มถ่วงของโลก g = 10 m/s2 นั่นเอง กลับ เมนูรอง ร.ร.บุญวาทย์วิทยาลัย ลำปาง ครูสินอารย์ ลำพูนพงศ์

(centre of gravity, c.g.) จุดศูนย์กลางของความโน้มถ่วง เป็น เสมือนที่รวมน้ำหนักของวัตถุทั้งก้อน หรือทั้งระบบ กลับ เมนูรอง ร.ร.บุญวาทย์วิทยาลัย ลำปาง ครูสินอารย์ ลำพูนพงศ์

ถาม – ตอบ ตรวจสอบความเข้าใจ (1) กับ จุดศูนย์กลางมวล ( c.m. ) ตามปกติแล้ว จุดศูนย์ถ่วง จะอยู่ที่เดียวกับ จุดศูนย์กลางมวล ถาม – ตอบ ตรวจสอบความเข้าใจ (1) คำถาม : จงอธิบายว่า จุดศูนย์ถ่วง ( c.g. ) กับ จุดศูนย์กลางมวล ( c.m. ) จะไม่อยู่ที่เดียวกันได้หรือไม่ ? กลับ เมนูรอง ร.ร.บุญวาทย์วิทยาลัย ลำปาง ครูสินอารย์ ลำพูนพงศ์

ค่าความโน้มถ่วงน้อยลง G ME R2 ความโน้มถ่วง = g = c.m. c.g. ยิ่งสูง/ไกล จากโลก ค่าความโน้มถ่วงน้อยลง คำตอบ ในบริเวณที่มี สนามความโน้มถ่วงไม่คงตัว c.m. และ c.g. ไม่อยู่ที่เดียวกัน กลับ เมนูรอง ร.ร.บุญวาทย์วิทยาลัย ลำปาง ครูสินอารย์ ลำพูนพงศ์