ดร.ฐิตวันต์ หงษ์กิตติยานนท์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เวชปฏิบัติปลอดภัยในวาระสุดท้ายของชีวิต
Advertisements

Psychiatric emergency Case 1
น.พ.ชลทิศ อุไรฤกษ์กุล 23 มีนาคม 2552
STROKE ศาสตราจารย์เกียรติคุณนายแพทย์ประเสริฐ บุญเกิด
Adrenal Insufficiency and adrenal crisis
Pre hospital and emergency room management of head injury
องค์ความรู้โรคซึมเศร้า
Dip.Thai Broad Preventive Medicine
วิจัย Routine to Research ( R2R )
องค์ความรู้โรคซึมเศร้า ในการอบรมการดูแลเฝ้าดูแลเฝ้าระวังโรคซึมเศร้าสำหรับผู้ปฏิบัติในพื้นที่ สนับสนุนโดย กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข.
The prevention of progression of arterial disease and diabetes (POPADAD) trial: factorial randomised placebo controlled trial of aspirin and antioxidants.
ธนกร ศิริสมุทร เภสัชสนเทศ กลุ่มการบริบาลเภสัชกรรม ฝ่ายเภสัชกรรม
โรคหลอดเลือดสมอง Cerebrovascular disease (CVD) CVA Stroke
สรุปจำนวน APN และแผนการส่งศึกษาต่อ APN
แนวทางการดูแลผู้ป่วยสุราและภาวะแทรกซ้อนทางกายในผู้ป่วยยาเสพติด
โรคกระดูกพรุน (Osteoporosis).
งานอุบัติเหตุและฉุกเฉิน โรงพยาบาลสุรินทร์ Emergency Room Surin Hospital
ดร.ฐิตวันต์ หงษ์กิตติยานนท์ ภาควิชาการพยาบาลจิตเวช
ดร.ฐิตวันต์ หงษ์กิตติยานนท์
ANXIETY DISORDER & MOOD DISORDER
โครงการสนับสนุนและพัฒนาเครือข่ายระบบสุขภาพอำเภอ (District Health System) เขตเมืองและเขตชนบท ใน 7 จังหวัดภาคใต้ตอนล่าง ดร.นพ.วรสิทธิ์ ศรศรีวิชัย เลขาธิการ.
(Attention-Deficit Hyperactivity Disorder)
Essential nutrition in ICU
เภสัชวิทยา (Pharmacology)
สมองเสื่อม พญ. สิรินทร ฉันศิริกาญจน สาขาวิชาเวชศาสตร์ผู้สูงอายุ
Burden of disease measurement
ความรู้เบื้องต้นการส่งเสริมพัฒนาการและสุขภาพเด็ก
การบำบัดรักษาทางสังคมจิตใจ สำหรับผู้ป่วยโรคซึมเศร้า ในการอบรมการบริการผู้ป่วยโรคซึมเศร้าสำหรับผู้ปฏิบัติ หลักสูตรกรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข.
บทบาทพยาบาลในการพยาบาลสุขภาพจิตและจิตเวช
ดร.ฐิตวันต์ หงษ์กิตติยานนท์
Orthopaedic Emergency นงลักษณ์ อนันต์ประดิษฐ พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
ดร.ฐิตวันต์ หงษ์กิตติยานนท์
ภญ. วรางคณา วัลลา งานบริการจ่ายยาผู้ป่วยใน กลุ่มงานเภสัชกรรม รพ.ลำพูน
แนวทางการพยาบาลผู้ป่วย โรคหลอดเลือดสมอง
แนวทางการดำเนินงาน แผนงานสนับสนุนระบบบริการโรคไตวาย ปีงบประมาณ 2559
โรคจิตเภท และโรคจิตที่สำคัญ
มาตรฐานโรงพยาบาลและบริการสุขภาพ
การปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีสำหรับฟาร์มสุกร 2552 VS 2558
แบบทดสอบความรู้การช่วยกู้ชีพทารกแรกเกิด
Bipolar disorder พญ. พอใจ มหาเทพ 22 มีนาคม 2561.
การดำเนินงาน คลินิกหมอครอบครัว
ปัญหาสุขภาพจิตกับการใช้สุรา: แนวโน้มกับการป้องกัน
Medication Reconciliation
“การรักษาภาวะฉุกเฉินจากโรคมะเร็งเต้านมระยะแพร่กระจาย”
ดร.ฐิตวันต์ หงษ์กิตติยานนท์
ดร.ฐิตวันต์ หงษ์กิตติยานนท์
โครงการประชุมเชิงปฏิบัติการ การจัดทำแนวทางการดูแลผู้ป่วยจิตเวช ในการรับประทานยาต่อเนื่องสำหรับโรงพยาบาลชุมชน โรงพยาบาลจิตเวชนครราชสีมาราชนครินทร์ 19 มกราคม.
ประชุมร่วมแลกเปลี่ยนถ่ายทอดนโยบายทิศทางการทำงานงาน NCDs
Geriatric Medicine for First Year Residents
Drug-Drug Interaction
ทฤษฎีชีวภาพทางการแพทย์ Soontareeporn Meepring, PhD,M.Sc, RN
พฤติกรรมผู้บริโภค.
กระบวนการรับรู้ของผู้บริโภค
NUR 3263 การรักษาโรคเบื้องต้น (Primary Medical Care)
ผลกระทบของความรุนแรงที่มีต่อ เด็กและวัยรุ่น
การใช้ยา.
พฤติกรรมผู้บริโภค 8 ตลาดผู้บริโภคและพฤติกรรมการซื้อของผู้บริโภค
ความรู้พื้นฐานโรคทางจิตเวช
Working with the families of the Midlife
ผลการดำเนินงาน ER คุณภาพ
การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (service Plan) แผนงานที่ 3 การพัฒนาระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉินครบวงจรและระบบการส่งต่อ โรงพยาบาลมหาสารคาม.
ผลการบำบัดยาเสพติด ของโรงพยาบาลสวนปรุง
รหัสวิชา NUR 3236 รายวิชา การรักษาโรคเบื้องต้น Primary Medical Care
Risk-taking behaviors in Adolescent
อาจารย์สิรินทร เลิศคูพินิจ
งานวิจัย.
แนวทางการ ขับเคลื่อน ยุทธศาสตร์กรมสุขภาพจิต
โดย สำนักงาน ป.ป.ช. ประจำจังหวัดจันทบุรี
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ดร.ฐิตวันต์ หงษ์กิตติยานนท์ บทที่ ๑ บทบาทพยาบาลในการพยาบาล สุขภาพจิตและจิตเวช 2 การรักษาพยาบาลด้วยกระแสไฟฟ้า (ECT ; Electro convulsive therapy) ดร.ฐิตวันต์ หงษ์กิตติยานนท์

ดร.ฐิตวันต์ หงษ์กิตติยานนท์ บทที่ ๑บทบาทพยาบาลใน การพยาบาลสุขภาพจิตและจิตเวช ๑.๑ การส่งเสริมและการป้องกันปัญหาสุขภาพจิต ๑.๑.๑ การส่งเสริมสุขภาพจิต ๑.๑.๒ การป้องกันปัญหาสุขภาพจิต ๑.๒ บทบาทพยาบาลกับแนวคิดการบำบัดทางจิต ๑.๒.๑ Individual Psychotherapy ๑.๒.๒ Group therapy ดร.ฐิตวันต์ หงษ์กิตติยานนท์

ดร.ฐิตวันต์ หงษ์กิตติยานนท์ บทที่ ๑วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม หลังเรียนมีความรู้เรื่อง ๑.๑ การส่งเสริมและการป้องกันปัญหาสุขภาพจิต ๑.๑.๑ การส่งเสริมสุขภาพจิต ๑.๑.๒ การป้องกันปัญหาสุขภาพจิต ๑.๒ บทบาทพยาบาลกับแนวคิดการบำบัดทางจิต ๑.๒.๑ Individual Psychotherapy ๑.๒.๒ Group therapy ดร.ฐิตวันต์ หงษ์กิตติยานนท์

ดร.ฐิตวันต์ หงษ์กิตติยานนท์ กิจกรรม ดูวีดีทัศน์การผ่อนคลายความเครียด/เพลงลมหายใจ/วีดีโอกลุ่มบำบัด/ECT สาธิตการทำสมาธิเพื่อการบำบัด การสะท้อนคิด มอบหมายให้นักศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองเพื่อสรุปองค์ความรู้ ให้นักศึกษาแยกประเด็นและสรุปประเด็นที่สำคัญในหัวข้อที่ได้ รับมอบหมาย จากนั้นเขียน concept mapping ดร.ฐิตวันต์ หงษ์กิตติยานนท์

แนวคิดสำคัญของการบำบัดรักษาทางจิต เวช โรคทางจิตเวชมีปัจจัยเหตุร่วมกันทั้งปัจจัยด้านชีวภาพ ปัจจัยด้านจิตใจ และปัจจัยด้านสังคม สิ่งแวดล้อม ดังนั้นการบำบัดรักษาผู้ป่วยจิตเวชจึงต้องอาศัยการบำบัดรักษาร่วมกันทั้งการบำบัดรักษาทางชีวภาพ การบำบัดรักษาทางจิตใจ และการบำบัดรักษาทางสังคม สิ่งแวดล้อม

รูปแบบการบำบัดรักษาทางจิตเวช การบำบัดรักษาทางชีวภาพ : การใช้ยา (จิตเภสัชบำบัด) การรักษาด้วยไฟฟ้า (Electro-Convulsive Therapy; ECT) การบำบัดทางจิต : การให้คำปรึกษา(Couselling) จิตบำบัด (Psychotherapy) รายบุคคล/รายกลุ่มครอบครัวบำบัด CBT การบำบัดพฤติกรรมที่ผิดปกติ : พฤติกรรมบำบัด(Behavioral Therapy)

รูปแบบการบำบัดรักษาทางจิตเวช 3. การบำบัดทางสังคม/สิ่งแวดล้อม : สิ่งแวดล้อมบำบัด(Milieu Therapy) กิจกรรมบำบัด (Group Activity Therapy) ชุมชนบำบัดอาชีวบำบัด การจำกัดพฤติกรรม (Setting Limits) 4. การบำบัดในภาวะวิกฤต และภาวะฉุกเฉินทางจิตเวช

การรักษาทางด้านร่างกาย (Somatic Therapy) การบำบัดด้วยยา (Psycho-Pharmacological Therapy) การบำบัดด้วยไฟฟ้า (Electro Convulsive Therapy) การบำบัดโดยการผูกมัดและจำกัดขอบเขต (Restraint and Set Limit) 2/25/2019

Characteristics of schizophrenia 2/25/2019 งานการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต ภ.พยาบาลศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ รพ.รามาธิบดี

Characteristics of schizophrenia Prevalence 0.5–1.0% of population Onset Positive features in late adolescence or early adulthood Aspects of cognitive deficits detectable earlier in life Comorbidity Depression: ∼30–50% Substance abuse: ∼50% Suicide: ∼5–10%

การเกิดโรคทางจิตเวช มี ๔ปัจจัย (๔ P’s) ดังนี้ ๑. Predisposing factors คือ ปัจจัยเสี่ยงที่มีมาก่อนป่วย เช่น ประวัติพันธุกรรม การเลี้ยงดูในครอบครัว ๒. Precipitating factors คือ ปัจจัยกระตุ้นให้เกิดอาการ เช่นสามีมีภรรยาน้อย ๓. Perpetuating factors คือ ปัจจัยที่เสริมให้อาการไม่หาย เช่นการใช้ยาเสพติด ๔. Protective factors คือ ปัจจัยปกป้องให้บุคคลปรับตัวอย่างเหมาะสม เช่น การมีครอบครัวช่วยสนับสนุน การมีงานทำ ดังตัวอย่าง

รูปแบบการบำบัดรักษาทางจิตเวช การบำบัดรักษาทางชีวภาพ : การใช้ยา (จิตเภสัชบำบัด) การรักษาด้วยไฟฟ้า (Electro-Convulsive Therapy; ECT) การบำบัดทางจิต : การให้คำปรึกษา(Couselling) จิตบำบัด (Psychotherapy) รายบุคคล/รายกลุ่มครอบครัวบำบัด CBT การบำบัดพฤติกรรมที่ผิดปกติ : พฤติกรรมบำบัด(Behavioral Therapy)

รูปแบบการบำบัดรักษาทางจิตเวช 3. การบำบัดทางสังคม/สิ่งแวดล้อม : สิ่งแวดล้อมบำบัด(Milieu Therapy) กิจกรรมบำบัด (Group Activity Therapy) ชุมชนบำบัดอาชีวบำบัด การจำกัดพฤติกรรม (Setting Limits) ด้วยการใช้เครื่องผูกมัด (Restraints)ห้องแยก(Isolation)หรือกักขัง (Seclusion) 4. การบำบัดในภาวะวิกฤต และภาวะฉุกเฉินทางจิตเวช

การรักษาทางด้านร่างกาย (Somatic Therapy) การบำบัดด้วยยา (Psycho-Pharmacological Therapy) การบำบัดด้วยไฟฟ้า (Electro Convulsive Therapy) การบำบัดโดยการผูกมัดและจำกัดขอบเขต (Restraint and Set Limit) 2/25/2019

ดร.ฐิตวันต์ หงษ์กิตติยานนท์ บทที่ 1/2 แนวคิดในการบำบัดรักษาทางจิตเวช วัตถุประสงค์การเรียนรู้ 1. อธิบายและจำแนกการบำบัดทางจิต รายบุคคล กลุ่มและครอบครัว 2. บทบาทหน้าที่ของพยาบาลในการบำบัดทางจิต:การบำบัดทางจิต รายบุคคล กลุ่มและครอบครัว 3. อธิบายถึงข้อบ่งใช้ และข้อห้ามใช้ ข้อควรระวังในการรักษาด้วย กระแสไฟฟ้า 4. อธิบายถึงวิธีการเตรียมผู้ป่วยและเตรียมเครื่องมือในการรักษาด้วย กระแสไฟฟ้า 5. อธิบายถึงบทบาทหน้าที่ของพยาบาลเมื่อได้รับการรักษาด้วย กระแสไฟฟ้า ดร.ฐิตวันต์ หงษ์กิตติยานนท์

ดร.ฐิตวันต์ หงษ์กิตติยานนท์ บทที่ 3 แนวคิดในการบำบัดรักษาทางจิตเวช การบำบัดทางจิต รายบุคคล p 66-70 ดร.ฐิตวันต์ หงษ์กิตติยานนท์

ดร.ฐิตวันต์ หงษ์กิตติยานนท์ บทที่ 1แนวคิดในการบำบัดรักษาทางจิตเวช การบำบัด ดร.ฐิตวันต์ หงษ์กิตติยานนท์

ดร.ฐิตวันต์ หงษ์กิตติยานนท์ บทที่ 1แนวคิดในการบำบัดรักษาทางจิตเวช ลักษณะและขอบเขตงานทั้ง ๔ มิติ ของการพยาบาลสุขภาพจิตและจิตเวช ๑. การส่งเสริมสุขภาพจิตเป็นการป้องกันปัญหาขั้นต้น(Primary prevention) โดยมีหลักการว่า สุขภาพจิตขั้นต้น จะมีพื้นฐานจากการมีการเกิดที่ดี มีสุขภาพสมบูรณ์แข็งแรง ได้รับความอบอุ่นอย่างเหมาะสม มีความเชื่อมั่นในตนเอง รักตนเอง มีความไว้วางใจผู้อื่น การได้รับการฝึกการแสดงออกที่เหมาะสม มีความเชื่อมั่น มีความมั่นคงในจิตใจ ให้ความรักผู้อื่น ยอมรับตนเอง บุคคลที่มีคุณสมบัติดังกล่าวจะมี พื้นฐานทางจิตใจที่เข็มแข็ง สามารถเผชิญปัญหาและอุปสรรคต่างๆได้ อยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุขทำประโยชนแก่ตนเอง ผู้อื่นสังคมและประเทศชาติได้ อย่างมีความสุขตั้งแต่บุคคล ครอบครัวและชุมชน .๒. การป้องกันปัญหาสุขภาพจิต เป็นการกระทำที่ต่อเนื่องจากการส่งเสริมสุขภาพจิต เพื่อป้องกันปัญหาด้านจิตใจที่อาจเกิดขึ้น ข้อนี้จะมีบทบาทในยุคปัจจุบัน เช่นคัดกรองซึมเศร้า .๓. การบำบัดรักษาทางการพยาบาลเป็นการป้องกันขั้นที่ 2 (Secondary prevention) กิจกรรมทางการพยาบาล ได้แก่ การสื่อสารเพื่อการบำบัด การทำกิจกรรมบำบัด การทำกลุ่มบำบัด การดูแลให้ผู้ป่วยได้รับยาตามแผนการรักษา ๔. การฟื้นฟูสภาพเป็นการป้องกันขั้นที่ 3 (Tertiary prevention) โดยจัดสิ่งแวดล้อมเพื่อการรักษา การบำบัดทางความคิด การจัดกลุ่มกิจกรรมบำบัด และให้การรักษาบำบัดอื่นๆ ร่วมกับบุคลากรในทีมจิตเวชจะกระทำควบคู่ไปกับการบำบัด เพื่อเสริมสร้างความสามารถของบุคคล ดร.ฐิตวันต์ หงษ์กิตติยานนท์

ดร.ฐิตวันต์ หงษ์กิตติยานนท์ บทที่ ๒ บทบาทพยาบาลกับการรักษาด้วยไฟฟ้า 1.การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับการรักษาด้วยกระแสไฟฟ้า 1. แนวคิดและหลักการในการรักษาด้วยกระแสไฟฟ้า 2. อาการแทรกซ้อนของการรักษาด้วยกระแสไฟฟ้า 3. บทบาทของพยาบาล ก่อน ขณะ หลังรักษาด้วยกระแสไฟฟ้า ดร.ฐิตวันต์ หงษ์กิตติยานนท์

บทที่ 1 Pre test 1.ข้อบ่งชี้ที่พบบ่อย ในการทำ ECTคืออะไร 4. ระยะของการชักมีอะไรบ้าง 5. การพยาบาลควรทำอย่างไร ขณะทำ ECT และ หลังจากผู้ป่วยหลังทำ ECT

ดร. ฐิตวันต์ หงษ์กิตติยานนท์ การรักษาด้วยกระแสไฟฟ้า ดร. ฐิตวันต์ หงษ์กิตติยานนท์

บทที่ 3.4 แนวคิดในการบำบัดรักษาทางจิตเวช การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับ เพื่อมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการรักษาด้วยกระแสไฟฟ้า ๒. เพื่อมีความรู้ เกี่ยวกับแนวคิด ทฤษฎีการรักษาด้วยกระแสไฟฟ้า ๓.เพื่อนำไปใช้และวิเคราะห์บทบาทพยาบาล : ๔.การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับการรักษาด้วยกระแสไฟฟ้า บทที่ 3.4 แนวคิดในการบำบัดรักษาทางจิตเวช การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับ

การรักษาด้วยกระแสไฟฟ้า

วัตถุประสงค์การรักษาด้วยกระแสไฟฟ้า เพื่อมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการรักษาด้วยกระแสไฟฟ้า ๒. เพื่อมีความรู้ เกี่ยวกับแนวคิด ทฤษฎีการรักษาด้วยกระแสไฟฟ้า ๓. เพื่อนำไปใช้และวิเคราะห์บทบาทพยาบาล : ๔. การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับการรักษาด้วยกระแสไฟฟ้า วัตถุประสงค์การรักษาด้วยกระแสไฟฟ้า

ค.ศ 1934 ใช้ Camphor 20% ฉีดเข้ากล้ามเนื้อผู้ป่วย แล้วพบว่า10 รายใน 24 รายมีอาการทางจิตดีขึ้น ค.ศ 1935 ได้มีการทดลองใช้ Metrazole (synthetic ของ Camphor) 10% ฉีดเข้าทางหลอดเลือด ทำให้เกิดอาการชักแล้ว พบว่า 41 รายใน 101 รายมีอาการทางจิตสงบลง

ค.ศ 1938 ได้มีการทดลองใช้กระแสไฟฟ้าในสุนัขและสุกรที่ดุ และวุ่นวาย แต่ไม่สำเร็จใช้กระแสไฟมากเกินไป ทำให้ตาย Lucio Cerletti (1938) ได้นำมาใช้กับผู้ป่วยที่มีอาการก้าวร้าว โดยใช้แรงดันไฟฟ้า 70 โวลต์ ภายในเวลา 1/10 วินาที พบว่า ผู้ป่วยที่มีอาการชักไม่เต็มที่ จึงทดลองเพิ่มแรงดันไฟฟ้าให้สูงขึ้น เป็นผลให้ผู้ป่วยเกิดอาการชักแบบเต็มที่ทั้งตัว ปรากฏว่าอาการ ก้าวร้าวของผู้ป่วยลดลง แต่เนื่องจากปัญหาเรื่อง Fracture and dislocation ค.ศ1940จึงได้มีการนำยาคลายกล้ามเนื้อ (Cucrare) เข้ามาใช้ แต่หลังจากที่มี การนำ antipsychotic มาใช้ ทำให้การทำ ECT. ลดลงไป จนกระทั่งระยะหลังได้มีการนำมาใช้เพิ่มขึ้นอีก

แนวคิด 1. เมื่อสมองได้รับกระแสไฟฟ้าเข้าไป ในจำนวน พอเหมาะจะทำให้ช็อกและหมดสติ อาการชักเกร็ง จะทำให้สมองมีการเปลี่ยนแปลงทางชีวเคมีเนื่องจาก สารที่เป็นตัวนำกระแสไฟฟ้า ในสมอง (Serotonin และ Amines) มีการปรับตัวทำให้เกิดสมดุล

2. ขณะชักทำให้สมองขาด O2 ชั่วคราว เนื่องจากผู้ป่วยหยุดหายใจ (Transient cerebral anoxia) เมื่อมีการสูดหายใจเต็มที่ จะมีอากาศเข้าปอด และโลหิตที่ไหลจากส่วนต่างๆ จะนำเอา O2 และอาหารไปเลี้ยงสมองและร่างกาย ทำให้การทำงานดีขึ้น

เชื่อว่าการทำให้ผู้ป่วยที่มีความ รู้สึกผิดบาปสูงและซึมเศร้า 3. แนวความคิดทางจิตวิทยา เชื่อว่าการทำให้ผู้ป่วยที่มีความ รู้สึกผิดบาปสูงและซึมเศร้า เมื่อได้รับโทษทรมานด้วยการช็อกไฟฟ้า จะเป็นการไถ่โทษให้ความรู้สึกผิดบาปลดลงได้ ผู้ป่วยจะหายเศร้าหลังจากได้รับโทษแล้ว

4. การผ่านกระแสไฟฟ้าเข้าไปทางสมองส่วนหน้า ซึ่งเป็นศูนย์ความคุมความคิดและความจำ ทำให้ผู้ป่วยซึ่งจำความทุกข์ เจ็บปวด ที่ฝังใจอยู่ ได้ลืมความเจ็บปวดลงได้ (Amnesia) อาการทางจิตจึงดีขึ้น 5. ECT ทำให้ปริมาณของ “Antidepression” ในร่างกาย เพิ่มขึ้นซึ่งทำให้อาการของโรคซึมเศร้าหายไป

6. *ECT. มีการออกฤทธิ์บางอย่างเหมือน Anticonvulsant เช่น Carbamazepine ซึ่งมีฤทธิ์ Antidepressant และ Antimania การใช้ กระแสไฟฟ้าทำให้ชัก มีผลให้เกิด Anticonvulsant activity ตามมา การทำ ECT จึงมีประสิทธิภาพแบบยากันชัก

วัตถุประสงค์ ECT เป็น ทางเลือกในการรักษาซึ่งเข้าใจว่ากระแสไฟฟ้า จะไปกระตุ้นเซลล์สมองทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลง รุนแรงและรวดเร็วทำให้สมองทำงานได้ปกติ โดยเฉพาะด้านความรู้สึกนึกคิดและด้าน พฤติกรรมเปลี่ยนแปลงในทางที่เหมาะสม

รูปแบบของการรักษา แบ่งออกเป็นชนิดต่างๆ ต่อไปนี้ แบ่งตามการใช้ยาสลบ แบ่งตามลักษณะคลื่นไฟฟ้า แบ่งตามการวาง electrode แบ่งตามจำนวนการชักในแต่ละครั้ง

แบ่งตามการใช้ยาสลบ 1. Unmodified ECT. ไม่ทำให้หลับ 2. Modified ECT. ได้รับ Premedication ก่อน

แบ่งตามลักษณะคลื่นไฟฟ้า 1. Sine wave เป็นเครื่องรุ่นเก่าที่ใช้ Sine wave เพื่อให้ผู้ป่วยชัก 2. Brief pulse wave เป็นเครื่องรุ่นใหม่ที่ให้ไฟช่วงสั้นๆ ทำให้ได้ผลดีกว่าแบบแรก เพราะ - ใช้กระแสไฟฟ้าน้อยกว่า - การสูญเสียความจำน้อยกว่า - ผู้ป่วยสามารถฟื้นจากการชักเร็วกว่า

แบ่งตามการวาง electrode 1. Bilateral เป็นการวาง electrode บน Temporal area มีข้อดี คือ - เชื่อว่าผลการรักษาดีกว่า - ไม่พบ missed seizure 2. Unilateral nondominant โดยวาง electrode บนศีรษะข้างเดียว กับมือที่ถนัด มีข้อดี คือ - การสูญเสียความทรงจำมีน้อยกว่า - ฟื้นจากการทำ ECT. เร็วกว่า

แบ่งตามจำนวนการชักในแต่ละครั้ง 1. Simple conventional ECT. เป็นการชักเพียงครั้งเดียว 2. Multiple monitored ECT. เป็นการชักมากกว่า 1 ครั้ง ภายใต้ การดมยาสลบครั้งเดียวกัน ซึ่งพบว่าลดอาการ ลดระยะเวลา การอยู่โรงพยาบาลให้สั้นลง แต่ไม่สามารถบอกผลเสียของ Cognitive functions ได้

Indication 1. Major depression with psychotic episode and severe depression 2. Aggressive and Violence 3. Acute mania 4. Schizophrenia 5. ผู้ป่วยที่ไม่ตอบสนองต่อการรักษาทางยา 6. ผู้ป่วยที่ทนต่อผลข้างเคียงของยาไม่ได้

Contraindication 1. โรคทางสมองทุกชนิด 2. โรคหัวใจทุกชนิด 3. โรคกระดูกทุกชนิด 4. ในเด็กอายุต่ำกว่า 15 ปี 5. ผู้สูงอายุที่ร่างกายไม่แข็งแรง 6. หญิงตั้งครรภ์ควรระมัดระวังเป็นพิเศษ

ข้อห้าม จริงๆ แทบจะไม่มี Absolute contraindication เลยทีเดียว ยกเว้นว่าไม่ยินยอมหรือภาวะทางกายอื่นๆ ที่มีความเสี่ยงสูงมาก ผู้ป่วยจิตเวชที่มีเนื้องอกในสมอง เมื่อรักษาด้วย ECT. แล้ว พบว่าไม่มีอาการแย่ลงหรือแพร่กระจายมากขึ้น

ข้อห้าม ผู้ป่วยที่มีปัญหาระบบหัวใจ ในช่วงนำสลบอาจเสี่ยงที่เกิด Cardiac arrythmia จึงมักรอให้ผ่านระยะนี้ไปก่อน (3 เดือน) บางรายที่มี Contraindication อย่างอื่นแต่จำเป็นต้องทำ จะ ต้องได้รับการควบคุมดูแลเป็นอย่างดี

ข้อควรระวังในการรักษาด้วยไฟฟ้า 1. ผู้ป่วยที่มีอาการอ่อนเพลียมากๆ 2. ผู้ป่วยที่มีอายุเกิน 70 ปีขึ้นไป 3. หญิงมีครรภ์ 4. ผู้ป่วยโรคปอดที่มีแนวโน้มทำให้เกิดการหายใจไม่สะดวก 5. ผู้ป่วยที่มีความดันโลหิตสูง

อาการข้างเคียง Reversible adverse effects 1. Headache พบ 54% หายเองได้ใน 2 – 8 ชม. 2. Amnesia มักจะกลับมาใน 24 ชม. 3. Delirium พบมากหลังจากรักษาครั้งแรกแล้ว จะหายเองอาจเป็น วันหรือสัปดาห์ 4. Memory loss มักไม่พบในครั้งแรก หายภายใน 1 – 6 เดือน

อาการข้างเคียง (ต่อ) 5. Cardiovascular system พบ BP. สูง, Pulse เร็วมาก เกิดชั่วคราว แต่หลังชักจะค่อยๆ ลดลงมาปกติ 6. Musculoskeleton system อาจพบ fracture and dislocate และพบ การปวดเมื่อย อาการจะหายใน 24 ชม. 7. Gastrointestinal system อาจพบ N/V และหายใน 12-24 ชม.

อาการข้างเคียง (ต่อ) 8. Prolong seizure คือ ชักนานเกินกว่า 3 นาที ถ้ามี hypoxia นานจะ ยิ่งทำให้ confusion และ amnesia มากขึ้น 9. ผู้ป่วยหญิงบางรายอาจไม่มีประจำเดือน แต่จะหายไปได้เอง 10. Adverse subjective reaction เกิดความรู้สึกไม่ดีหรือกลัวต่อการ ทำ ECT

อาการข้างเคียง Irreversible adverse effects 1. Brain damage อาจเกิดจาก Brain anoxia 2. Musculaskeletal injury อาจมีกระดูกหัก หรือฟันหักได้ 3. Mortality พบการตาย 0.002% มักเกิดจาก Cardiovascular system พบได้ทั้งในระหว่างการทำและช่วงพักฟื้นใน 4-8 ชม. 4. Psychological reaction อาจเกิด emotional trauma ได้

ระยะเวลาการรักษา การรักษาแต่ละครั้งที่เกิดอาการชักและหมดสติอย่างสมบูรณ์ เรียกว่า “1 dose” การกำหนดขึ้นกับอาการทางจิตของผู้ป่วย - อาการทางจิตไม่มาก 1 ครั้ง/สัปดาห์ รวมประมาณ 10 ครั้ง - อาการทางจิตมาก 2-3 ครั้ง/สัปดาห์ รวมประมาณ 20-30 ครั้ง - อาการเรื้อรัง มักจะรักษาแบบ maintenance dose คือ เดือนละ 1 ครั้ง

ความผิดปกติ จำนวนครั้ง Affective disorder 6 - 8 Mania 8 - 10 Schizophrenia 10 -12

วิธีการรักษา แบบ Unmodified ECT. 1. ประเมินและรวบรวมข้อมูลเพื่อประเมินสภาวะก่อนทำ ECT. 2. นอนหงายในท่าที่สบาย แขนชิดลำตัว ใช้หมอนหนุนลำคอและ บั้นเอว 3. ตรวจฟันปลอมและเครื่องประดับ 4. Record V/S, O2 saturation

แบบ Unmodified ECT. (ต่อ) 5. เตรียมเครื่อง Resuscitation 6. เตรียมเครื่อง ECT. ให้พร้อม 7. วาง electrode บริเวณ temporal lobe โดยเช็ด alcohol ก่อน แล้ว ทาด้วย K-Y jelly ใช้สายยางรัดรอบศีรษะเพื่อตรึง electrode แล้ว จึงต่อสายเข้ากับเครื่อง ECT. ที่ปรับระดับกระแสไฟฟ้าแล้ว

แบบ Unmodified ECT. (ต่อ) 9. ปล่อยกระแสไฟฟ้าเข้าสู่ตัวผู้ป่วย โดยจับประคองส่วนต่างๆ ของ ร่างกายไว้ 10. ดูแลให้ O2 ในรายที่จำเป็นและดูแลทางเดินหายใจ ดูดเสมหะ 11. ดูแล Record V/S ทุก 15 นาที

แบบ Unmodified ECT. (ต่อ) 12. หลังจากชักผู้ป่วยจะหลับ ควรดูแลจับผู้ป่วยตะแคงหน้า และ ดูแลความสุขสบายทั่วไป 13. เมื่อตื่นขึ้นผู้ป่วยจะมีอาการสับสนมึนงง ควรดูแลความปลอดภัย

ระยะการชัก Unconscious stage ประมาณ 1 วินาที Tonic stage ประมาณ 10 วินาที Clonic stage ประมาณ 30 วินาที (Grandmal seizure) Apnea stage ประมาณ 1 – 2 วินาที จนหายใจ Sleep stage ประมาณ 5 นาที Confusion stage ประมาณ 15 – 20 นาที หรือ อาจถึง 30 นาที

แบบ Modified ECT. 1. เตรียมผู้ป่วยเหมือนวิธีแรก แต่ผู้ป่วยจะได้รับ Premedication คือ Atropine ก่อนทำ 30 นาที เพื่อลดเสมหะ 2. ให้ยา Sodium thiopental 3-5 mg./kg. เพื่อให้ผู้ป่วยหลับ 3. ให้ยา Succinyl choline 0.1-0.3 mg./kg. เพื่อให้กล้ามเนื้อคลายตัว 4. ปล่อยกระแสไฟฟ้าเข้าสู่ตัวผู้ป่วย 5. มีการชักแต่ไม่รุนแรงเท่าวิธีแรก แต่มีช่วง Apnea stage นานกว่า

Dosage of ECT - ผู้ป่วยไทยใช้ประมาณ 20 joules - ผู้ป่วยต่างประเทศใช้ประมาณ 30 – 50 joules การหาปริมาณกระแสไฟฟ้าที่เหมาะสมขึ้นอยู่กับปัจจัยต่างๆ คือ - การวาง Electrode แนบสนิทกับผิวหนังหรือไม่ - เพศหญิงใช้กระแสไฟฟ้าสูงกว่าเพศชาย - อายุที่สูงขึ้นจะมี Seizure threshold มากขึ้น - Subcutaneous fat มาก จะใช้กระแสไฟฟ้ามากขึ้น - ผู้ที่เคยทำ ECT มาแล้วจะใช้กระแสไฟฟ้ามากขึ้น

บทบาทของพยาบาล การเตรียมผู้ป่วยก่อนการทำ ECT ด้านร่ายกาย ตรวจสอบเอกสารยินยอมรับการรักษา ตรวจสอบรายงานการตรวจร่างกายและการตรวจทาง Lab งดน้ำและอาหารอย่างน้อย 4 ชม.หรือหลังเที่ยงคืนก่อนทำ ทำความสะอาดร่างกาย ไม่ใส่น้ำมันผล ไม่ทาเล็บ ก่อนทำ ECT ต้องประเมิน V/S ถอดฟันปลอม เครื่องประดับ และให้ถ่ายอุจจาระ ปัสสาวะให้เรียบร้อย

ด้านจิตใจ อธิบายให้ผู้ป่วยเข้าใจและยอมรับการรักษา ใช้คำว่า “รักษาด้วยไฟฟ้า” บอกวัน เวลา สถานที่ ที่จะรักษาให้ผู้ป่วยทราบล่วงหน้า ให้ความมั่นใจ กำลังใจแก่ผู้ป่วย ดูแลผู้ป่วยอย่างใกล้ชิดในการรักษาด้วย ECT ใช้เทคนิคต่างๆ เพื่อลดความกลัว ความกังวลของผู้ป่วย เช่น reassure การเข้าร่วมกลุ่มกับผู้ป่วยที่เคยทำรักษา การดูเทป บันทึกภาพ เป็นต้น

ด้านการเตรียมเครื่องมือเครื่องใช้ 1. เครื่อง ECT ขนาด 70 – 130 โวลต์ 2. แผ่น electrode ขั้วบวกและขั้วลบ 3. สายยางรัด electrode 4. สื่อไฟฟ้า (Sodium bicarbonate หรือ K-Y jelly) 5. Alcohol ทำความสะอาด

6. หมอนบรรจุทรายเล็กสำหรับหนุนต้นคอ 7. เครื่อง Suction พร้อมอุปกรณ์ 8. O2 พร้อมอุปกรณ์ 9. ไม้กดลิ้นพัน gauze หรือแผ่นฟันยาง 10. Resuscitation set 11. ในกรณีที่ทำแบบ Modified ECT ต้องมีการเตรียมยาเพิ่ม เช่น Succinyl choline, Diazepam, Atropine sulphate

การตรวจทางห้องปฏิบัติการที่จำเป็น - CBC - UA - Electrolyte (K) - EKG - X-ray - CT, MRI

การพยาบาลผู้ป่วยขณะทำ ECT ให้ผู้ป่วยนอนราบบนเตียง ไม่หนุนหมอน ใช้ผ้าห่มหรือหมอน รองใต้เอวผู้ป่วย ให้ออกซิเจนทางจมูก พยาบาล 1 คนยืนด้านศีรษะ ทาสื่อไฟฟ้าที่ขมับทั้ง 2 ข้าง แล้ว วาง Electrode 5. ใส่แผ่นฟันยางในปากระหว่างฟันบนและล่าง

6. จับคางผู้ป่วยหงายขึ้น จับให้มั่นคง ป้องกันขากรรไกรเคลื่อน 7. พยาบาล 2 คนจับไหล่และแขนผู้ป่วยแนบลำตัว คนละข้าง 8. พยาบาล 2 คนจับต้นขาและเข้าผู้ป่วยราบกับเตียง 9. แพทย์ปล่อยกระแสไฟฟ้า ทำให้ผู้ป่วยเกิดอาการชัก พยาบาลควร จับผู้ป่วยให้แน่น ผ่อนมือตามแรงกระตุก ไม่กดน้ำหนัก 10. เมื่อผู้ป่วยหยุดชัก จับผู้ป่วยตะแคงหน้า เอาหมอนหนุนใต้เอว ผู้ป่วยออก

การพยาบาลผู้ป่วยหลังทำ ECT จัดท่าให้ผู้ป่วยนอนหงายราบ พักประมาณ 30 – 60 นาที Record V/S สังเกตอาการอย่างใกล้ชิด ถ้ามี Confusion อาจต้องผูกมัด เช็ดหน้าผู้ป่วยด้วยผ้าขนหนูเปียก ทดสอบความรู้สึกตัว ก่อนส่งกลับไปพักผ่อนต่อที่หอผู้ป่วย ลงบันทึกในประวัติผู้ป่วย เกี่ยวกับอาการก่อน ขณะ และหลังทำ Reorientation แก่ผู้ป่วย

Drug interaction TCA (Tricyclic antidepressants) อาจเกิด Hypertensive crisis จึง ควรหยุดยาอย่างน้อย 2 สัปดาห์ ถ้าผู้ป่วยได้รับยานี้มานาน อาจเกิดปัญหานี้ลดน้อยลง แต่ใน กรณีที่ได้รับยามาไม่ถึง 1 เดือน ควรต้องหยุดยานี้ไปก่อน

Drug interaction MAOI (Monoamine oxidase inhibitors) อาจเกิดความดันผิดปกติ มี ไข้สูง, reflex ไว, ชัก และหัวใจอาจหยุดเต้นได้ จึงควรหยุดยาอย่าง น้อย 2 สัปดาห์ก่อนทำ ถ้าทำร่วมกับการให้ยาสลบ (Barbiturate) MAOI จะเสริม ฤทธิ์ทำให้หลับนานขึ้น จึงควรลด Barbiturate ลง

Drug interaction Lithium จะเสริมฤทธิ์ Barbiturate ให้หลับนานขึ้น และเสริมฤทธิ์ยา หย่อนกล้ามเนื้อต่างๆ แต่ไม่ค่อยมีผลกับการทำ ECT. โดยตรง

Drug interaction Clozapine หลังจากทำ ECT. แล้วพบว่าจะทำให้มีโอกาสชักมากขึ้น Benzodiazepine, Carbamazepine, Valproic acid จะเพิ่ม Seizure Threshold กับผู้ป่วย

ดร.ฐิตวันต์ หงษ์กิตติยานนท์ ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล ดร.ฐิตวันต์ หงษ์กิตติยานนท์

ดร.ฐิตวันต์ หงษ์กิตติยานนท์ บทที่ 3 แนวคิดในการบำบัดรักษาทางจิตเวช Quiz ECT. หมายถึงอะไร ECT. มีแนวคิดและความเชื่อทางการรักษาอย่างไร วิธีการทำ ECT. ที่นิยมในปัจจุบันคือวิธีการใด ผู้ป่วย Schizophrenia มี Suicidal idea ควรทำ ECT. หรือไม่ Contraindication ในการทำ ECT. มีอะไรบ้าง ดร.ฐิตวันต์ หงษ์กิตติยานนท์

ดร.ฐิตวันต์ หงษ์กิตติยานนท์ บทที่ 3 แนวคิดในการบำบัดรักษาทางจิตเวช Quiz 6. Reversible adverse effects ที่พบบ่อยจากการทำ ECT. คืออะไร 7. การเตรียมผู้ป่วยก่อนทำ ECT. มีอะไรบ้าง 8. เทคนิคการสนทนาที่ควรใช้ในผู้เริ่มทำ ECT. ครั้งแรก มีอะไรบ้าง 9. ระยะของการชักมีอะไรบ้าง 10. หลังจากผู้ป่วยเข้าสู่ระยะชัก ควรดูแลอย่างไรต่อไปบ้าง ดร.ฐิตวันต์ หงษ์กิตติยานนท์

ให้นักศึกษาออกข้อสอบมาคนละ1 ข้อ ดร.ฐิตวันต์ หงษ์กิตติยานนท์ บทที่ 3 แนวคิดในการบำบัดรักษาทางจิตเวช 11. พยาบาลควรจับประคองผู้ป่วยขณะชักในบริเวณใดบ้าง 12. ถ้าผู้ป่วยได้รับยา TCA, MAOI ควรหยุดยานานเท่าไรก่อน ECT 13. ผู้ป่วยได้รับ Lithium ควรระมัดระวังเรื่องใดถ้าต้องทำ ECT. 14. พยาบาลควรให้คำแนะนำผู้ป่วยเรื่อง ECT. อย่างไรบ้าง ก่อน ขณะ หลังทำ ECT 15. จิตบำบัด ครอบครัวบำบัด และพฤติกรรมบำบัด ต่างกันอย่างไร 16.การพยาบาลต้องทำอย่างไร ให้นักศึกษาออกข้อสอบมาคนละ1 ข้อ ดร.ฐิตวันต์ หงษ์กิตติยานนท์

ผู้ป่วย พูดหลังการรักษาด้วยไฟฟ้าถึง3ครั้ง “รู้สึกดีขึ้นแต่มีปัญหาเรื่องความจำ” พยาบาลควรตอบอย่างไรจึงจะเหมาะสม 1. “ไม่ต้องกังวลนะค่ะอีก 2-3วัน วันก็จะดีขึ้น” 2.“ดูคุณกังวล มีอะไรที่อยากพูดคุยกับดิฉัน ไหมค่ะ” 3. “ที่คุณจำไม่ได้เป็นผลจากการรักษาด้วยไฟฟ้า แต่เป็นไม่นานแล้วจะค่อยๆดีขึ้น”

ดร.ฐิตวันต์ หงษ์กิตติยานนท์ ดร.ฐิตวันต์ หงษ์กิตติยานนท์