ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วย การพัสดุ พ.ศ. 2535 ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วย การพัสดุ พ.ศ. 2535
หลักเกณฑ์และแนวทาง การปฏิบัติตามระเบียบพัสดุ
หลักการบริหารพัสดุ สำนักมาตรฐานการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ
กระบวนการบริหารงานพัสดุ กำหนดความต้องการ งบประมาณ จัดทำแผน จัดหาพัสดุ เบิกจ่ายเงิน การบริหารสัญญา การควบคุมและจำหน่ายพัสดุ
ประเภทของการจัดหา การจัดทำเอง การจ้างที่ปรึกษา การซื้อ การเช่า การจ้าง การแลกเปลี่ยน การจ้างออกแบบและควบคุมงาน 5
การซื้อโดยระบุยี่ห้อสินค้าได้หรือไม่? ความหมาย: การซื้อ การซื้อทุกชนิดที่มีการติดตั้ง ทดลอง และบริการอื่นที่เกี่ยวเนื่อง การซื้อโดยระบุยี่ห้อสินค้าได้หรือไม่? ตามมติ ครม. แจ้งตามหนังสือสำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี ที่ สร 0203/ว 52 ลงวันที่ 28 มีนาคม 2520 กำหนดห้ามมิให้ส่วนราชการระบุยี่ห้อสินค้าที่จะซื้อ หรือกำหนดคุณลักษณะเฉพาะให้ใกล้เคียงยี่ห้อใดยี่ห้อหนึ่ง ข้อยกเว้น เว้นแต่เป็นพัสดุที่โดยลักษณะของการใช้งานหรือมีข้อจำกัดทางเทคนิคที่จำเป็นต้องระบุยี่ห้อเป็นการเฉพาะตามระเบียบฯ ข้อ 23 (6) ดังนั้น ในกรณีจำเป็นต้องระบุยี่ห้อ ต้องใช้วิธีพิเศษจะใช้สอบราคาหรือประกวดราคามิได้
ความหมาย: การจ้าง การจ้างทำของ และการรับขนตาม ปพพ. การจ้างเหมาบริการ แต่ไม่รวมถึงการจ้างลูกจ้างของส่วนราชการ การรับขนในการเดินทางไป ราชการ การจ้างที่ปรึกษา การจ้างออกแบบ และควบคุมงาน และการจ้างแรงงาน
ความหมาย: งานก่อสร้าง หมายถึง - งานก่อสร้างตามหลักทั่วไปที่มีกฎหมาย ระเบียบ มติคณะรัฐมนตรีหรือหนังสือเวียนที่เกี่ยวข้องอ้างอิงได้ หมายความรวมถึง 1. งานเคลื่อนย้ายอาคาร 2. งานดัดแปลง งานต่อเติม งานรื้อถอนและงานซ่อมแซมซึ่งส่วนราชการเห็นว่ามีความจำเป็นจะต้องมีการควบคุม และดูแลการปฏิบัติงานของผู้รับจ้างตลอดเวลาดำเนินการตามความเหมาะสม (ที่ นร (กวพ)1204/ว 1939 ลว 24 ก.พ.2537)
หน้าที่และความรับผิดชอบ (จะมอบอำนาจให้แก่ผู้ดำรงอื่น การมอบอำนาจ ผู้รับมอบอำนาจ คำนึงถึง ระดับ ตำแหน่ง หน้าที่และความรับผิดชอบ (จะมอบอำนาจให้แก่ผู้ดำรงอื่น ต่อไปไม่ได้) ผู้มีอำนาจ ดำเนินการ ตามระเบียบฯ (ส่วนกลาง อธิบดี ส่วนภูมิภาค ผู้ว่าฯ) มอบอำนาจ
ข้อยกเว้นเรื่องการมอบอำนาจ (ต่อ) มอบอำนาจต่อตามระเบียบกลาโหม ผู้ มอบ อำนาจ มอบอำนาจให้แก่ผู้ว่าราชการจังหวัด ผู้ว่าฯ มอบอำนาจต่อ แจ้ง บุคคลอื่น รองผู้ว่าฯ , ผู้ช่วยผู้ว่าฯ , ปลัดจังหวัด , หัวหน้าส่วนราชการ ประจำจังหวัด ได้รับความเห็นชอบ
ผู้ที่เกี่ยวข้องในการจัดหาพัสดุ เจ้าหน้าที่พัสดุ - โดยตำแหน่ง - โดยแต่งตั้ง (ข้าราชการ,ลูกจ้างชั่วคราว, พนักงานราชการ, พนักงานของรัฐ) หัวหน้าเจ้าหน้าที่พัสดุ - โดยตำแหน่ง - โดยแต่งตั้ง (ข้าราชการ) หัวหน้าส่วนราชการ - อธิบดี (ส่วนกลาง) - ผู้ว่าราชการจังหวัด (ภูมิภาค) ผู้มีอำนาจอนุมัติสั่งซื้อ-จ้าง - หัวหน้าส่วนราชการ - ปลัดกระทรวง - รัฐมนตรีเจ้าสังกัด คณะกรรมการต่าง ๆ /ผู้ควบคุมงาน
คณะกรรมการในการซื้อ/จ้าง คณะกรรมการเปิดซองสอบราคา คณะกรรมการรับ และเปิดซองประกวดราคา คณะกรรมการพิจารณาผลการประกวดราคา คณะกรรมการจัดซื้อโดยวิธีพิเศษ คณะกรรมการจัดจ้างโดยวิธีพิเศษ คณะกรรมการตรวจรับพัสดุ คณะกรรมการตรวจการจ้าง/ผู้ควบคุมงาน คณะกรรมการกำหนดราคากลาง (มติคณะรัฐมนตรี)
องค์ประกอบของคณะกรรมการ ประธาน 1 คน กรรมการอื่นอย่างน้อย 2 คน แต่งตั้งจากข้าราชการ พนักงานราชการ พนักงานมหาวิทยาลัย หรือพนักงานของรัฐ ** ทั้งนี้ โดยคำนึงถึงลักษณะหน้าที่และความรับผิดชอบของ ผู้ที่ได้รับแต่งตั้งเป็นสำคัญ ** ในกรณีจำเป็นหรือเพื่อประโยชน์ของทางราชการ จะแต่งตั้งบุคคลอื่นอีกไม่เกิน 2 คน ร่วมเป็นกรรมการด้วยก็ได้ (ปรับปรุงตามระเบียบฯ ฉบับที่ 7 พ.ศ. (2552) )
ข้อห้าม !! แต่งตั้งกรรมการรับและเปิดซองประกวดราคา เป็น กรรมการพิจารณาผลการประกวดราคา แต่งตั้งกรรมการเปิดซองสอบราคาหรือพิจารณาผล การประกวดราคาเป็น กรรมการตรวจรับพัสดุ
การประชุมของคณะกรรมการ ประธาน + กรรมการไม่น้อยกว่า กึ่งหนึ่งและประธานจะต้องอยู่ด้วยทุกครั้ง องค์ประชุม ถือเสียงข้างมาก ถ้าเสียงเท่ากันให้ประธานออกเสียงเพิ่มอีก 1 เสียง มติกรรมการ คณะกรรมการตรวจรับพัสดุ คณะกรรมการตรวจการจ้าง *ต้องใช้มติเอกฉันท์* ยกเว้น
ผู้มีอำนาจอนุมัติสั่งซื้อ / สั่งจ้าง นอกจากวิธีพิเศษ / กรณีพิเศษ 1. หัวหน้าส่วนราชการ (ไม่เกิน 50 ล้านบาท) 22 2.ปลัดกระทรวง (เกิน 50 ล้านบาท ไม่เกิน 100 ล้านบาท) 3. รัฐมนตรีเจ้าสังกัด (เกิน 100 ล้านบาท) 4. ผู้ที่ได้รับมอบอำนาจ
ผู้มีอำนาจอนุมัติสั่งซื้อ / สั่งจ้าง โดยวิธีพิเศษ 1. หัวหน้าส่วนราชการ (ไม่เกิน 25 ล้านบาท) 2. ปลัดกระทรวง (เกิน 25 ล้านบาท ไม่เกิน 50 ล้านบาท) 3. รัฐมนตรีเจ้าสังกัด (เกิน 50 ล้านบาท) โดยวิธีกรณีพิเศษ หัวหน้าส่วนราชการไม่จำกัดวงเงิน
วิธีการจัดซื้อหรือจ้าง
วิธีการจัดซื้อหรือจ้าง วิธีตกลงราคา ไม่เกิน 100,000 บาท วิธีสอบราคา เกิน100,000 บาท ไม่เกิน 2,000,000 บาท วิธีประกวดราคา เกิน 2,000,000 บาท วิธีพิเศษ เกิน 100,000 บาท แต่มีเงื่อนไข วิธีกรณีพิเศษ ไม่มีกำหนดวงเงิน แต่มีเงื่อนไข วิธีประมูลด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ (e-Auction) ตามระเบียบฯ พัสดุ ปี 49
การกำหนดรายละเอียดคุณลักษณะเฉพาะ และการจัดทำรายงานขอซื้อขอจ้าง การกำหนดคุณลักษณะเฉพาะ (Spec) ของพัสดุ และคุณสมบัติของผู้เสนอราคาเป็นขั้นตอนหนึ่งที่สำคัญของการจัดซื้อจัดจ้างตามระเบียบพัสดุ เนื่องจากการจัดซื้อ จัดจ้างทุกครั้ง เจ้าหน้าที่พัสดุจะต้องจัดทำรายงานขอความเห็นชอบจากหัวหน้าส่วนราชการ ตามระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัสดุ พ.ศ.2535 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 27 กล่าวคือ ในข้อ 27 (2) ต้องรายงานถึงรายละเอียดพัสดุที่จะจัดซื้อจะจ้างและ โดยที่ระเบียบพัสดุฯ ข้อ 15 ทวิ กำหนดให้ผู้มีหน้าที่รับผิดชอบในแต่ละขั้นตอนของการจัดหา ต้องดำเนินการโดยเปิดเผย โปร่งใส และเปิดโอกาสให้มีการแข่งขันกันอย่างเป็นธรรม โดยผู้มีหน้าที่รับผิดชอบเกี่ยวกับการกำหนดคุณลักษณะเฉพาะของพัสดุที่จะซื้อจ้าง ต้องใช้ความละเอียดรอบคอบในการกำหนดคุณลักษณะเฉพาะของพัสดุ เพื่อเปิดโอกาส ให้ผู้เสนอราคาสามารถเข้าร่วมแข่งขันกันได้มากราย ไม่กำหนด SPEC ที่เป็นผลให้กีดกัน ผู้เสนอราคารายใดรายหนึ่ง หรือ เข้าข้างผู้เสนอราคารายใดรายหนึ่ง ผลของการดำเนินการที่ไม่ชอบดังกล่าว อาจทำให้มีผู้เข้าแข่งขันได้น้อยราย ซึ่งอาจไม่ก่อให้เกิดการแข่งขัน อย่างแท้จริง เป็นเหตุให้ราชการเสียประโยชน์ได้
ปัญหาในการกำหนด spec 1. ไม่มีที่มา 2. ไม่มีการสำรวจความต้องการ หรือสำรวจล่าช้า ไม่รู้ว่าต้องการอะไร 3. ไม่มีการจัดทำฐานข้อมูลเกี่ยวกับพัสดุที่จัดหา เพื่อใช้งานปกติ เช่น ปริมาณ และคุณลักษณะเฉพาะ 4. กำหนดไม่ชัดเจน 5. ไม่รู้กฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ มติคณะรัฐมนตรี หนังสือแจ้งเวียน ที่เกี่ยวข้อง ในการจัดหาพัสดุด่านแรกที่ทำให้การจัดซื้อจัดจ้างสำเร็จลุล่วงที่สำคัญที่สุดก็คือการกำหนด Spec ให้ถูกต้อง ชัดเจน มีที่มา ที่สำคัญคือต้องกำหนดไม่ให้ขัดกับกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ มติคณะรัฐมนตรี หนังสือแจ้งเวียนที่เกี่ยวข้อง หากกำหนดชัดเจนและถูกต้องแล้วจะทำให้การจัดซื้อจัดจ้างครั้งนั้นสำเร็จลุล่วง
ระเบียบฯ ข้อ 13 หลังจากทราบยอดเงินที่จะนำมาใช้ในการจัดหา การเตรียมการจัดหา ระเบียบฯ ข้อ 13 หลังจากทราบยอดเงินที่จะนำมาใช้ในการจัดหา ให้หน่วยงานผู้จัดหารีบดำเนินการให้เป็นไปตามแผน... แนวตอบข้อหารือ กวพ. โดยกำหนดเงื่อนไขบังคับก่อนไว้ในเอกสารประกวดราคาว่าจะลงนามในสัญญาได้เมื่อพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปีมีผลบังคับและได้รับการจัดสรรงบประมาณรายจ่าย จากสำนักงบประมาณแล้ว กรณีไม่ได้รับจัดสรรงบประมาณ สามารถยกเลิกดำเนินการได้ การทราบยอดเงิน คือ การผ่านการพิจารณาอนุมัติงบประมาณจากรัฐสภา ประกอบคำอธิบายเอกสาร ที่ 5-6 ในเรื่องของการเตรียมการจัดหาการเริ่มต้นจัดทำ spec สามารถจัดทำได้ก่อนที่หน่วยงานจะทราบยอดเงิน เนื่องจากระเบียบ 35 ข้อ 13 กำหนดว่าหลังจากทราบยอดเงินให้รีบดำเนินการจัดหาซึ่งคำว่า “ดำเนินการจัดหา” หมายถึงขั้นตอนการก่อให้เกิดนิติสัมพันธ์กับบุคคลภายนอก ส่วนการกำหนด spec เป็นเพียงขั้นตอนการดำเนินงานภายในของส่วนราชการยังมิได้ก่อนิติสัมพันธ์ กับบุคคลภายนอก จึงสามารถดำเนินการได้ก่อนทราบยอดเงิน โดยสามารถวางแผนการกำหนด spec ได้แต่เนิ่นๆ เพื่อมิให้เกิดปัญหาในการบริหารงบประมาณล่าช้า โดยการทราบยอดเงินตามระเบียบฯ ข้อ 13 หมายถึงงบประมาณผ่านสภาวาระ 3
การเตรียมการจัดหา START การเริ่มดำเนินการจัดหา คือ การดำเนินการในขั้นตอนที่ต้องผูกพันบุคคลภายนอก (การประกาศฯ) การกำหนด spec. เป็นขั้นตอนภายในหน่วยงาน ยังไม่ได้ก่อให้เกิดสิทธิแก่บุคคลภายนอก จึงสามารถดำเนินการไว้แต่เนิ่นได้ -
รายละเอียดหรือคุณลักษณะเฉพาะ ไม่ชัดเจน ข้อกำหนดตามระเบียบ ระเบียบฯ พ.ศ. 2535 และที่แก้ไขเพิ่มเติม เจ้าหน้าที่พัสดุ, คณะทำงาน , คณะกรรมการ , หรืออาจมี Spec. กลาง ระเบียบฯ พ.ศ. 2549 ข้อ 8 (1) คณะกรรมการกำหนดร่างขอบเขตของงาน (TOR) ดังที่กล่าวไว้แล้วว่าระเบียบฯ พ.ศ. 2535 และที่แก้ไขเพิ่มเติม อาจไม่ได้กำหนดตัวผู้ที่จะเป็นผู้กำหนด Spec ไว้ชัดเจน ซึ่งตัวเจ้าหน้าที่พัสดุ อาจเป็นผู้กำหนด Spec หากเป็นการจัดหาที่ไม่ยุ่งยากหรือมี Spec ของหน่วยงานกลาง เช่น สำนักงบประมาณ กระทรวง ICT
รายละเอียดหรือคุณลักษณะเฉพาะ งานซื้อ / จ้าง ทั่วไป Spec. ในชั้นของการ ขอตั้งงบประมาณ งานจ้างก่อสร้าง Conceptual design งานซื้อ / จ้าง ทั่วไป ในชั้นการจัดหา โดยในชั้นของการขอตั้งงบประมาณหากเป็นงานก่อสร้าง ในรายการก่อสร้างจะกำหนดไว้กว้างเป็นConceptual design ซึ่งเมื่อถึงชั้นของการจัดหาส่วนราชการผู้จัดหาต้องมากำหนด Spec โดยละเอียด คือ กำหนดลงขั้น Detail design หรือในงานซื้องานจ้างทั่วไปบางครั้งในชั้นของการจัดหา Spec อาจเปลี่ยนแปลงไปแล้ว เช่น สินค้าเกี่ยวกับ IC ซึ่งเปลี่ยนแปลงเร็วทั้ง Spec และราคา ดังนั้นในชั้นของการจัดหาส่วนราชการ ผู้จัดหาจึงต้องพิจารณาก่อนดำเนินการ งานจ้างก่อสร้าง Detail design
Spec. รายละเอียดหรือคุณลักษณะเฉพาะ หน่วยงานกลาง ตามความต้องการของหน่วยงานที่จะจัดหาพัสดุ สำนักงบประมาณ ใช้กับเอกสาร 10-11 การกำหนดรายละเอียดคุณลักษณะเฉพาะปกติ Spec มีที่มา 1. ใช้ spec มาตรฐานของหน่วยงานกลาง คือ กรณีครุภัณฑ์ทั่วๆไป ให้ใช้ราคาและรายละเอียดคุณลักษณะเฉพาะตามบัญชีรายการมาตรฐานครุภัณฑ์ของสำนักงบประมาณ กรณีเป็นครุภัณฑ์ IT ให้ใช้รายการตามที่กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารกำหนด 2. ส่วนราชการสามารถกำหนดได้เองตามความต้องการของแต่ละหน่วยงานแต่การกำหนดดังกล่าวต้องไม่ขัดหรือแย้งกับกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ คำสั่ง มติคณะรัฐมนตรี หรือหนังสือแจ้งเวียนที่เกี่ยวข้อง เมื่อกำหนดแล้วการวินิจฉัยตีความคุณสมบัติของผู้เสนอราคา หรือ ผู้เสนองาน แต่ละรายว่าเป็นไปตามเงื่อนไขที่กำหนดไว้หรือไม่ เป็นอำนาจของหน่วยงานที่จัดหาพัสดุ สามารถใช้ดุลยพินิจกำหนดและวินิจฉัยได้ตามความต้องการของหน่วยงาน กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร
หลักการในการกำหนด Spec. 1 2 3 การกำหนดรายละเอียดหรือคุณลักษณะเฉพาะของพัสดุ หรืองานจ้าง / คุณสมบัติของผู้เสนอราคา หรือ ผู้เสนองาน การวินิจฉัยตีความคุณสมบัติของผู้เสนอราคา หรือ ผู้เสนองาน แต่ละรายว่าเป็นไปตามเงื่อนไขที่กำหนดไว้หรือไม่ เป็นอำนาจของหน่วยงานที่จัดหาพัสดุ สามารถใช้ดุลยพินิจกำหนดและวินิจฉัยได้ตามความต้องการของหน่วยงาน - แต่ ต้องอยู่ภายใต้หลักเกณฑ์ตามที่กฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ คำสั่ง หรือมติคณะรัฐมนตรีที่เกี่ยวข้องกำหนดไว้
เงื่อนไขในการจัดหา ดุลยพินิจของหน่วยงาน ระเบียบฯ + หนังสือเวียน กฎหมาย ที่เกี่ยวข้อง การพิจารณาราคารวม หรือราคาแยก กำหนดยืนราคา การให้หรือขายเอกสาร / แบบรูป ระยะเวลาเข้าทำสัญญา การแบ่งงวดงาน/เงิน ฯลฯ การจ่ายเงินล่วงหน้า หลักประกัน การยึดหลักประกันซอง เงื่อนไขตามตัวอย่างเอกสารประกวดราคา ของ กวพ. / กวพ.อ. Minimum Bid ฯลฯ ประกาศ ปปช. คุณสมบัติ การกำหนดเงื่อนไขในการจัดหาจะมาจากสามส่วนที่เกี่ยวข้องคือกำหนดตามระเบียบฯ หนังสือแจ้งเวียนที่เกี่ยวข้อง ตามดุลยพินิจของหน่วยงานซึ่งจะต้องสอดคล้องกับความต้องการ ระยะเวลาใช้งาน ระยะเวลาใช้ของ และกฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้องเช่น ต้องประกาศตามกฎหมาย ปปช. ในเรื่องคุณสมบัติของผู้ประสงค์จะเสนอราคากับหน่วยงานภาครัฐตามประกาศคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามทุจริตแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีการจัดทำและแสดงบัญชีรายการรับจ่ายของโครงการที่บุคคลหรือนิติบุคคล เป็นคู่สัญญากับหน่วยงานของรัฐ พ.ศ. 2554 และที่แก้ไขเพิ่มเติม
หลักการในการกำหนด Spec. 1 3 2 ความเปิดเผย โปร่งใส และเปิดโอกาสให้มีการแข่งขันกันอย่างเป็นธรรม การใช้พัสดุที่ผลิตในประเทศและกิจการของคนไทย การระบุคุณลักษณะเฉพาะของสิ่งของหรือยี่ห้อสิ่งของ 4 5 การจัดซื้อจัดจ้างสินค้าและบริการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม คุณสมบัติของผู้เสนอราคาตามที่ กวพ. กำหนด และ การกำหนด Spec ที่ต้องอยู่ภายใต้หลักเกณฑ์ตามที่กฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ คำสั่ง หรือมติคณะรัฐมนตรีที่เกี่ยวข้องกำหนดไว้ นั้น กฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ ดังกล่าว เท่าที่รวบรวมได้ เป็น 5 เรื่อง นี้
การระบุคุณลักษณะเฉพาะของสิ่งของหรือยี่ห้อสิ่งของ 1 งานก่อสร้าง มติ ครม. 23 มี.ค. 20 (ที่ สร 0203/ว 52 ลว. 28 มี.ค. 20) กำหนดรายการในการก่อสร้าง 1. มี มอก. หรือ กระทรวง อุตสาหกรรมรับรองแล้ว หรือ มีมาตรฐานที่ส่วนราชการอื่น กำหนดไว้ ก็ให้ระบุตาม มาตรฐานนั้นได้ ตามความ จำเป็น 2. กรณียังไม่มีมาตรฐาน ถ้าส่วนราชการจำเป็นต้องใช้ สิ่งของที่เห็นว่ามีคุณภาพดีเป็นที่นิยมใช้ในขณะนั้น และจำเป็นต้องระบุชื่อยี่ห้อสิ่งของ ก็ให้ระบุได้ แต่ ต้องให้มากยี่ห้อที่สุดเท่าที่จะสามารถระบุได้ และสิ่งของที่มีคุณภาพเทียบเท่ากันก็ให้ใช้ได้ด้วย การกำหนดรายการในงานก่อสร้าง ให้กำหนดตามมาตรฐานกลาง เช่น มอก. หรือมาตรฐานที่ส่วนราชการอื่นกำหนดไว้ เช่น สำนักงบประมาณก็ให้ระบุ ตามมาตรฐานนั้น กรณีที่รายการในงานก่อสร้างใดยังไม่มีมาตรฐานกลางดังกล่าว หากมีความจำเป็นต้องใช้พัสดุประเภทดังกล่าว ส่วนราชการสามารถกำหนดยี่ห้อของพัสดุ ลงไปได้ แต่ต้องระบุให้มีจำนวนยี่ห้อมากที่สุดเท่าที่จะสามารถระบุได้ และจะต้องใส่เงื่อนไขยอมรับพัสดุทุกยี่ห้อที่มีมาตรฐานเทียบเท่ากับพัสดุที่ระบุยี่ห้อไว้ เช่น “....ให้ใช้ยี่ห้อ ก. ข. ค. ง จ. หรือพัสดุที่มีมาตรฐานเทียบเท่าพัสดุยี่ห้อ ก ข ค ง จ” เป็นต้น ในกรณีที่ผู้เสนอขอใช้สิ่งของที่มีคุณภาพดีกว่าหรือเทียบเทาสิ่งของตามที่ส่วนราชการระบุชื่อยี่ห้อไว้ ก็ให้ผู้เสนอพิสูจน์ให้เป็นที่เชื่อถือและยอมรับของกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิไมน้อยกว่า 3 คน ซึ่งสวนราชการแต่งตั้งขึ้นจากผู้ชำนาญการหรือผู้แทนของส่วนราชการที่เกี่ยวของ ถาคณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิยอมรับรองสิ่งของนั้นแลว ก็ให้ส่วนราชการยอมรับว่าเป็นสิ่งของเทียบเทาได้ความเห็นของคณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ ให้ถือเป็นที่สุดเฉพาะคราว นั้น
ห้าม การระบุคุณลักษณะเฉพาะของสิ่งของหรือยี่ห้อสิ่งของ งานซื้อ มติ ครม. ตามหนังสือ ที่ สร 0403/ว 93 ลว. 7 พ.ย. 12 และ ที่ สร 0203/ว 157 ลว. 27 ธ.ค. 19 2 คุณลักษณะเฉพาะของสิ่งของ 1. กำหนดให้ใกล้เคียงกับยี่ห้อใดยี่ห้อหนึ่ง 2. ระบุยี่ห้อสิ่งของที่จะซื้อ เว้นแต่ ที่มี ข้อยกเว้นไว้ เช่น ยารักษาโรค เครื่องอะไหล่ เป็นต้น ห้าม กรณีเป็นงานซื้อมติ ครม. ว 93,ว 157 แจ้งตามหนังสือสํานักเลขาธิการคณะรัฐมนตรีที่ สร ๐๒๐๓/ว๕๒ ลงวันที่ ๒๘ มีนาคม ๒๕๕๐ กําหนดห้ามมิให้ส่วนราชการระบุยี่ห้อสินค้าที่จะซื้อ หรือกําหนดคุณลักษณะเฉพาะให้ใกล้เคียงยี่ห้อใดยี่ห้อหนึ่ง โดยมีข้อยกเว้น คือหากเป็นพัสดุที่โดยลักษณะของการใช้งานหรือมีข้อจํากัดทางเทคนิค ที่จําเป็นต้องระบุยี่ห้อเป็นการเฉพาะ ตามระเบียบฯ ข้อ ๒๓(๖) สามารถระบุได้ แต่ต้องใช้วิธีพิเศษ จะใช้สอบราคาหรือประกวดราคาไม่ได้ เช่น ยารักษาโรค เครื่องอะไหล่
คุณสมบัติของผู้เสนอราคา งานซื้อ/จ้าง ทั่วไป พิจารณาตามตัวอย่างเอกสาร ประกวดราคาที่ กวพ. กำหนด งานจ้างก่อสร้าง ต้อง ทำตามตัวอย่างเอกสารประกวดราคาที่ กวพ.กำหนด ประการสุดท้ายที่จะต้องกำหนดที่จะไม่ให้ขัดคือ คุณสมบัติของผู้เสนอราคาคือต้องกำหนดตามตัวอย่างเอกสารประกวดราคาที่ กวพ. กำหนด ซึ่งมีหนังสือแจ้งเวียนที่เกี่ยวข้อง คือ ว 7914 การกำหนดคุณสมบัติของผู้เสนอราคาในงานจ้างก่อสร้าง, ว 7286 เป็นเรื่องการตรวจสอบผู้มีผลประโยชน์ร่วมกันของผู้เสนอราคาและเสนองาน 1 ที่ นร (กวพ) 1305/ว 7914 ลว. 22 ก.ย. 43 ประกอบ 2 ด่วนมาก ที่ นร (กวพ) 1305/ว 7286 ลว. 20 ส.ค. 42
คุณสมบัติของผู้เสนอราคา *** ตัวอย่างเอกสารประกวดราคา *** 6.1 กรณีความเป็นนิติบุคคล งานก่อสร้าง วงเงินตั้งแต่ 1 ล้านบาทขึ้นไป ผู้เสนอราคา ต้องเป็นนิติบุคคล ตามกฎหมาย มติ ครม. 6 มิ.ย. 21 – ด่วนมาก ที่ สร 0203/ว 80 ลว. 8 มิ.ย. 21 3 กรณีงานก่อสร้างที่มีวงเงินตั้งแต่หนึ่งล้านบาทขึ้นไป ให้ส่วนราชการกำหนดคุณสมบัติของผู้เสนอราคาต้องเป็นนิติบุคคล 3
คุณสมบัติของผู้เสนอราคา *** ตัวอย่างเอกสารประกวดราคา *** 6.2 กรณีผลงาน เพื่อให้ได้ทราบถึงศักยภาพของผู้ขายหรือผู้รับจ้าง ** งานก่อสร้าง ** กำหนดได้ไม่เกินร้อยละ 50 ของวงเงินงบประมาณ หรือวงเงินประมาณการ นร (กวพ) 1305/ว 7914 ลว. 22 ก.ย. 43 ประกอบ มติ ครม. 28 ธ.ค. 36 – ด่วนมาก นร 0202/ว 1 ลว. 3 ม.ค. 37 ต้องเป็นผลงานในสัญญาเดียวเท่านั้น นร (กวพ) 1204/ว 11441 ลว. 28 พ.ย. 39 1 กรณีการกำหนดผลงานก่อสร้างกำหนดได้ไม่เกินร้อยละ 50 ของวงเงินงบประมาณหรือวงเงินประมาณการ ตาม ว 7914 และ ว1 โดยต้องเป็นผลงานในสัญญาเดียวกันเท่านั้น ซึ่งวัตถุประสงค์ของหนังสือ ว 11441 ก็เพื่อต้องการศักยภาพของผู้รับจ้างภายใต้การจ้างครั้งเดียวเท่านั้น ไม่ใช่หลายๆ ครั้งมารวมกัน 4 1 5
คุณสมบัติของผู้เสนอราคา *** ตัวอย่างเอกสารประกวดราคา *** 6.2 กรณีผลงาน งานก่อสร้าง (ต่อ) ผลงานประเภทเดียวกันกับงานที่ประกวดราคาจ้าง คือ ผลงานที่ ใช้เทคนิค ในการ ดำเนินการเหมือนกัน เป็นผลงานที่ผู้รับจ้างได้ทำงานแล้วเสร็จตามสัญญาที่ได้มีการส่งมอบงานและ ตรวจรับเรียบร้อยแล้ว ต้องเป็นผลงานที่กระทำสัญญากับส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ หรือเอกชน ซึ่งเป็นผู้ว่าจ้างโดยตรง ไม่ใช่ผลงานอันเกิดจาก การรับจ้างช่วง (แนววินิจฉัยของ กวพ.) ผลงานที่นำมายื่นต้องใช้เทคนิคในการดำเนินการเหมือนกัน ต้องเป็น ผู้รับจ้างได้ทำงานแล้วเสร็จตามสัญญาที่ได้มีการส่งมอบงานและตรวจรับเรียบร้อยแล้วต้องเป็นผลงานที่กระทำสัญญากับส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ หรือเอกชน ซึ่งเป็นผู้ว่าจ้างโดยตรง ไม่ใช่ผลงานอันเกิดจาก การรับจ้างช่วง (ซึ่งเป็นไปตามแนววินิจฉัยของ กวพ.)
คุณสมบัติของผู้เสนอราคา 6 จดทะเบียน คุณสมบัติครบถ้วนตามเงื่อนไข คุณสมบัติด้านผลงานก่อสร้าง ..... ใช้ผลงานของผู้เข้าร่วมค้าได้ ไม่จดทะเบียน คุณสมบัติทุกรายต้องครบถ้วนตามเงื่อนไข ข้อยกเว้น ตกลงเป็นลายลักษณ์อักษร ให้ใครเป็นผู้รับชอบหลักในการเข้าเสนอราคาและแสดงหลักฐานพร้อมซองข้อเสนอราคา / ซองข้อเสนอทางเทคนิค ใช้ผลงานของผู้เข้าร่วมค้าหลักได้ ** ผลงาน กรณีกิจการร่วมค้า นร (กวพ) 1305/ว 2457 ลว. 16 มี.ค.43 คุณสมบัติของผู้เสนอราคากรณีเป็นกิจการร่วมค้า หากร่วมกันมา โดยไม่ จดทะเบียนคุณสมบัติทุกรายต้องครบถ้วน ต้องมีการตกลงกันเป็นลายลักษณ์อักษร โดยต้องกำหนดให้ใครเป็นผู้รับชอบหลักในการเข้าเสนอราคาและแสดงหลักฐานพร้อมซองข้อเสนอราคา / ซองข้อเสนอทางเทคนิค ซึ่งสามารถใช้ผลงานของผู้เข้าร่วมค้าหลักได้ กรณีจดทะเบียนใช้ผลงานของผู้ร่วมค้ารายใดก็ได้
คุณสมบัติของผู้เสนอราคา *** งานซื้อ / จ้าง ทั่วไป *** ไม่มีหลักเกณฑ์เรื่องการกำหนดผลงาน แต่หากจำเป็นต้องกำหนด ก็เป็นดุลยพินิจ ของส่วนราชการที่จะอนุโลมนำหลักเกณฑ์ ของงานก่อสร้างมาใช้ได้ (แนววินิจฉัยของ กวพ.) กรณีทุนจดทะเบียน กำหนดไม่ได้ (แนววินิจฉัยของ กวพ.)) ในงานซื้อจ้างหากจะกำหนดผลงานให้นำหลักเกณฑ์ในเรื่องงานก่อสร้าง มาใช้ได้ ซึ่งเป็นไปตามแนววินิจฉัยของ กวพ กรณีทุนจดทะเบียนไม่สามารถกำหนดได้
รายงานขอซื้อ – จ้าง (ข้อ 27) ข้อยกเว้น ข้อ 39 วรรคสอง ไม่ต้องมีรายงาน หลักการ ก่อนการซื้อ – จ้างทุกวิธีต้องทำรายงาน ข้อยกเว้น ข้อ 39 วรรคสอง ไม่ต้องมีรายงาน ตามระเบียบฯ ข้อ 27
รายละเอียดของรายงาน เหตุผลความจำเป็น รายละเอียดของพัสดุ ราคามาตรฐาน หรือราคากลาง หรือราคา ครั้งหลังสุดไม่เกิน 2 ปี วงเงินที่จะซื้อ / จ้าง กำหนดเวลาที่ต้องใช้ วิธีจะซื้อ / จ้าง ข้อเสนออื่น ๆ - การแต่งตั้งคณะกรรมการ - การออกประกาศสอบราคา หรือ ประกวดราคา
กรณี1: ใช้วงเงินเป็นตัวกำหนดวิธีการ วิธีการจัดซื้อหรือจ้าง (5 วิธี) กรณี1: ใช้วงเงินเป็นตัวกำหนดวิธีการ 1. วิธีตกลงราคา ครั้งหนึ่งไม่เกิน 100,000 บาท 2. วิธีสอบราคา ครั้งหนึ่งเกินกว่า 100,000 บาท แต่ไม่เกิน 2,000,000 บาท 3. วิธีประกวดราคา ครั้งหนึ่งเกินกว่า 2,000,000 บาทขึ้นไป
กรณี2: ใช้วงเงินและเงื่อนไขเป็นตัวกำหนดวิธีการ 4. ซื้อโดยวิธีพิเศษ วงเงินเกินกว่า 100,000 บาท เงื่อนไขอย่างใดอย่างหนึ่งตามข้อ 23 จ้างโดยวิธีพิเศษ วงเงินเกินกว่า 100,000 บาท เงื่อนไขอย่างใดอย่างหนึ่งตามข้อ 24
กรณี3: ใช้เงื่อนไขเป็นตัวกำหนด 5. วิธีกรณีพิเศษ ได้แก่ การซื้อ/จ้างจากส่วนราชการ, รัฐวิสาหกิจ, หน่วยงานตามกฎหมายท้องถิ่น เงื่อนไข: 5.1) เป็นผู้ทำ/ผลิตเองและนายกรัฐมนตรีอนุมัติหลักการแล้ว 5.2) มีกฎหมาย/มติคณะรัฐมนตรี ให้ผู้ซื้อ / จ้าง
การแบ่งซื้อแบ่งจ้าง การแบ่งซื้อ แบ่งจ้าง หมายถึง การลดวงเงินที่จะซื้อ การแบ่งซื้อ แบ่งจ้าง หมายถึง การลดวงเงินที่จะซื้อ หรือจ้างในครั้งเดียวกัน ออกเป็นหลายครั้ง โดยไม่มีเหตุผลความจำเป็น และมีเจตนาที่จะหลีกเลี่ยง 1) แบ่งวงเงิน ให้ลดลงเพื่อเปลี่ยนวิธีจัดหาพัสดุ 2) ให้ผู้มีอำนาจสั่งซื้อ สั่งจ้าง เปลี่ยนไป
การดำเนินการโดยวิธีตกลงราคา 3 เจ้าหน้าที่ พัสดุ 4 ติดต่อ 1 เสนอราคา รายงาน (27) 5 ใบสั่ง หัวหน้าเจ้าหน้าที่พัสดุ ผู้ขาย/ผู้รับจ้าง 6 ส่งของ/งาน เห็นชอบ (29) 2 คณะกรรมการตรวจรับพัสดุ/ ตรวจการจ้าง ผู้ตรวจรับพัสดุ/ผู้ตรวจรับการจ้าง หัวหน้าส่วนราชการ
การดำเนินการโดยวิธีสอบราคา ผู้มีหน้าที่จัดทำเอกสารสอบราคา เจ้าหน้าที่พัสดุ ผู้มีหน้าที่ลงนามในการทำเอกสารสอบราคา หัวหน้าเจ้าหน้าที่พัสดุ
การดำเนินการโดยวิธีสอบราคา ข้อ 27 เจ้าหน้าที่พัสดุ หัวหน้าส่วนราชการ ข้อ 29 - ก่อนวันเปิดซองสอบราคาไม่น้อยกว่า 10 วัน / นานาชาติไม่น้อยกว่า 45 วัน - ส่งประกาศให้ผู้มีอาชีพขายหรือรับจ้าง โดยตรง หรือทางไปรษณีย์ลงทะเบียน ให้มากที่สุด ปิดประกาศเผยแพร่ ณ ที่ทำการ โดยเปิดเผย - ประกาศเผยแพร่ในเว็บไซต์หน่วยงาน+ กรมบัญชีกลาง (ตามมติ ครม. ) จัดทำประกาศ (ข้อ 40) เผยแพร่เอกสาร
เอกสารสอบราคา ประกาศเผยแพร่ (ประกาศย่อ) เอกสารสอบราคา ใบเสนอราคา แบบหลักประกันสัญญา แบบรูปรายการต่างๆ ตัวอย่างสัญญา
วิธีการเผยแพร่เอกสาร ส่งประกาศให้ผู้มีอาชีพขายหรือรับจ้างโดยตรง หรือทางไปรษณีย์ลงทะเบียนให้มากที่สุด ปิดประกาศเผยแพร่ ณ ที่ทำการโดยเปิดเผย จัดทำบัญชีรายชื่อผู้ประกอบการที่ส่งเอกสารสอบราคา ไปให้โดยตรงและผู้มาขอรับเอกสารทั้งหมด
การดำเนินการโดยวิธีสอบราคา - ผู้เสนอราคาจะต้องผนึกซองจ่าหน้าถึง ประธานกรรมการ - ยื่นซองด้วยตนเอง / ทางไปรษณีย์ (กรณีที่กำหนดไว้) การยื่นซอง - เจ้าหน้าที่รับโดยไม่เปิดซอง - ระบุวันและเวลารับซอง - ส่งมอบซองให้แก่หัวหน้าเจ้าหน้าที่พัสดุทันที การรับซอง หัวหน้าเจ้าหน้าที่พัสดุส่งให้ คกก. เปิดซอง สอบราคาในวันเปิดซอง การเก็บรักษาซอง - หนังสือเวียน ด่วนมาก ที่ นร (กวพ)1305/ว 7286 ลว. 20 ส.ค. 42 ให้ส่งมอบโดยพลัน หลังครบ กำหนดรับซอง
ระยะเวลาสอบราคา ประกาศ - รับซอง พิจารณาผู้มีผลประโยชน์ ร่วมกัน ... ?... วัน คำนึงถึงตรวจฮั้ว วันรับซอง ปิดรับซอง ประกาศ - รับซอง พิจารณาผู้มีผลประโยชน์ ร่วมกัน อย่างน้อย 10 วัน เปิดซอง
การดำเนินการโดยวิธีสอบราคา หน้าที่คณะกรรมการเปิดซองสอบราคา (ข้อ 42) ตรวจสอบผู้เสนอราคาที่มีผลประโยชน์ร่วมกัน ประกาศชื่อผู้ผ่านการตรวจสอบ เปิดซองใบเสนอราคาเฉพาะผู้ไม่มีผลประโยชน์ ร่วมกัน
การดำเนินการโดยวิธีสอบราคา หน้าที่คณะกรรมการเปิดซองสอบราคา (ข้อ 42) ตรวจสอบคุณสมบัติของผู้เสนอราคา คัดเลือกผู้เสนอราคาที่ถูกต้องตามเงื่อนไขและ เสนอราคาต่ำสุด ราคาเท่ากันหลายรายยื่นซองใหม่ ถูกต้องรายเดียวดำเนินการต่อได้
การดำเนินการโดยวิธีสอบราคา คณะกรรมการเปิดซองสอบราคา (ข้อ 42) ขั้นที่ 1 ตรวจสอบผู้เสนอราคาที่มีผลประโยชน์ร่วมกัน + ประกาศชื่อผู้ผ่านการตรวจสอบ ขั้นที่ 2 เปิดซองใบเสนอราคาเฉพาะผู้ไม่มีผลประโยชน์ร่วมกัน + อ่านแจ้งราคา บัญชีรายการเอกสารหลักฐาน + ลงชื่อกำกับ ตรวจสอบคุณสมบัติของผู้เสนอราคา ใบเสนอราคา แคตตาล็อกหรือแบบรูปรายการละเอียด แล้วคัดเลือก ผู้เสนอราคาที่ถูกต้องตามเงื่อนไขในเอกสารสอบราคา
การดำเนินการโดยวิธีสอบราคา ขั้นที่ 3 คัดเลือกพัสดุหรืองานจ้างที่ผ่านขั้นตอนที่ 2 ที่มีคุณภาพและคุณสมบัติเป็นประโยชน์ต่อทางราชการ ** หนังสือ ที่ นร (กวพ) 0901/ว 48 ลว. 14 ก.ค. 29 การคัดเลือกคุณภาพและคุณสมบัติดังกล่าว มุ่งหมายถึง การพิจารณาจากเกณฑ์ในส่วนที่ ไม่สามารถกำหนดไว้เป็นเงื่อนไขในประกาศ ** ขั้นที่ 4 เสนอให้ซื้อหรือจ้างจากรายที่คัดเลือกไว้แล้วซึ่งเสนอราคาต่ำสุด รายที่เลือกไม่ยอมเข้าทำสัญญา ให้พิจารณารายต่ำถัดไป ราคาเท่ากันหลายราย ให้ผู้ที่เสนอราคาดังกล่าวยื่นซองใหม่ ข้อสังเกต ถูกต้องตามเอกสารสอบราคารายเดียว ให้ดำเนินการตามขั้นที่ 3 โดยอนุโลม ขั้นที่ 5 รายงานผลและความเห็น ต่อหัวหน้าส่วนราชการเพื่อสั่งการ
การดำเนินการโดยวิธีสอบราคา กรณีเกินวงเงิน (ข้อ 43) เรียกรายต่ำสุดมาต่อรองให้อยู่ในวงเงินหรือ สูงกว่าไม่เกิน 10 % ถ้าไม่ได้ผลให้เรียกทุกรายมายื่นซองใหม่ ถ้าไม่ได้ผลอีก ขอเพิ่มเงิน หรือยกเลิกการสอบราคา
ขั้นตอนและวิธีการต่อรองราคา เรียกรายต่ำสุดที่เห็นควรซื้อหรือจ้าง กรณียอมลดราคาอยู่ในวงเงินงบประมาณ ถ้าเหมาะสมให้เสนอซื้อหรือจ้างจากรายนั้น ยอมลดราคา แต่ยังเกินงบประมาณ ไม่เกินร้อยละ10 ถ้าเหมาะสมให้เสนอซื้อหรือจ้างจากรายนั้น ยอมลด เกินกว่าร้อยละ 10 เรียกทุกรายที่ถูกต้องมายื่นซองใหม่ ไม่ยอมลด ถ้าไม่เกินร้อยละ 10 ถ้าเหมาะสมให้ซื้อ/จ้าง ถ้าไม่เหมาะสมให้ยกเลิก หรือหากเกินกว่าร้อยละ 10 เรียกทุกรายที่ถูกต้องมายื่นซองใหม่
ขั้นตอนและวิธีการต่อรองราคา ดำเนินการต่อรองไม่ได้ผล เสนอหัวหน้า ส่วนราชการเพื่อใช้ดุลพินิจว่าสมควร ลดรายการ ลดจำนวน ลดเนื้องาน หรือขอเงินเพิ่ม หรือยกเลิก ถ้าพิจารณาปรับลดรายการ ลดจำนวน หรือ ลดเนื้องานจากผู้เสนอราคาทุกราย หากรายต่ำสุด ที่ได้ยังเป็นรายต่ำสุดอยู่ให้ซื้อหรือจากรายนั้น หากปรับลดแล้วลำดับเปลี่ยน ให้ยกเลิก
ขั้นตอนการประกวดราคา จัดทำเอกสาร ประกวดราคา (ข้อ 44) จัดทำรายงานขอซื้อ/จ้าง และแต่งตั้ง คณะกรรมการ (ข้อ 27) การประกาศเผยแพร่การประกวดราคา (ข้อ 44,46) การขออนุมัติสั่งซื้อ/จ้าง (ข้อ 65) การพิจารณาผล การประกวดราคา (ข้อ 50) การรับและเปิดซอง (ข้อ 49) การทำสัญญา (ข้อ 132-133) ตรวจรับ
แนวทางปฏิบัติในการจัดหาพัสดุ ด้วยวิธีตลาดอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Market : e-market) และด้วยวิธีประกวดราคาอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Bidding : e-bidding) สำนักมาตรฐานการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ กรมบัญชีกลาง
ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เมื่อวันที่ 4 กุมภาพันธ์ 2558 ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง แนวทางปฏิบัติในการจัดหาพัสดุการจัดหาพัสดุ ด้วยวิธีตลาดอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Market : e – market) และด้วยวิธีประกวดราคาอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Bidding : e – bidding) ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เมื่อวันที่ 4 กุมภาพันธ์ 2558 (คณะรัฐมนตรีได้มีมติเมื่อวันที่ 25 พฤศจิกายน 2557 และ วันที่ 27 มกราคม 2558)
ขั้นตอนปฏิบัติ วิธี e – market และ วิธี e - bidding ทราบยอดเงิน (ตามระเบียบฯ พ.ศ. 2535 ข้อ 13) จัดทำแผนการจัดซื้อจัดจ้าง รายงานขอซื้อหรือขอจ้าง (ตามระเบียบฯ พ.ศ. 2535 ข้อ 27) กำหนด ขึ้นใหม่ ขั้นตอนวิธี e - market ขั้นตอนวิธี e - bidding ทำสัญญา คงเดิมตามระเบียบฯ 35 ตรวจรับ เบิกจ่าย
วงเงินงบประมาณกำหนดวิธีการจัดซื้อจัดจ้าง หลักการจัดซื้อจัดจ้างเดิม วงเงินงบประมาณกำหนดวิธีการจัดซื้อจัดจ้าง ไม่เกิน 100,000 บาท ตกลงราคา เกิน 100,000 บาท – ไม่เกิน 2,000,000 บาท สอบราคา ตั้งแต่ 2,000,0000 บาท e-Auction
สินค้ากำหนดวิธีการจัดซื้อจัดจ้าง ทุกขั้นตอน เป็นอิเล็กทรอนิกส์ หลักการจัดซื้อจัดจ้างใหม่ สินค้ากำหนดวิธีการจัดซื้อจัดจ้าง สินค้าไม่ซับซ้อน สินค้าซับซ้อน e-Market e-Bidding ทุกขั้นตอน เป็นอิเล็กทรอนิกส์
การใช้บังคับ แนวทางปฏิบัตินี้ ใช้บังคับสำหรับการจัดหาพัสดุของส่วนราชการนำร่อง ตามที่ กวพ. กำหนด ไม่รวมถึง การจ้างที่ปรึกษา การจ้างออกแบบและควบคุมงาน การซื้อหรือการจ้างโดยวิธีพิเศษ และกรณีพิเศษ ที่สามารถ ดำเนินการได้ตามระเบียบฯ พัสดุ พ.ศ. 2535 และที่แก้ไข เพิ่มเติม *** สำหรับวิธีตกลงราคา ยังสามารถดำเนินการได้ตามระเบียบฯ พัสดุ พ.ศ. 2535 และที่แก้ไขเพิ่มเติม เช่นเดียวกัน ****
นอกจากที่กำหนดไว้แล้วตามแนวทางปฏิบัตินี้ ให้ปฏิบัติตามระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการพัสดุ พ.ศ. 2535 และที่แก้ไขเพิ่มเติม
คำจำกัดความ/นิยาม “ระบบตลาดอิเล็กทรอนิกส์” (Electronic Market : e – market) ได้แก่ การจัดหาพัสดุตามระเบียบฯ พัสดุ พ.ศ. ๒๕๓๕ ด้วยวิธีซื้อ หรือจ้าง ซึ่งที่มีรายละเอียดคุณลักษณะที่ ไม่ซับซ้อน เป็นสินค้าหรือบริการทั่วไป มีมาตรฐานซึ่งกำหนดให้ส่วนราชการจัดซื้อสินค้าหรือ งานจ้างที่กำหนดไว้ในระบบ e- catalog โดยให้ผู้ขาย ผู้ให้บริการ หรือผู้รับจ้าง เสนอราคาผ่านทางระบบจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐด้วยอิเล็กทรอนิกส์ Electronic Government Procurement : e - GP ของกรมบัญชีกลาง
คำจำกัดความ/นิยาม “ระบบประกวดราคาอิเล็กทรอนิกส์” (Electronic Bidding : e – bidding) ได้แก่ การจัดหาพัสดุตามระเบียบฯ พัสดุ พ.ศ. ๒๕๓๕ ด้วยวิธีการซื้อหรือการจ้างที่มีรายละเอียดคุณลักษณะที่มีความซับซ้อน มีเทคนิคเฉพาะ หรือ เป็นสินค้าหรือบริการที่ไม่ได้กำหนดไว้ในระบบ e – catalog โดยให้ผู้ขาย ผู้ให้บริการ หรือผู้รับจ้าง เข้ายื่นประกวดราคาอิเล็กทรอนิกส์ ผ่านทางระบบจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐด้วยอิเล็กทรอนิกส์ (e - GP) ของกรมบัญชีกลาง
คณะกรรมการว่าด้วยการพัสดุ (กวพ.) มีอำนาจหน้าที่ อำนาจและหน้าที่ คณะกรรมการว่าด้วยการพัสดุ (กวพ.) มีอำนาจหน้าที่ 1. ตีความและวินิจฉัยปัญหา รวมถึงพิจารณาการอนุมัติยกเว้น หรือผ่อนผันการไม่ปฏิบัติตามแนวทางปฏิบัตินี้ 2. คัดเลือกสินค้าหรือบริการสำหรับดำเนินการจัดซื้อจัดจ้าง ด้วยระบบตลาดอิเล็กทรอนิกส์ 3. พิจารณาคำร้องเรียนเกี่ยวกับการที่ส่วนราชการไม่ปฏิบัติตามแนวทางปฏิบัตินี้ 4. กำหนดรายละเอียดเพิ่มเติมในการปฏิบัติตามแนวทางปฏิบัตินี้ 5. แต่งตั้งคณะอนุกรรมการเพื่อทำหน้าที่ตามที่คณะกรรมการมอบหมาย 6. กำหนดส่วนราชการนำร่องให้ดำเนินการจัดหาพัสดุตามแนวทาง ปฏิบัตินี้
อำนาจและหน้าที่ (ต่อ) กรมบัญชีกลาง มีอำนาจหน้าที่ 1. จัดทำและพัฒนาระบบ e-catalog 2. คัดเลือกส่วนราชการนำร่องสำหรับดำเนินการตามแนวทาง ปฏิบัตินี้ 3. ส่งข้อมูลการจัดซื้อจัดจ้างของส่วนราชการที่ดำเนินการผ่านระบบ จัดซื้อจัดจ้างภาครัฐด้วยอิเล็กทรอนิกส์ ให้ สตง. 4. ในกรณีการจัดหาพัสดุด้วยวิธี e – market หรือ วิธี e – bidding มีปัญหาข้อขัดข้องทำให้ไม่อาจดำเนินการต่อไปได้ ให้กรมบัญชีกลางแจ้งผู้ขาย ผู้ให้บริการ หรือผู้รับจ้าง ที่เข้าร่วมในการเสนอราคาทราบถึงข้อขัดข้องดังกล่าว ทาง e – mail หากกรณีมีปัญหาข้อขัดข้องทั้งระบบให้กรมบัญชีกลางแจ้งให้ส่วนราชการทราบ
อำนาจและหน้าที่ (ต่อ) ผู้เสนอราคามีหน้าที่ 1. ลงทะเบียนในระบบ e - GP - เพิ่มข้อมูลคุณสมบัติและแคตตาล๊อกสินค้า - แสดงเอกสารหลักฐานการเป็นผู้มีอาชีพขายหรือรับจ้างงานนั้นในระบบ ตลอดจนปรับปรุงสินค้า หรืองานจ้างให้เป็นปัจจุบันเสมอ 2. ศึกษาการใช้โปรแกรมและทดลองใช้โปรแกรมของกรมบัญชีกลาง โดย Download ได้ทางเว็บไซต์ www.gprocurement.go.th
e-Market ข้อมูลสินค้า - รหัสสินค้า (UNSPSC) - คุณสมบัติ ผู้ค้า ประกาศ e-Catalog Market ผู้ค้า ประกาศ ผู้ค้า ตอบกลับ ประกาศ สินค้า - คุณสมบัติสินค้า - จำนวน ผู้ค้า - คุณสมบัติ ฯลฯ ใบเสนอราคา - สินค้า - ราคา ฯลฯ ส่วนราชการ RFQ,RFA ผู้ชนะ การเสนอราคา
วิธีตลาดอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Market : e – market) วิธีตลาดอิเล็กทรอนิกส์ ได้แก่ การจัดหาพัสดุที่มี รายละเอียดคุณลักษณะ ที่ไม่ซับซ้อน เป็นสินค้าหรือบริการทั่วไป มี มาตรฐาน ซึ่งกำหนดให้ส่วนราชการ จัดซื้อสินค้าหรืองานจ้างที่กำหนดไว้ในระบบ e - catalog กระทำได้ 2 ลักษณะ ดังนี้ (1) การเสนอราคา โดยใบเสนอราคา (Request for Quotation : RFQ) ได้แก่ การจัดหา พัสดุครั้งหนึ่ง ซึ่งมีราคาเกิน 100,000 บาท แต่ไม่ เกิน 5,000,000 บาท (2) การเสนอราคา โดยการประมูลอิเล็กทรอนิกส์ (Thai Auction) ได้แก่ การจัดหาพัสดุครั้งหนึ่ง ซึ่งมีราคาเกิน 5,000,000 บาท
การจัดทำเอกสารการซื้อหรือจ้างด้วยวิธี e - market - ให้เจ้าหน้าที่พัสดุจัดทำเอกสารการซื้อหรือจ้างด้วยวิธีตลาดอิเล็กทรอนิกส์ ตามตัวอย่างที่ กวพ. กำหนด การเผยแพร่เอกสารการซื้อหรือจ้างด้วยวิธีตลาดอิเล็กทรอนิกส์ ให้จัดทำเป็นประกาศ และมีสาระสำคัญ ดังนี้ (1) รายการพัสดุที่ต้องการซื้อ (2) คุณสมบัติของผู้มีสิทธิเสนอราคา (3) กำหนดวัน เวลา เสนอราคา
ขั้นตอนวิธี e - market เจ้าหน้าที่พัสดุจัดทำรายงานขอซื้อขอจ้าง ใบคำขอเสนอราคา (RFQ) ร่างประกาศ และเอกสารการซื้อหรือการจ้างด้วยวิธี e – market จัดพิมพ์รายงานขอซื้อขอจ้าง ร่างประกาศและร่างเอกสารฯ เสนอ หัวหน้าส่วนราชการ ผ่านหัวหน้าเจ้าหน้าที่พัสดุ
ส่งกลับเจ้าหน้าที่พัสดุเพื่อแก้ไข หัวหน้าส่วนราชการ เห็นชอบ ไม่เห็นชอบ ให้หัวหน้าเจ้าหน้าที่พัสดุดำเนินการ เผยแพร่ประกาศและเอกสารซื้อหรือจ้าง ด้วยวิธี e – market ทางเว็บไซต์หน่วยงาน/กรมบัญชีกลาง และปิดประกาศที่หน่วยงาน ไม่น้อยกว่า 3 วันทำการ ส่งกลับเจ้าหน้าที่พัสดุเพื่อแก้ไข
ผู้ขาย/ผู้ให้บริการ/ผู้รับจ้าง ที่ลงทะเบียนในระบบ e – GP และ มีสินค้าหรือบริการในระบบ e – catalog ที่มีความสอดคล้องกับ ที่ส่วนราชการกำหนด จะได้รับ mail จากระบบ e - GP สามารถดูรายละเอียดของประกาศ และเอกสารฯ ได้จากเว็บไซต์ของหน่วยงาน/กรมบัญชีกลาง
กรณียังไม่ได้ลงทะเบียน ผู้ขาย/ผู้ให้บริการ/ผู้รับจ้าง ที่ไม่ได้ลงทะเบียน และยังไม่ได้บันทึกสินค้า/บริการ หรือลงทะเบียนแล้วแต่ยังไม่ได้บันทึกสินค้า/บริการ ในระบบ e – catalog ที่ได้รับทราบข้อมูลประกาศจากเว็บไซต์ฯ หากประสงค์จะเสนอราคา สามารถดำเนินการดังนี้ กรณียังไม่ได้ลงทะเบียน กรณีลงทะเบียนแล้ว แต่ยังไม่ได้ ลงสินค้าและบริการใน e - catalog ลงทะเบียนในระบบ e – GP และลงสินค้า/บริการ ในระบบ e - catalog ลงสินค้า/บริการ ในระบบ e - catalog **ทั้งนี้ ต้องดำเนินการก่อนวันเสนอราคา**
การเสนอราคา (ไม่เกิน 1 วันทำการ นับถัดจากวันครบกำหนด ที่นำประกาศและเอกสารเผยแพร่ทางเว็บไซต์) (1) การเสนอราคา โดยใบเสนอราคา (RFQ) วงเงินเกิน 100,000 บาท แต่ไม่เกิน5,000,000 บาท ผู้เสนอราคาดำเนินการดังนี้ 1. เมื่อได้รับใบคำขอเสนอราคา (RFQ) และประสงค์จะเสนอราคา เมื่อถึงกำหนดเวลาเสนอราคา ให้ Log in เข้าสู่ระบบการเสนอราคา เพื่อเสนอราคาผ่านระบบ e - GP 2. เมื่อเสนอราคาแล้วต้องยืนยันการเสนอราคา โดยเสนอราคาได้เพียงครั้งเดียวเท่านั้น
(2) การเสนอราคา โดยการประมูลอิเล็กทรอนิกส์ (Thai Auction) วงเงินเกิน 5,000,000 บาท ผู้เสนอราคาดำเนินการดังนี้ 1. เมื่อได้รับใบคำขอเสนอราคา (RFQ) และประสงค์จะเสนอราคา ให้ส่งใบเสนอราคา มายังส่วนราชการผ่านทางระบบ e – GP ในวัน เวลา ที่ส่วนราชการกำหนด 2. เมื่อถึงกำหนดวันเสนอราคา ให้ผู้เสนอราคา Log in เพื่อลงทะเบียนและทดสอบระบบ ภายในเวลาที่ส่วนราชการกำหนด (ลงทะเบียน 15 นาที และทดสอบ 15 นาที) 3. เริ่มกระบวนการเสนอราคา โดยการประมูลอิเล็กทรอนิกส์ในเวลาราชการ ผ่านทางระบบ e – GP ทั้งนี้ กระบวนการเสนอราคาให้กระทำภายในเวลา 30 นาที ในระหว่างการเสนอราคา ผู้เสนอราคาจะไม่เห็นราคาของผู้เสนอราคารายอื่น โดยจะมีเพียงสัญลักษณ์ปรากฏบนหน้าจอของผู้เสนอราคารายต่ำสุด
การพิจารณา เกณฑ์ราคา เมื่อสิ้นสุดการเสนอราคา ให้เจ้าหน้าที่พัสดุมีหน้าที่ดังนี้ - ตรวจสอบคุณสมบัติของผู้เสนอราคารายต่ำสุด ใบเสนอราคา เอกสาร หลักฐานที่แสดงว่าเป็นผู้เสนอราคาที่มีอาชีพขายหรือรับจ้างงานนั้น แคตตาล็อก หรือเอกสารอื่น (ถ้ามี) จากระบบ e – GP โดยจัดทำ ในรูปแบบเอกสาร - พิจารณาคัดเลือกพัสดุหรืองานจ้างของผู้เสนอราคาที่ถูกต้อง ตามที่กำหนดไว้
หนังสือคณะกรรมการว่าด้วยการพัสดุ ด่วนที่สุด ที่ กค (กวพ) 0421.3/ว 258 ลว. 24 ก.ค. 2558 ยกเว้นและกำหนดรายละเอียดเพิ่มเติมในการปฏิบัติตามแนวทางปฏิบัติฯ สำหรับการจัดหาพัสดุด้วยวิธีตลาดอิเล็กทรอนิกส์ (e - market) - ตามแนวทางปฏิบัติฯ ข้อ 22 ให้เจ้าหน้าที่พัสดุมีหน้าที่ตรวจสอบเพียง ใบเสนอราคาของผู้เสนอราคารายต่ำสุดจากระบบ e - GP ตามที่ผู้เสนอราคา เสนอราคาผ่านระบบ e – GP โดยผู้เสนอราคาไม่จำต้องแนบแบบใบเสนอราคา ในรูปแบบ PDF File แต่อย่างใด และให้เจ้าหน้าที่พัสดุพิจารณาพัสดุหรืองานจ้าง ของผู้เสนอราคารายต่ำสุดที่มีคุณสมบัติเป็นประโยชน์ต่อทางราชการ แล้วจึงเสนอ ให้ซื้อหรือจ้างจากรายนั้น เนื่องจากเมื่อผู้เสนอราคาเข้ามาลงทะเบียนในระบบ e - GP กรมบัญชีกลางจะทำการตรวจสอบคุณสมบัติของผู้เสนอราคาก่อนอนุมัติการลงทะเบียนให้กับผู้เสนอราคาแล้ว
หนังสือคณะกรรมการว่าด้วยการพัสดุ ด่วนที่สุด ที่ กค (กวพ) 0421.3/ว 258 ลว. 24 ก.ค. 2558 - ในกรณีที่ผู้เสนอราคาต่ำสุด เสนอราคาผิดเงื่อนไข เช่น เสนอราคารวมทั้งสิ้นเป็นราคาต่อหน่วย โดยที่มิได้เสนอราคารวมทั้งสิ้นเป็นจำนวนเงินเท่าใดเข้าไปในระบบด้วย ให้ถือว่าผู้เสนอราคารายดังกล่าวเสนอราคาผิดเงื่อนไข กรณีนี้ส่วนราชการจะยกเลิก การเสนอราคาในครั้งนั้น หรือจะพิจารณาผู้เสนอราคาที่เสนอ ราคาต่ำในลำดับถัดไปก็ได้ และหากส่วนราชการเห็นสมควรพิจารณาผู้เสนอราคารายต่ำในลำดับถัดไป ให้ส่วนราชการส่งแบบแจ้งปัญหาการใช้งานในระบบ e-GP มายังกรมบัญชีกลางด้วย เพื่อดำเนินการในระบบ e – GP ให้ถูกต้องตามข้อเท็จจริงต่อไป
การพิจารณาผลการเสนอราคา กรณีมีผู้เสนอราคาหลายราย กรณีมีผู้เสนอราคารายเดียว กรณีไม่มีผู้เสนอราคา ให้เสนอความเห็นให้ ซื้อ/จ้าง จากรายที่เสนอราคาต่ำสุด กรณีมีผู้เสนอราคาต่ำสุดเท่ากัน หลายราย ให้พิจารณา ผู้ที่เสนอราคา ในลำดับแรก ให้เสนอความเห็น ให้ยกเลิกแล้วดำเนินการใหม่ หรือใช้วิธีพิเศษ ตามระเบียบฯ พัสดุ พ.ศ. 2535 ข้อ 23 (8) หรือ 24 (6) แล้วแต่กรณี พิจารณาแล้ว เห็นว่า มีความเหมาะสมและ เป็นประโยชน์ต่อราชการ ให้เสนอความเห็นให้ รับราคา พิจารณาแล้ว เห็นว่า ไม่มี ความเหมาะสมและไม่เป็นประโยชน์ต่อราชการ
กรณีราคาของผู้ชนะการเสนอราคาที่เห็นควรซื้อ/จ้างสูงกว่าวงเงินที่จะซื้อหรือจ้าง (1) ให้เรียกผู้ชนะการเสนอราคารายนั้นมาต่อรองราคา หากต่อรองราคาแล้ว ราคาที่เสนอใหม่ ไม่สูงกว่าวงเงินที่จะซื้อหรือจ้าง หรือสูงกว่าแต่ไม่เกินร้อยละ 10 ของวงเงินที่จะซื้อหรือจ้างหรือต่อรองราคาแล้วไม่ยอมลดราคา แต่ส่วนที่สูงกว่าวงเงินที่จะซื้อหรือจ้างไม่เกินร้อยละ 10 ของวงเงินที่จะซื้อ หรือจ้าง ถ้าเห็นว่าเป็นราคาที่เหมาะสม ให้เสนอซื้อหรือจ้างจากผู้เสนอราคารายนั้น (2) ถ้าทำตาม (1) แล้วไม่ได้ผล ให้เรียกรายที่เห็นสมควรซื้อหรือจ้างทุกรายมาเสนอราคาใหม่ พร้อมกัน โดยผ่านใบเสนอราคา หากรายต่ำสุดในครั้งนั้นเสนอราคาไม่สูงกว่าวงเงินที่จะซื้อหรือจ้าง หรือสูงกว่าไม่เกินร้อยละ 10 ของวงเงินที่จะซื้อหรือจ้าง ถ้าเห็นว่าเป็นราคาที่เหมาะสม ให้เสนอซื้อหรือจ้างจากผู้เสนอราคารายนั้น (3) ถ้าดำเนินการตาม (2) แล้วไม่ได้ผล ให้เสนอความเห็นต่อหัวหน้าส่วนราชการว่า จะปรับลดรายการ/จำนวน/เนื้องาน หรือของบประมาณเพิ่ม หรือยกเลิกการจัดหาเพื่อดำเนินการใหม่ แล้วแต่กรณี
หัวหน้าเจ้าหน้าที่พัสดุรายงาน ผลการพิจารณาและความเห็น พร้อมด้วยเอกสารต่อหัวหน้าส่วนราชการ เพื่อพิจารณาเห็นชอบ หัวหน้าส่วนราชการเห็นชอบ หัวหน้าส่วนราชการไม่เห็นชอบ ให้หัวหน้าเจ้าหน้าที่พัสดุชี้แจง ให้หัวหน้าเจ้าหน้าที่พัสดุ ส่งผลการพิจารณาให้ ผู้เสนอราคาทุกรายทราบ และประกาศผลการพิจารณาในเว็บไซต์กรมบัญชีกลาง และเว็บไซต์หน่วยงาน เห็นชอบ ไม่เห็นชอบ ยกเลิก
e-Bidding จัดทำ พิจารณาผล ประกาศผู้ชนะ ประชาชนทั่วไป ผู้ค้า เสนอราคา ส่วนราชการ ประกาศ เผยแพร่/วิจารณ์ จัดทำ ประกาศ ประกวดราคาฯ พิจารณาผล ร่างประกาศ ประกวดราคาฯ ประกาศผู้ชนะ
การจัดทำเอกสารการซื้อหรือจ้างด้วยวิธี e - Bidding ให้เจ้าหน้าที่พัสดุจัดทำร่างเอกสารประกวดราคาอิเล็กทรอนิกส์ ตามตัวอย่างเอกสารประกวดราคาซื้อหรือจ้างอิเล็กทรอนิกส์ ที่ กวพ. กำหนด การจัดทำรายละเอียดคุณลักษณะเฉพาะของพัสดุที่จะจัดหา หัวหน้าส่วนราชการอาจจะแต่งตั้งบุคคลใดบุคคลหนึ่งหรือแต่งตั้งคณะกรรมการขึ้นมาคณะหนึ่ง รับผิดชอบจัดทำรายละเอียด คุณลักษณะเฉพาะของพัสดุ เพื่อให้ตรงกับความต้องการของส่วนราชการได้)
การจัดทำเอกสารการซื้อหรือจ้างด้วยวิธี e - Bidding การเผยแพร่เอกสารประกวดราคาอิเล็กทรอนิกส์ ให้จัดทำเป็นประกาศ และมีสาระสำคัญ ดังนี้ (1) รายการพัสดุที่ต้องการซื้อ หรืองานจ้างที่ต้องการจ้าง (2) คุณสมบัติของผู้มีสิทธิเข้าเสนอราคา (3) หลักเกณฑ์การพิจารณาผู้ชนะการเสนอราคา (4) กำหนดวัน เวลา เสนอราคา (5) กำหนดให้นำตัวอย่างพัสดุมาแสดงในวัน เวลา สถานที่ ที่กำหนด (ถ้ามี)
ขั้นตอนวิธี e - bidding ให้เจ้าหน้าที่พัสดุเสนอรายงานขอซื้อขอจ้าง ไปพร้อมกับ ร่างประกาศและร่างเอกสารประกวดราคาอิเล็กทรอนิกส์ ผ่านหัวหน้าเจ้าหน้าที่พัสดุ เพื่อขอความเห็นชอบจากหัวหน้าส่วนราชการ
หัวหน้าส่วนราชการ เห็นชอบร่าง ไม่เห็นชอบร่าง ไม่นำร่างประกาศและร่างเอกสารประกวด ราคาฯ เผยแพร่ให้สาธารณชน เสนอแนะ วิจารณ์ นำร่างประกาศและ ร่างเอกสารประกวด ราคาฯ เผยแพร่ทางเว็บไซต์หน่วยงานและเว็บไซต์กรมบัญชีกลาง ไม่น้อยกว่า 3 วันทำการ เพื่อให้สาธารณชน เสนอแนะ วิจารณ์ แจ้งความเห็นให้หัวหน้าเจ้าหน้าที่พัสดุและผู้รับผิดชอบจัดทำรายละเอียดคุณลักษณะเฉพาะเพื่อดำเนินการปรับปรุงแก้ไข
หนังสือคณะกรรมการว่าด้วยการพัสดุ ด่วนที่สุด ที่ กค (กวพ) 0421.3/ว 258 ลว. 24 ก.ค. 2558 ยกเว้นและกำหนดรายละเอียดเพิ่มเติมในการปฏิบัติ ตามแนวทางปฏิบัติฯ สำหรับ การจัดหาพัสดุด้วยวิธีประกวดราคาอิเล็กทรอนิกส์ (e - bidding) - การนำร่างประกาศและร่างเอกสารประกวดราคา ฯ เผยแพร่ให้สาธารณชนเสนอแนะ วิจารณ์ หรือมี ความเห็นเป็นลายลักษณ์อักษร ให้ส่วนราชการ ดำเนินการดังนี้ (1) การจัดหาพัสดุ มีราคาเกิน 100,000 บาท แต่ไม่เกิน 5,000,000 บาท ให้อยู่ในดุลพินิจของส่วนราชการ ที่จะให้มีการเผยแพร่ให้สาธารณชนเสนอแนะ วิจารณ์ หรือมีความเห็นเป็นลายลักษณ์อักษรหรือไม่ก็ได้ (2) การจัดหาพัสดุ มีราคาเกิน 5,000,000 บาท ให้ส่วนราชการนำร่างประกาศและร่างเอกสารประกวดราคาอิเล็กทรอนิกส์เผยแพร่ให้สาธารณชนเสนอแนะ วิจารณ์ หรือมีความเห็นเป็นลายลักษณ์อักษร
หัวหน้าส่วนราชการเห็นชอบร่าง ไม่นำร่างประกาศและร่างเอกสารประกวดราคาฯ เผยแพร่ให้สาธารณชน เสนอแนะ วิจารณ์ นำร่างประกาศและร่างเอกสารประกวดราคาฯ เผยแพร่ทางเว็บไซต์หน่วยงานและเว็บไซต์กรมบัญชีกลาง ไม่น้อยกว่า 3 วันทำการ เพื่อให้สาธารณชน เสนอแนะ วิจารณ์ วิจารณ์ร่าง หัวหน้าเจ้าหน้าที่พัสดุจัดทำและเผยแพร่เอกสารประกวดราคาฯ ในรูปแบบประกาศผ่านทางเว็บไซต์ของ ส่วนราชการและเว็บไซต์ของกรมบัญชีกลาง ไม่น้อยกว่า 3 วันทำการ ไปพร้อมกับให้/จำหน่ายเอกสารประกวดราคา ผ่านทางระบบ e - GP ไม่มีผู้วิจารณ์ มีผู้วิจารณ์
หัวหน้าส่วนราชการ ไม่เห็นชอบร่างฯ หัวหน้าเจ้าหน้าที่พัสดุจัดทำ และเผยแพร่เอกสารประกวดราคาฯ ในรูปแบบประกาศผ่านทางเว็บไซต์ ของส่วนราชการ และเว็บไซต์ของกรมบัญชีกลาง ไม่น้อยกว่า 3 วันทำการ ไปพร้อมกับให้/จำหน่ายเอกสารประกวดราคา ผ่านทาง ระบบ e - GP แจ้งความเห็นให้หัวหน้าเจ้าหน้าที่พัสดุและ ผู้ที่รับผิดชอบจัดทำรายละเอียดคุณลักษณะเฉพาะเพื่อดำเนินการปรับปรุงแก้ไข ไม่เห็นชอบ หัวหน้าเจ้าหน้าที่พัสดุจัดทำรายงาน ขอปรับปรุงแก้ไขร่างเอกสารประกวดราคาอิเล็กทรอนิกส์พร้อมความเห็นเสนอ หัวหน้าส่วนราชการเพื่อขอความเห็นชอบ ไม่นำร่างฯ เผยแพร่ เพื่อให้วิจารณ์ ไม่มีผู้วิจารณ์ เห็นชอบ นำร่างฯ เผยแพร่ เพื่อให้วิจารณ์ มีผู้วิจารณ์
มีผู้วิจารณ์ ไม่ปรับปรุง ปรับปรุง ไม่เห็นชอบ ไม่เห็นชอบ เห็นชอบ หัวหน้าเจ้าหน้าที่พัสดุจัดทำรายงานขอปรับปรุงแก้ไขร่างเอกสารประกวดราคาฯ พร้อมความเห็น เสนอหัวหน้าส่วนราชการเพื่อขอความเห็นชอบ หัวหน้าเจ้าหน้าที่พัสดุจัดทำรายงาน พร้อมความเห็นเสนอหัวหน้าส่วนราชการเพื่อขอความเห็นชอบ เห็นชอบ ไม่เห็นชอบ ไม่เห็นชอบ เห็นชอบ หัวหน้าเจ้าหน้าที่พัสดุนำร่างเอกสารประกวดราคาฯ ไปเผยแพร่เพื่อรับฟังความคิดเห็นผ่านทางเว็บไซต์ ส่วนราชการและกรมบัญชีกลาง ไม่น้อยกว่า 3 วันทำการ หัวหน้าเจ้าหน้าที่พัสดุจัดทำและเผยแพร่เอกสารประกวดราคาฯ ในรูปแบบประกาศ ผ่านทางเว็บไซต์ส่วนราชการและกรมบัญชีกลางไม่น้อยกว่า 3 วันทำการ ไปพร้อมกับให้/จำหน่ายเอกสารประกวดราคาฯ ผ่านทางระบบ e - GP มีผู้วิจารณ์ ไม่มีผู้วิจารณ์
หนังสือคณะกรรมการว่าด้วยการพัสดุ ด่วนที่สุด ที่ กค (กวพ) 0421.3/ว 258 ลว. 24 ก.ค. 2558 ระยะเวลาการเผยแพร่ประกาศและเอกสารประกวดราคาอิเล็กทรอนิกส์ (e – bidding) ให้ส่วนราชการถือปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ดังต่อไปนี้ วงเงินที่จัดหา ระยะเวลา การเผยแพร่ ไม่น้อยกว่า (วันทำการ) ระยะเวลา ให้ในการคำนวณราคา เกิน 1,000,000 บาท แต่ไม่เกิน 5,000,000 บาท 5 3 เกิน 5,000,000 บาท แต่ไม่เกิน 10,000,000 บาท เกิน 10,000,000 บาท แต่ไม่เกิน 50,000,000 บาท 7 เกิน 50,000,000 บาทขึ้นไป 15 *** สำหรับวงเงินเกิน 100,000 บาท แต่ไม่เกิน 1,000,000 บาท เป็นไปตามแนวทางปฏิบัติฯ กล่าวคือ ต้องมีระยะเวลาไม่น้อยกว่า 3 วันทำการ ***
การเสนอราคาให้ทำหลังปิดการให้/จำหน่ายเอกสารประกวดราคาฯ ไม่น้อยกว่า 3 วันทำการ และกำหนดวันเสนอราคาเพียงวันเดียว โดยจะต้อง เป็นวันและเวลาราชการ (เสนอราคาตั้งแต่เวลา 8.30 – 16.30 น) - กรณีไม่มีการยื่นพัสดุเพื่อนำเสนอ/ทดสอบ กำหนดให้ผู้เสนอราคายื่นเอกสาร การเสนอราคาผ่านทางระบบ e – GP เท่านั้น - กรณีที่มีการยื่นพัสดุเพื่อนำเสนอ/ทดสอบ กำหนดให้ผู้เสนอราคา ยื่นเอกสาร การเสนอราคาผ่านทางระบบ e – GP ก่อน หลังจากนั้นจึงให้ยื่นพัสดุต่อ ส่วนราชการ ณ สถานที่ที่กำหนด ภายใน 5 วันทำการ นับถัดจากวันเสนอราคา ตามวัน เวลา ที่กำหนดไว้ในประกาศ ผู้เสนอราคาสามารถแก้ไขเพิ่มเติมเอกสารที่ยื่นได้ในช่วงเวลาก่อนที่จะตกลง ส่งเอกสาร แต่เมื่อได้ตกลงส่งเอกสารแล้ว ระบบ e – GP จะป้องกันไม่ให้มี การแก้ไขหรือยื่นเพิ่มเติมได้
ในการดำเนินการซื้อหรือจ้างด้วยวิธีประกวดราคาอิเล็กทรอนิกส์ หัวหน้าส่วนราชการแต่งตั้ง “คณะกรรมการพิจารณาผลการประกวดราคาอิเล็กทรอนิกส์” ก่อนถึงกำหนดวันเสนอราคา โดยมีองค์ประกอบของคณะกรรมการ ตามระเบียบฯ พัสดุ พ.ศ. 2535 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 35 วรรคหนึ่ง
หลักเกณฑ์ประเมินค่าประสิทธิภาพต่อราคา หลักเกณฑ์การพิจารณา หลักเกณฑ์ราคา (PRICE) หลักเกณฑ์ประเมินค่าประสิทธิภาพต่อราคา (PRICE PERFORMANCE)
กำหนดตัวแปรไว้ 2 ลักษณะ เลือกอย่างน้อย 2 ตัวแปร ประเภทบังคับ ประเภทไม่บังคับ เลือกอย่างน้อย 2 ตัวแปร
1. ตัวแปรหลักประเภทบังคับ ราคาที่เสนอ (Price) 2. ตัวแปรหลัก ประเภทไม่บังคับ ผลการประเมินผู้ค้าภาครัฐ (Grading) คุณภาพและคุณสมบัติที่เป็นประโยชน์ต่อทางราชการ การเสนอพัสดุที่เป็นกิจการที่รัฐต้องการส่งเสริมหรือสนับสนุน
ประเภทไม่บังคับ การเสนอพัสดุที่เป็นกิจการที่รัฐต้องการส่งเสริมหรือสนับสนุน เป็นตัวแปรหลัก ให้กำหนดคุณสมบัติของ ตัวแปรรอง ได้แก่ เครื่องหมายฉลากเขียว 2. เครื่องหมายมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม (มอก.) 3. โรงงานที่ได้รับการรับรองระบบคุณภาพ (ISO) 4. เครื่องหมายตระกร้าเขียว 5. จดทะเบียนผลิตภัณฑ์ 6. พัสดุที่ผลิตในประเทศ
คุณภาพและคุณสมบัติที่เป็นประโยชน์ ต่อทางราชการ ได้แก่ คุณภาพของสินค้า มาตรฐานของสินค้า ต้นทุนของพัสดุนั้นตลอดอายุการใช้งาน บริการหลังการขาย ประโยชน์ระยะยาวที่จะเกิดขึ้นแก่ส่วนราชการ
ตัวแปรหลักที่ใช้ประเมิน ตัวอย่าง การพิจารณาคัดเลือกผู้ชนะการเสนอราคา โดยใช้หลักเกณฑ์ (Price Performance) ตัวแปรหลักที่ใช้ประเมิน น้ำหนัก บริษัท/คะแนนที่ได้ A B C D 1. ราคา 50 83 100 2. คุณภาพและคุณสมบัติที่เป็นประโยชน์ต่อทางราชการ 10 90 80 70 3. การเสนอพัสดุที่เป็นกิจการที่รัฐต้องการส่งเสริมหรือสนับสนุน 40 ฉลากเขียว+มอก+ISO มอก ผลิตในประเทศ รวม/คะแนนเมื่อถ่วงน้ำหนักแล้ว 75 78.5 74 73
หนังสือคณะกรรมการว่าด้วยการพัสดุ ด่วนที่สุด ที่ กค (กวพ) 0421.3/ว 258 ลว. 24 ก.ค. 2558 - ให้ส่วนราชการกำหนดหลักเกณฑ์ การพิจารณา ผู้ชนะการเสนอราคา โดยเลือกใช้ หลักเกณฑ์อย่างหนึ่งอย่างใด กล่าวคือ หลักเกณฑ์ราคา (Price) หรือ หลักเกณฑ์การประเมิน ค่าประสิทธิภาพต่อราคา (Price Performance) โดยการพิจารณาเลือก หลักเกณฑ์ใดแล้ว ให้ส่วนราชการ ดำเนินการใช้หลักเกณฑ์ดังกล่าวในการ พิจารณาของทั้งโครงการ
หนังสือคณะกรรมการว่าด้วยการพัสดุ ด่วนที่สุด ที่ กค (กวพ) 0421.3/ว 258 ลว. 24 ก.ค. 2558 - ให้ส่วนราชการจัดเตรียมเอกสารเพื่อนำเข้า (upload) ในระบบ e-GP โดยการแปลง (Covert) หรือสแกน (Scan) เอกสารต้นฉบับ ในรูปแบบ PDF File โดยมีความละเอียดไม่ต่ำกว่า 300 DPI (Dots per inch) - กรณีที่การประกวดราคาอิเล็กทรอนิกส์จำเป็นต้องมีเอกสารหรือรายละเอียดประกอบการอธิบายเอกสารที่ผู้เสนอราคาได้ยื่นไว้แล้วผ่านระบบ e-GP ในส่วนที่ เป็นสาระสำคัญ หากผู้เสนอราคาไม่สามารถนำเข้าระบบ e-GP ได้ หรือนำเข้าระบบ e-GP แล้วจะเกิดอุปสรรคในการพิจารณาของส่วนราชการ ให้ส่วนราชการกำหนดให้ ผู้เสนอราคาจัดส่งหรือนำเอกสารหรือรายละเอียดดังกล่าว ลงลายมือชื่อผู้เสนอราคา พร้อมประทับตรา (ถ้ามี) กำกับในเอกสารด้วย พร้อมสรุปจำนวนเอกสารที่จัดส่งหรือ นำมาแสดง ตามบัญชีเอกสารส่วนที่ ๒ ซึ่งจะต้องดำเนินการภายใน ๕ วันทำการ โดยกำหนดเป็นเงื่อนไขไว้ในเอกสารประกวดราคาอิเล็กทรอนิกส์ให้ชัดเจน ตามนัยแนวทางปฏิบัติแนบท้ายประกาศฯ ข้อ ๒๖ วรรคท้าย
หลักประกันการเสนอราคา มูลค่าหลักประกัน เงื่อนไขการยึดและการคืนหลักประกัน กระทำได้ในกรณี ดังนี้ หลักประกันการเสนอราคา หนังสือค้ำประกันอิเล็กทรอนิกส์ ของธนาคารภายในประเทศ (2) มูลค่าหลักประกัน ร้อยละ 5 ของวงเงินงบประมาณ (3) เงื่อนไขการยึด ได้รับคัดเลือกแล้วไม่ทำสัญญา (4) การคืนหลักประกัน ภายใน 15 วัน นับถัดจาก การเสนอราคา วันพิจารณาเบื้องต้นเรียบร้อยแล้ว เว้นแต่ ผู้เสนอราคารายที่คัดเลือกไว้ 3 ลำดับแรก คืนได้ต่อเมื่อได้ทำสัญญา หรือผู้เสนอราคาได้พ้นข้อผูกพันแล้ว
หนังสือคณะกรรมการว่าด้วยการพัสดุ ด่วนที่สุด ที่ กค (กวพ) 0421.3/ว 258 ลว. 24 ก.ค. 2558 หลักประกันการเสนอราคา กำหนดให้ใช้สำหรับการจัดหาพัสดุที่มีราคาเกิน 2,000,000 บาท ขึ้นไป ให้ใช้หลักประกันอย่างหนึ่งอย่างใด ดังต่อไปนี้ (1) หนังสือค้ำประกันอิเล็กทรอนิกส์ของธนาคารภายในประเทศ (2) เช็คที่ธนาคารสั่งจ่ายซึ่งเป็นเช็คลงวันที่ที่ใช้เช็คนั้นชำระต่อเจ้าหน้าที่ หรือก่อนวันนั้นไม่เกิน 3 วันทำการ (3) พันธบัตรรัฐบาลไทย ในกรณีที่ผู้เสนอราคานำเช็คที่ธนาคารเซ็นสั่งจ่ายหรือพันธบัตรรัฐบาลไทยมาใช้ เป็นหลักประกันการเสนอราคา ให้ผู้เสนอราคาส่งเช็คหรือพันธบัตรในรูปแบบ PDF File ผ่านทางระบบ e – GP ในวันเสนอราคา และให้ส่วนราชการกำหนดให้ผู้เสนอราคา ส่งต้นฉบับเอกสารดังกล่าวมาให้ส่วนราชการตรวจสอบความถูกต้อง ตามวัน และเวลา ที่กำหนด ซึ่งจะต้องดำเนินการภายใน 5 วันทำการ นับถัดจากวันเสนอราคา โดยกำหนด เป็นวันใดให้ชัดเจนไว้ในเอกสารประกวดราคาอิเล็กทรอนิกส์ ตามนัยแนวทางปฏิบัติแนบท้ายประกาศฯ ข้อ 26 วรรคท้าย
หนังสือคณะกรรมการว่าด้วยการพัสดุ ด่วนที่สุด ที่ กค (กวพ) 0421.3/ว 258 ลว. 24 ก.ค. 2558 หลักประกันการเสนอราคา (ต่อ) การคืนหลักประกันที่เป็นหนังสือค้ำประกันอิเล็กทรอนิกส์ของธนาคารภายในประเทศ กรณีธนาคารได้ออกหนังสือค้ำประกันอิเล็กทรอนิกส์ให้แก่ผู้เสนอราคาที่ได้ยื่นขอหนังสือค้ำประกันอิเล็กทรอนิกส์เรียบร้อยแล้ว และผู้เสนอราคา ได้ใช้ยื่นต่อส่วนราชการ ให้ส่วนราชการดำเนินการส่งคืนหลักประกันให้แก่ธนาคารผู้ออกหนังสือค้ำประกันอิเล็กทรอนิกส์ผ่านทางระบบ e – GP โดยเข้าเมนูหลักประกันซอง และเลือกการคืนหลักประกันซอง เมื่อดำเนินการกรอกรายเอียดของข้อมูลต่างๆ ครบถ้วนแล้ว ระบบ e – GP จะดำเนินการส่งข้อมูลไปยังธนาคารผู้ออกหนังสือค้ำประกันอิเล็กทรอนิกส์ และให้ส่วนราชการแจ้งผู้เสนอราคาทราบผ่านทางระบบ e – GP ด้วย ตามนัยแนวทางปฏิบัติแนบท้ายประกาศฯ ข้อ 34 (4)
หน้าที่คณะกรรมการพิจารณาผลการประกวดราคาอิเล็กทรอนิกส์ (ข้อ 37) เมื่อถึงกำหนดวันรับข้อเสนอ ให้คณะกรรมการฯ ดำเนินการดังนี้ การรับเอกสารเสนอราคา ให้รับผ่านทางระบบ e – GP เว้นแต่ กรณีมีรายละเอียด ที่มีความจำเป็นโดยสภาพที่ต้องให้นำตัวอย่างมาแสดง (2) เมื่อพ้นกำหนดการรับเอกสารเสนอราคาแล้ว ห้ามรับเอกสารเพิ่มเติม เว้นแต่ กรณีตามระเบียบฯ พ.ศ. 2535 ข้อ 16 (9) (3) จะต้องเก็บเอกสารเสนอราคาของผู้เสนอราคาทุกรายเป็นความลับ (4) ให้คณะกรรมการฯ จัดพิมพ์เอกสารการเสนอราคาของผู้เสนอราคาทุกราย ผ่านทางระบบ e – GP และลงลายมือชื่อกำกับไว้ในใบเสนอราคาและเอกสารการเสนอราคาของผู้เสนอราคา ทุกแผ่น (5) ตรวจสอบเอกสารหลักฐานการเสนอราคาต่างๆ และพัสดุตัวอย่าง (ถ้ามี) แล้วคัดเลือกผู้เสนอ ราคาที่ยื่นเอกสารครบถ้วน ถูกต้อง มีคุณสมบัติและข้อเสนอทางด้านเทคนิค ตามที่กำหนดไว้ (6) พิจารณาคัดเลือกสิ่งของหรืองานจ้างหรือคุณสมบัติของผู้เสนอราคา แล้วเสนอซื้อหรือจ้าง จากผู้เสนอราคารายที่คัดเลือกไว้ ซึ่งเสนอราคาต่ำสุด หรือผู้เสนอราคาที่ได้คะแนนรวมสูงสุด แล้วแต่กรณี
คณะกรรมการฯ เห็นสมควรดำเนินการต่อไป ไม่มีผู้เสนอราคา/ มีแต่ไม่ถูกต้อง ให้ยกเลิก มีผู้เสนอราคารายเดียว - ผ่านการคัดเลือกเพียงรายเดียว ต่อรองราคา คณะกรรมการฯ เห็นสมควรดำเนินการต่อไป ให้ยกเลิก ไม่มีผู้เสนอราคา/ มีแต่ไม่ถูกต้อง
รายนั้นเพื่อต่อรองราคา แจ้งผู้เสนอราคา รายนั้นเพื่อต่อรองราคา (2) เรียกผู้เสนอราคา ทุกรายมาต่อรองราคาใหม่พร้อมกัน กรณีผู้เสนอราคารายที่สมควรซื้อหรือจ้างเสนอราคาสูงกว่าวงเงินงบประมาณ (3) เสนอความเห็นต่อหัวหน้าส่วนราชการ ปรับลดรายการ/ลดจำนวน/ลดเนื้องาน/ ขอเงินเพิ่ม/ยกเลิก
เมื่อดำเนินการตามข้อ 37 แล้วเสร็จ ให้คณะกรรมการฯ รายงานผลการพิจารณาและความเห็นพร้อมด้วยเอกสารที่ได้รับไว้ทั้งหมด ผ่านหัวหน้าเจ้าหน้าที่พัสดุ ต่อหัวหน้าส่วนราชการเพื่อขอความเห็นชอบ พร้อมเสนอผู้มีอำนาจอนุมัติสั่งซื้อหรือ สั่งจ้าง ก่อนแจ้งผลให้ผู้เสนอราคาทุกรายทราบ และประกาศผลในเว็บไซต์ของส่วนราชการและของกรมบัญชีกลาง
หัวหน้าส่วนราชการ เห็นชอบ คืนหลักประกันการเสนอราคาแก่ ผู้เสนอราคารายที่ไม่ได้ ถูกคัดเลือกไว้ ภายใน 15 วัน ไม่เห็นชอบ ให้แจ้งเหตุผล ที่ไม่เห็นชอบให้คณะกรรมการฯ คณะกรรมการฯ ชี้แจง แล้วเสนอความเห็นอีกครั้ง ไม่เห็นชอบ ขออนุมัติสั่งซื้อสั่งจ้าง ยกเลิก แจ้งผลการพิจารณาแก่ผู้เสนอราคาทุกรายผ่านทาง e – mail และประกาศผลการพิจารณาทางเว็บไซต์หน่วยงานและกรมบัญชีกลาง
หนังสือคณะกรรมการว่าด้วยการพัสดุ ด่วนที่สุด ที่ กค (กวพ) 0421.3/ว 258 ลว. 24 ก.ค. 2558 การขอรับเอกสารประกวดราคาอิเล็กทรอนิกส์ (e – bidding) กรณียกเลิก การประกวดราคาอิเล็กทรอนิกส์ (e – bidding) หรือประกวดราคาด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ (e - Auction) และดำเนินการใหม่ - ถ้ามีการยกเลิกการประกวดราคาอิเล็กทรอนิกส์ (e – bidding) ในครั้งนั้น และมีการประกวดราคาอิเล็กทรอนิกส์ใหม่ ให้ผู้รับหรือซื้อเอกสารประกวดราคาอิเล็กทรอนิกส์ในครั้งก่อน มีสิทธิใช้เอกสารประกวดราคาอิเล็กทรอนิกส์นั้น หรือได้รับเอกสารประกวดราคาอิเล็กทรอนิกส์ใหม่ โดยไม่ต้องเสียค่าซื้อเอกสารประกวดราคาอิเล็กทรอนิกส์อีก - ถ้ามีการยกเลิกการประกวดราคาด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ (e - Auction) และส่วนราชการได้ดำเนินการประกวดราคาอิเล็กทรอนิกส์ (e – bidding) ในครั้งใหม่ ให้ผู้รับหรือซื้อเอกสารประกวดราคาฯ e - Auction ครั้งก่อน มีสิทธิขอรับเอกสารประกวดราคาอิเล็กทรอนิกส์ (e – bidding) ใหม่ โดยไม่ต้องเสียค่าซื้อเอกสารประกวดราคาอิเล็กทรอนิกส์ (e – bidding) อีก
หนังสือคณะกรรมการว่าด้วยการพัสดุ ด่วนที่สุด ที่ กค (กวพ) 0421.3/ว 258 ลว. 24 ก.ค. 2558 อนึ่ง การดำเนินการจัดหาพัสดุด้วยวิธีตลาดอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Market : e - market) และด้วยวิธีประกวดราคาอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Bidding : e - bidding) ที่ได้ ดำเนินการตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่กำหนดไว้เดิม ก่อนวันที่ 3 สิงหาคม 2558 ให้ดำเนินการตามหลักเกณฑ์และวิธีการดังกล่าวต่อไป
การประเมินสิทธิผู้เสนอราคา สามารถทำงานได้ สัญญาณไฟสีเขียว ห้ามเข้าเสนอราคาและห้ามทำสัญญา สัญญาณไฟสีเหลือง สัญญาณไฟสีแดง ห้ามทำสัญญา เนื่องจากทิ้งงาน
สาระสำคัญ รายละเอียด เงื่อนไข ที่กำหนดไว้ในเอกสารประกวดราคา กรณีต้องเปลี่ยนแปลง สาระสำคัญ รายละเอียด เงื่อนไข ที่กำหนดไว้ในเอกสารประกวดราคา ให้ยกเลิกการประกวดราคาในครั้งนั้น เพื่อประโยชน์ของทางราชการ
เงื่อนไข (ข้อ 23) วงเงินเกินหนึ่งแสนบาท การดำเนินการซื้อโดยวิธีพิเศษ เจ้าหน้าที่พัสดุ หัวหน้าส่วนราชการ ให้ความเห็นชอบ 29 รายงาน ข้อ 27 เงื่อนไข (ข้อ 23) วงเงินเกินหนึ่งแสนบาท วิธีการ (ข้อ 57) เจรจาตกลงราคา - จะขายทอดตลาด เชิญผู้มีอาชีพขายมาเสนอราคาและต่อรอง - เร่งด่วนช้าเสียหาย - ราชการลับ เชิญผู้มีอาชีพขายมาเสนอราคาและต่อรอง - ซื้อเพิ่ม (Repeat Order) เจรจาผู้ขายรายเดิม เงื่อนไขเดิม ราคาเดิม หรือดีกว่า
เงื่อนไข (ข้อ 23) วงเงินเกินหนึ่งแสนบาท การดำเนินการซื้อโดยวิธีพิเศษ เงื่อนไข (ข้อ 23) วงเงินเกินหนึ่งแสนบาท วิธีการ (ข้อ 57) - ซื้อจากต่างประเทศ สั่งตรงโดยให้หน่วยงานอื่นในต่างประเทศ สืบราคาให้ - จำเป็นต้องระบุยี่ห้อ เชิญผู้ผลิต/ผู้แทนจำหน่ายมาเสนอราคา และต่อรอง - ซื้อที่ดินและสิ่งก่อสร้างเฉพาะ เชิญเจ้าของมาตกลงราคา - ดำเนินงานโดยวิธีอื่นแล้ว ไม่ได้ผลดี สืบราคาจากผู้มีอาชีพขายและผู้เสนอ ราคาที่ถูกยกเลิกไป (ถ้ามี) ต่อรองราคา
เงื่อนไข (ข้อ 24) วงเงินเกิน 1 แสนบาท การดำเนินการจ้างโดยวิธีพิเศษ เจ้าหน้าที่พัสดุ หัวหน้าส่วนราชการ ให้ความเห็นชอบ 29 รายงาน ข้อ 27 เงื่อนไข (ข้อ 24) วงเงินเกิน 1 แสนบาท วิธีการ (ข้อ 58) - กรณีเป็นงานที่ต้องใช้ช่างฝีมือโดย เฉพาะหรือชำนาญโดยพิเศษ - เชิญผู้มีอาชีพโดยตรงมาเสนอราคา - กรณีเป็นงานจ้างซ่อมที่ไม่ทราบ ความเสียหาย - เชิญผู้มีอาชีพโดยตรงมาเสนอราคา - เร่งด่วนช้าเสียหาย - เชิญผู้มีอาชีพโดยตรงมาเสนอราคา
ดำเนินการโดยวิธีอื่น ไม่ได้ผลดี การดำเนินการซื้อโดยวิธีพิเศษ เชิญผู้มีอาชีพโดยตรงมาเสนอราคา ราชการลับ เจรจากับผู้รับจ้างรายเดิม ราคาต่ำกว่าหรือราคาเดิม จ้างเพิ่ม (Repeat Order) สืบราคาจากผู้มีอาชีพรับจ้างและ ผู้เสนอราคาที่ถูกยกเลิกไป (ถ้ามี) ต่อรองราคา ดำเนินการโดยวิธีอื่น ไม่ได้ผลดี
การดำเนินการซื้อและการจ้างโดยวิธีกรณีพิเศษ (ข้อ 27) เจ้าหน้าที่พัสดุ หัวหน้าส่วนราชการ (ข้อ 29) - วงเงินเกิน 100,000 บาท หัวหน้าส่วนราชการเป็นผู้สั่งซื้อหรือจ้าง - วงเงินไม่เกิน 100,000 บาท เป็นอำนาจ หัวหน้าเจ้าหน้าที่พัสดุ ติดต่อตกลงราคา กับผู้ขายหรือผู้รับจ้าง เงื่อนไข : ส่วนราชการ /รัฐวิสาหกิจ หน่วยงานตามกฎหมาย ท้องถิ่น 1. เป็นผู้ทำ/ผลิตเองและนายกรัฐมนตรีอนุมัติ หลักการแล้ว 2. มีกฎหมาย/มติคณะรัฐมนตรี ให้ผู้ซื้อ/จ้าง
การบริหารสัญญา และหลักประกัน
รูปแบบของสัญญา 1. เต็มรูป (ข้อ 132) 1.1 ทำสัญญาตามตัวอย่างที่ กวพ. กำหนด 1.2 มีข้อความแตกต่าง เสียเปรียบ/ไม่รัดกุม 1.3 ร่างใหม่ 2. ลดรูป (ข้อ 133) ข้อตกลงเป็นหนังสือ (ใบสั่งซื้อ/สั่งจ้าง) 2.1 ตกลงราคา 2.2 ส่งของภายใน 5 วันทำการ 2.3 กรณีพิเศษ 2.4 การซื้อ/จ้างโดยวิธีพิเศษ (บางกรณี) 3. ไม่มีรูป (ข้อ 133 วรรคท้าย) 3.1 ไม่เกิน 10,000 บาท 3.2 ตกลงราคา กรณีเร่งด่วน ตามข้อ 39 วรรคสอง จะไม่ทำข้อตกลงเป็นหนังสือไว้ต่อกันก็ได้ ส่ง สนง.อัยการสูงสุดพิจารณา
ผลของสัญญา หลัก มีผลตั้งแต่วันลงนามในสัญญาเป็นต้นไป หลัก มีผลตั้งแต่วันลงนามในสัญญาเป็นต้นไป ข้อยกเว้น (กค (กวพ) 0408.4/ว 351 ลว. 9 ก.ย. 48 เป็นการเช่าหรือจ้างต่อเนื่องกับผู้ให้เช่า/ผู้รับจ้าง รายเดิม/รายใหม่ ส่วนราชการรู้ตัวผู้ให้เช่า/ผู้รับจ้าง และผู้มีอำนาจได้อนุมัติให้เช่าหรือ จ้างแล้ว ไม่สามารถลงนามในสัญญาได้ทันในวันที่ 1 ตุลาคม ของ ปีงบประมาณใหม่
เงื่อนไขที่สำคัญของสัญญา 1. ข้อตกลงเรื่องรูปแบบ ปริมาณ จำนวน ราคา 2. การจ่ายเงิน (งวดเงิน) 3. การจ่ายเงินล่วงหน้า 4. หลักประกัน 5. การส่งมอบ การตรวจรับ 6. การขยายเวลา งดหรือลดค่าปรับ 7. การปรับ 8. การประกันความชำรุดบกพร่อง
การแบ่งงวดงานและงวดเงิน วัตถุประสงค์ เพื่อให้งานที่จ้างเป็นไปตามลำดับขั้นตอน ตามหลักวิชาการของ การก่อสร้าง และการแบ่งจ่ายเงินเมื่อผู้รับจ้างส่งมอบงานในแต่ละงวด เพื่อให้ ผู้รับจ้างเกิดสภาพคล่องทางการเงิน และใช้เป็นทุนหมุนเวียนในการก่อสร้าง การกำหนดจ่ายเงินเป็นงวดนั้น จึงต้องกำหนดให้สัมพันธ์กันระหว่างเนื้องานกับ เนื้อเงิน กรณีที่มีการแบ่งงวดงานและงวดเงินแล้ว โดยหลัก ผู้ว่าจ้างไม่อาจรับมอบงาน และจ่ายเงินข้ามงวดได้ เว้นแต่ ตามข้อเท็จจริงของหลักวิชาการของการ ก่อสร้าง งานที่ส่งมอบนั้น เป็นอิสระไม่เกี่ยวข้องกับงานในงวดก่อนหน้านั้น
ค่าจ้างและการจ่ายเงิน สัญญาซื้อขาย/สัญญาจ้างทั่วไป จ่ายตามวงเงินที่กำหนดในสัญญา สัญญาจ้างก่อสร้าง ราคาต่อหน่วย จ่ายตามเนื้องานที่ทำเสร็จจริง ราคาเหมารวม
มีความจำเป็นจะต้องจ่าย จ่ายได้เฉพาะกรณีและตามหลักเกณฑ์ที่กำหนด การจ่ายเงินล่วงหน้า หลัก จ่ายไม่ได้ ข้อยกเว้น มีความจำเป็นจะต้องจ่าย มีกำหนดเงื่อนไขไว้ในเอกสารสอบราคา หรือประกวดราคา ก่อนการทำสัญญาหรือข้อตกลง จ่ายได้เฉพาะกรณีและตามหลักเกณฑ์ที่กำหนด
หลักประกันซอง หลักประกันที่ผู้ขาย/ผู้รับจ้าง ที่จะเข้าเสนอราคากับส่วน ราชการนำมาวางในขณะยื่นซองเสนอราคา เพื่อประกันความเสียหายในการผิดเงื่อนไขในการเสนอ ราคา ใช้เฉพาะวิธีประกวดราคา
หลักประกันสัญญา หลักประกันที่ผู้ขาย/ผู้รับจ้าง ที่เป็นคู่สัญญากับ ส่วนราชการนำมาวางขณะทำสัญญา เพื่อประกันความเสียหายจากการผิดเงื่อนไขตาม ข้อกำหนดในสัญญา ใช้เป็นหลักประกันจนกว่าจะสิ้นสุดข้อผูกพันตามสัญญา
มูลค่าหลักประกัน ร้อยละ 5 ของวงเงิน / ราคาพัสดุ ที่จัดหาในครั้งนั้น เว้นแต่ การจัดหาที่สำคัญพิเศษ กำหนดสูงกว่าร้อยละ 5 แต่ไม่เกินร้อยละ 10 * กรณีส่วนราชการ/รัฐวิสาหกิจ เป็นคู่สัญญา/ผู้เสนอราคา - ไม่ต้องวางหลักประกัน (ข้อ 143)
ค่าปรับ (เบี้ยปรับ) ค่าเสียหาย ค่าปรับ (เบี้ยปรับ) ค่าเสียหาย ค่าปรับ (เบี้ยปรับ) เป็นค่าเสียหายที่คู่สัญญาได้ตกลง กันไว้ล่วงหน้า ไม่ต้องพิสูจน์ความเสียหาย ค่าเสียหาย เป็นสิทธิเรียกร้องของคู่สัญญาเมื่อมีความ เสียหายเกิดขึ้นแล้ว ต้องพิสูจน์ความเสียหาย
การกำหนดอัตราค่าปรับในสัญญา (ข้อ 134) กรณีซื้อ /จ้าง ไม่ต้องการผลสำเร็จของงานพร้อมกัน ค่าปรับรายวัน อัตราตายตัว ระหว่างร้อยละ 0.01 – 0.20 ของราคาพัสดุที่ยังไม่ได้รับมอบ กรณีงานจ้างก่อสร้าง ที่ต้องการผลสำเร็จของงานพร้อมกัน ค่าปรับรายวัน เป็นจำนวนเงินตายตัว อัตราร้อยละ 0.01 – 0.10 ของ ราคางานจ้าง แต่ต้องไม่ต่ำกว่าวันละ 100 บาท จ้างก่อสร้างสาธารณูปโภคที่มีผลกระทบต่อการจราจร ปรับรายวันในอัตรา อัตราร้อยละ 0.25 ของราคางานจ้างนั้น
การปรับ เมื่อครบกำหนดสัญญา/ข้อตกลง ยังไม่มีการส่งมอบต้องแจ้งการปรับ เมื่อครบกำหนดสัญญา/ข้อตกลง ยังไม่มีการส่งมอบต้องแจ้งการปรับ เมื่อมีการส่งมอบพัสดุเกินกำหนดสัญญา/ข้อตกลง ต้องสงวนสิทธิการปรับ การนับวันปรับ นับถัดจากวันครบกำหนดตามสัญญา/ข้อตกลง จนถึงวันที่ผู้ขายหรือผู้รับจ้างส่ง มอบสิ่งของถูกต้องครบถ้วน หรือจนถึงวันที่บอกเลิกสัญญา/ข้อตกลง (หักด้วยระยะเวลาที่ คณะกรรมการตรวจรับใช้ไปในการตรวจรับออกจากจำนวนวันที่ต้องถูกปรับด้วย) สิ่งของประกอบกันเป็นชุด ให้ปรับทั้งชุด สิ่งของรวมติดตั้ง/ทดลอง ให้ปรับตามราคาของทั้งหมด
การแก้ไขเปลี่ยนแปลงสัญญา (ข้อ 136) หลัก ห้ามแก้ไข เปลี่ยนแปลง ข้อยกเว้น กรณีจำเป็น ไม่ทำให้ราชการเสียประโยชน์ กรณีแก้ไขเพื่อประโยชน์ของทางราชการ
การแก้ไขเปลี่ยนแปลงสัญญา (2) อำนาจอนุมัติแก้ไขเปลี่ยนแปลงสัญญา หัวหน้าส่วนราชการ ** หลักการแก้ไขฯ ** การแก้ไขเปลี่ยนแปลงสัญญา สามารถที่จะพิจารณาดำเนินการแก้ไขเปลี่ยนแปลงสัญญาในช่วงเวลาใดก็ได้ แม้จะล่วงเลยกำหนดระยะเวลาแล้วเสร็จตามสัญญาก็ตาม แต่อย่างช้าจะต้องดำเนินการแก้ไขเปลี่ยนแปลงก่อนที่คณะกรรมการตรวจรับพัสดุ/ตรวจการจ้าง ได้ทำการตรวจรับพัสดุหรืองานจ้างไว้ใช้
การงด ลดค่าปรับ หรือการขยายเวลา ทำการตามสัญญา (ข้อ 139) การงด ลดค่าปรับ หรือการขยายเวลา ทำการตามสัญญา (ข้อ 139) อำนาจอนุมัติ หัวหน้าส่วนราชการ สาเหตุ (1) เหตุเกิดจากความผิด ความบกพร่องของราชการ (2) เหตุสุดวิสัย (3) เหตุเกิดจากพฤติการณ์ ที่คู่สัญญาไม่ต้องรับผิด
การบอกเลิก / ตกลงกันเลิกสัญญาหรือข้อตกลง หลัก 1) มีเหตุเชื่อได้ว่า ผู้รับจ้างไม่สามารถทำงานให้แล้วเสร็จ ภายในเวลาที่กำหนด (ข้อ 137 วรรคหนึ่ง) 2) ไม่ปฏิบัติตามสัญญา/ข้อตกลง และค่าปรับจะเกิน10 % ของวงเงินทั้งสัญญา เว้นแต่ จะยินยอมเสียค่าปรับ ก็ให้ ผ่อนปรนได้เท่าที่จำเป็น (ข้อ 138) การตกลงเลิกสัญญาต่อกัน ทำได้เฉพาะเป็นประโยชน์ /หรือเพื่อแก้ไขข้อ เสียเปรียบของราชการหากปฏิบัติตามสัญญา/ข้อตกลงต่อไป(ข้อ 137 วรรค สอง)
ผลของการเลิกสัญญา ตามมาตรา 391 แห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ “เมื่อคู่สัญญาฝ่ายหนึ่งได้ใช้สิทธิเลิกสัญญาแล้ว คู่สัญญาแต่ละ ฝ่ายจำต้องให้อีกฝ่ายหนึ่งได้กลับคืนสู่ฐานะดั่งที่เป็นอยู่เดิม แต่ทั้งนี้ จะให้เป็นที่เสื่อมเสียแก่สิทธิของบุคคลภายนอกหาได้ ไม่”
ผู้มีหน้าที่เสนอความเห็น ให้คณะกรรมการตรวจรับพัสดุหรือคณะกรรมการตรวจการจ้าง เป็นผู้เสนอความเห็นเพื่อประกอบ การพิจารณาของหัวหน้าส่วนราชการ ในการแก้ไขเปลี่ยนแปลงสัญญา การงด ลดค่าปรับ หรือ การขยายเวลาทำการตามสัญญา (หนังสือที่ นร (กวพ) 1305/ว 11948 ลว. 13 ธ.ค. 43)
คณะกรรมการตรวจรับพัสดุ ระเบียบ 35 ข้อ 71 งานซื้อ งานจ้างทั่วไป (ทำความสะอาด . รปภ . ประชาสัมพันธ์ ฯลฯ) คณะกรรมการตรวจการจ้าง งานจ้างก่อสร้าง ระเบียบ 35 ข้อ 72
หลักเกณฑ์การตรวจรับ/ตรวจการจ้าง หลักการ คณะกรรมการตรวจรับ หรือ คณะกรรมการตรวจการจ้าง ยกเว้น ซื้อหรือจ้าง ไม่เกิน 10,000 บาท แต่งตั้งข้าราชการหรือลูกจ้างประจำ ซึ่งไม่ใช่ผู้จัดซื้อจัดจ้าง เป็น “ผู้ตรวจรับ” “การตกลงราคา” กรณีจำเป็นและเร่งด่วน ใช้ “รายงานขอความเห็นชอบ” เป็น “หลักฐานการตรวจรับ” โดยอนุโลม
การตรวจรับพัสดุ ระเบียบฯ พัสดุ ข้อ 71 หน้าที่ของคณะกรรมการตรวจรับพัสดุ สถานที่ตรวจรับ :- ตรวจรับพัสดุ ณ ที่ทำการของผู้ใช้พัสดุ สถานที่ที่กำหนดในสัญญา / ข้อตกลง สถานที่อื่น ที่มิได้มีสัญญา / ข้อตกลง * ต้องได้รับอนุมัติจาก หัวหน้าส่วนราชการก่อน
หน้าที่ของคณะกรรมการตรวจรับพัสดุ (ต่อ) หลักเกณฑ์การตรวจรับ :- ตรวจให้ถูกต้องครบถ้วน ตามที่ตกลง ถ้าต้องตรวจทดลอง หรือตรวจทางเทคนิค/ วิทยาศาสตร์ จะเชิญผู้เชี่ยวชาญ/ ผู้ทรงคุณวุฒิมาให้คำปรึกษา/ หรือส่งไป ตรวจสอบ ณ สถานที่ของผู้ชำนาญการ หรือผู้ทรงคุณวุฒิก็ได้ กรณีจำเป็น ตรวจนับเป็นจำนวนหน่วยไม่ได้ทั้งหมด ให้ตรวจรับทางวิชาการหรือสถิติ
หน้าที่ของคณะกรรมการตรวจรับพัสดุ (ต่อ) ระยะเวลาตรวจรับ ปกติ ตรวจวันที่ผู้ขาย หรือผู้รับจ้างนำพัสดุมาส่ง ตรวจให้เร็วที่สุด กรณีตรวจรับถูกต้อง รับพัสดุไว้ ถือว่าผู้ขาย / ผู้รับจ้าง ส่งมอบถูกต้องครบถ้วนวันที่นำพัสดุ มาส่งมอบ ทำใบตรวจรับอย่างน้อย 2 ฉบับ (ให้ผู้ขาย 1 เจ้าหน้าที่พัสดุ 1 เพื่อประกอบการเบิกจ่ายเงิน ) รายงานผลให้ หัวหน้าส่วนราชการทราบ
กรณีตรวจรับไม่ถูกต้อง หน้าที่ของคณะกรรมการตรวจรับพัสดุ (ต่อ) กรณีตรวจรับไม่ถูกต้อง ไม่ถูกต้องในรายละเอียด * รายงานหัวหน้าส่วนราชการทราบเพื่อสั่งการทันที กรณีถูกต้องแต่ไม่ครบจำนวน/ หรือครบ แต่ไม่ถูกต้องทั้งหมด * ให้รับเฉพาะที่ถูกต้อง มอบของให้เจ้าหน้าที่พัสดุ ทำใบตรวจรับ 2 ฉบับ ส่งผู้ขาย & จนท.พัสดุ รีบรายงาน หัวหน้าส่วนราชการ เพื่อแจ้งผู้ขาย/ ผู้รับจ้าง ทราบภายใน 3 วันทำการ นับแต่วันตรวจพบ * สงวนสิทธิ์ปรับ (ส่วนที่ส่งไม่ถูกต้อง)
หน้าที่ของคณะกรรมการตรวจรับพัสดุ (ต่อ) กรณีพัสดุเป็นชุด / หน่วย ให้ดูว่า ถ้าขาดส่วนประกอบอย่างใดอย่างหนึ่ง จะใช้การไม่ได้อย่างสมบูรณ์ * ถือว่ายังไม่ได้ส่งมอบ * รีบรายงาน หัวหน้าส่วนราชการทราบภายใน 3 วันทำการ นับแต่ตรวจพบ
หน้าที่ของคณะกรรมการตรวจรับพัสดุ (ต่อ) กรรมการตรวจรับบางคนไม่ยอมรับพัสดุ ให้ทำความเห็นแย้งไว้ ถ้า หัวหน้าส่วนราชการ สั่งการให้รับทราบพัสดุไว้ * ให้ดำเนินการออกใบตรวจรับให้ผู้ขาย/ ผู้รับจ้าง และ จนท.พัสดุ
กำหนดระยะเวลาในการตรวจรับ/ตรวจการจ้าง นร (กวพ) 1002/ว 9 ลว. 4 เม.ย.33 - ให้ หน.ส่วนราชการหรือผู้มีอำนาจแต่งตั้ง กำหนดระยะเวลาปฏิบัติงานทุกครั้ง - ให้ คกก.ตรวจรับ / ตรวจการจ้าง รายงานภายในกำหนด + ถ้าล้าช้า ให้ขอขยาย นร 1305/ว 5855 ลว. 11 ก.ค. 44 + สร 1001/ว 35 ลว. 30 ธ.ค. 25 ระยะเวลาตรวจรับพัสดุ ระยะเวลาเริ่มตรวจ ระยะเวลาการตรวจ วันที่ส่งมอบ ให้เสร็จสิ้น โดยเร็วที่สุด แต่อย่างช้าไม่เกิน 5 วันทำการ ระยะเวลาตรวจการจ้าง ระยะเวลาเริ่มตรวจ ระยะเวลาการตรวจ ภายใน 3 วันทำการ ตารางถัดไป
การพิจารณาลงโทษผู้ทิ้งงาน
ระเบียบฯ พัสดุ พ.ศ. 2535 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 145 วรรคสอง ห้ามส่วนราชการก่อนิติสัมพันธ์กับผู้ทิ้งงาน ที่ผู้รักษาการตามระเบียบได้ระบุชื่อไว้ใน บัญชีรายชื่อผู้ทิ้งงานและได้แจ้งเวียนชื่อแล้ว เว้นแต่ผู้รักษาการตามระเบียบจะสั่งเพิกถอน การเป็นผู้ทิ้งงาน
หลักเกณฑ์การลงโทษผู้ทิ้งงาน 1.ผู้ที่ได้รับการคัดเลือกแล้วไม่ยอมไปทำสัญญา 2.คู่สัญญา/ผู้รับจ้างช่วงไม่ปฏิบัติตามสัญญา 3.คู่สัญญาไม่แก้ไขความชำรุดบกพร่อง หรือพัสดุที่ซื้อหรือจ้างไม่ได้มาตรฐาน หรือวัสดุที่ใช้ไม่ได้มาตรฐานหรือไม่ครบถ้วน ทำให้งานบกพร่องเสียหายอย่างร้ายแรง
หลักเกณฑ์การลงโทษผู้ทิ้งงาน (ต่อ) 4.งานก่อสร้างสาธารณูปโภค ใช้ของที่มีข้อบกพร่อง/ ไม่ได้มาตรฐาน/ไม่ครบถ้วน 5.ที่ปรึกษาที่มีผลงานบกพร่อง/ผิดพลาด/ก่อให้เกิด ความเสียหายอย่างร้ายแรง 6.ผู้กระทำการขัดขวางการแข่งขันราคา/กระทำการ โดยไม่สุจริตในการเสนอราคา
การพิจารณาผู้ทิ้งงานทั่วไปตามข้อ 1-5 1. หัวหน้าส่วนราชการรายงานเสนอปลัดกระทรวงพร้อมความเห็นโดยเร็ว 2. ปลัดกระทรวงพิจารณาเห็นว่าไม่มีเหตุผลอันสมควรส่งชื่อให้ผู้รักษาการ สั่งให้เป็นผู้ทิ้งงาน 3. กวพ. เสนอความเห็นว่าสมควรเป็นผู้ทิ้งงาน 4. ผู้รักษาการพิจารณาสั่งให้เป็นผู้ทิ้งงาน 5. ผู้รักษาการระบุชื่อผู้ทิ้งงานในบัญชีรายชื่อผู้ทิ้งงาน 6. ผู้รักษาการแจ้งเวียนชื่อให้ส่วนราชการอื่นทราบ/แจ้งผู้ทิ้งงานทาง ไปรษณีย์ลงทะเบียน
ผลการลงโทษผู้ทิ้งงาน 1. ลงโทษนิติบุคคล ถ้าการกระทำเกิดจากผู้บริหาร ลงโทษผู้บริหาร ด้วย 2. การสั่งลงโทษนิติบุคคล มีผลถึงนิติบุคคลอื่นที่ดำเนินธุรกิจ ประเภทเดียวกัน ซึ่งมีผู้บริหารคนเดียวกันด้วย 3. การสั่งลงโทษบุคคลธรรมดา มีผลถึงนิติบุคคลอื่น ซึ่งมีบุคคลดังกล่าวเป็นผู้บริหารด้วย หมายเหตุ ผู้บริหาร – หุ้นส่วนผู้จัดการ/กรรมการผู้จัดการ/ ผู้บริหาร/ผู้มีอำนาจดำเนินกิจการของนิติบุคคลนั้นๆ
การแจ้งเวียนชื่อผู้ทิ้งงาน หน่วยงานอื่นของรัฐที่มีระเบียบ ข้อบังคับของหน่วยงานเอง เมื่อสั่งให้นิติบุคคลหรือบุคคลใดเป็นผู้ทิ้งงานแล้ว ให้ส่งชื่อมายัง ผู้รักษาการตามระเบียบ เพื่อพิจารณาแจ้งเวียนชื่อผู้ทิ้งงาน ให้หน่วยงานอื่นทราบต่อไป (หนังสือสำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี ที่ สร 0203/ว 70 ลว. 31 มี.ค. 2524)
การอุทธรณ์คำสั่งทิ้งงาน 1. ยื่นอุทธรณ์เป็นหนังสือต่อผู้รักษาการตามระเบียบฯ ภายใน 15 วัน นับแต่วันรับแจ้งการลงโทษ 2. ชี้แจงเหตุผลข้อเท็จจริงพร้อมเอกสารประกอบ (ถ้ามี) 3. การพิจารณาอุทธรณ์ตาม พ.ร.บ.วิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. 2539 4. คำสั่งยกอุทธรณ์มาตรา 45 วรรคสอง และวรรคสาม ประกอบกฎกระทรวงฉบับที่ 4 (พ.ศ. 2540) ข้อ 2 (5) 5. ฟ้องต่อศาลปกครองภายใน 90 วัน ตามมาตรา 49 พ.ร.บ.จัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. 2542
การควบคุม และการจำหน่ายพัสดุ
แผนภูมิแสดงขั้นตอนการดำเนินการควบคุมและการจำหน่ายพัสดุ พัสดุของส่วนราชการไม่ว่าจะได้มาด้วยประการใด ดำเนินการในกรณีที่ พัสดุเกิดการชำรุด เสื่อมคุณภาพหรือ สูญไป หรือไม่จำเป็น ต้องใช้ในราชการต่อไป ก่อนการตรวจสอบ พัสดุ ประจำปี ตามข้อ 161 การให้ส่วนราชการอื่น หรือบุคคลยืมพัสดุ ไปใช้ในกิจการที่เป็น ประโยชน์ต่อ ทางราชการ ตามข้อ 146 - 150 ดำเนินการควบคุมและเก็บรักษา ตามข้อ 151 - 152 หน่วยงานที่ต้องการใช้พัสดุและหน่วยพัสดุที่ควบคุม ดำเนินการเบิก – จ่าย ตามข้อ 153 - 154 ส่วนราชการหรือหน่วยงานที่มีพัสดุไว้จ่าย ดำเนินการตรวจสอบพัสดุประจำปี ตามข้อ 155 - 156 ดำเนินการจำหน่ายในกรณีที่ปรากฏว่า มีพัสดุหมดความจำเป็น หรือหากใช้ในราชการต่อไปจะสิ้นเปลืองค่าใช้จ่ายมาก หรือสูญไป โดยไม่มีผู้รับผิด ตามข้อ 157 - 159 ลงจ่ายพัสดุที่จำหน่ายแล้วออกจากบัญชีหรือ ทะเบียนควบคุม ตามข้อ 160
การควบคุมและการจำหน่ายพัสดุ 3 หมวด ส่วนที่ 1 การยืม ส่วนที่ 2 การควบคุม ส่วนที่ 3 การจำหน่าย แบ่งเนื้อหาออกเป็น
การควบคุม การควบคุมพัสดุของส่วนราชการแบ่งออกได้เป็น 3 ส่วน คือ ส่วนที่ 2 การควบคุมพัสดุของส่วนราชการแบ่งออกได้เป็น 3 ส่วน คือ การเก็บรักษา การเบิกจ่าย การตรวจสอบพัสดุ พัสดุของส่วนราชการไม่ว่าจะได้มาด้วยประการใด ให้อยู่ในความควบคุมตามระเบียบนี้ เว้นแต่มีระเบียบของทางราชการหรือกฎหมายกำหนดไว้เป็นอย่างอื่น (ข้อ 151)
เมื่อเจ้าหน้าที่พัสดุได้รับมอบพัสดุแล้ว ให้ดำเนินการ ดังนี้ ข้อ 152 ลงบัญชีหรือทะเบียนเพื่อควบคุมพัสดุ แล้วแต่กรณี แยกเป็นชนิดและแสดงรายการตามตัวอย่างที่ กวพ. กำหนด โดยมีหลักฐานการรับเข้าบัญชีหรือทะเบียนไว้ประกอบรายการเป็นหลักฐานด้วย * สำหรับพัสดุประเภทอาหารสด จะลงรายการอาหารสดทุกชนิด ในบัญชีเดียวกันก็ได้ 2. เก็บรักษาพัสดุให้เป็นระเบียบเรียบร้อย ปลอดภัย และให้ครบถ้วนถูกต้องตรงตามบัญชี หรือทะเบียน
เจ้าหน้าที่พัสดุจะต้องปฏิบัติตาม หนังสือสำนักงบประมาณ ด่วนที่สุด ที่ นร 0702/ว 51 ลงวันที่ 20 มกราคม 2548 เรื่อง หลักการจำแนกประเภทรายจ่ายตามงบประมาณ ที่กำหนดว่าอะไรเป็นวัสดุ อะไรเป็นครุภัณฑ์ เพื่อประโยชน์ในการลงบัญชี หรือการลงทะเบียนควบคุมทรัพย์สิน
กรมบัญชีกลาง ได้มีหนังสือที่ กค 0410.3/ว 48 ลว. 13 ก.ย. 2549 เรื่อง การบันทึกบัญชีวัสดุหรือครุภัณฑ์ ไว้ดังนี้ วัสดุ หมายถึง สินทรัพย์ที่หน่วยงานมีไว้เพื่อใช้ในการดำเนินงานตามปกติ โดยทั่วไป มีมูลค่าไม่สูง และไม่มีลักษณะคงทนถาวร เช่น วัสดุสำนักงาน เป็นต้น ครุภัณฑ์ หมายถึง สินทรัพย์ที่หน่วยงานมีไว้เพื่อใช้ในการดำเนินงาน มีลักษณะคงทน และมีอายุการใช้งานเกินกว่า 1 ปี โดยบันทึกรายละเอียดของครุภัณฑ์ ในทะเบียนคุมทรัพย์สิน และให้คำนวณค่าเสื่อมราคาประจำปีด้วย สำหรับวัสดุที่มีมูลค่าไม่ถึง 5,000 บาท และมีลักษณะคงทนถาวร ให้บันทึกเป็นค่าใช้จ่ายประเภทค่าครุภัณฑ์มูลค่าต่ำกว่าเกณฑ์และให้บันทึกรายละเอียดของวัสดุดังกล่าวในทะเบียนคุมทรัพย์สินเพื่อประโยชน์ในการควบคุมรายการทรัพย์สินของทางราชการโดยไม่ต้องคำนวณค่าเสื่อมราคาประจำปี
การลงทะเบียนควบคุมพัสดุของทางราชการ วัสดุ ครุภัณฑ์ วัสดุที่คงทนถาวร ที่ดิน สิ่งก่อสร้าง บัญชีวัสดุ (ระเบียบฯ ข้อ152 + ที่ นร(กวพ)1202/ ว 116 ลว. 1 เม.ย. 35) ทะเบียนคุมทรัพย์สิน (ระเบียบฯ ข้อ152 + ที่ นร(กวพ) 0408.4/ว 129 ลว. 20 ต.ค. 49) ทะเบียนที่ราชพัสดุ (ตาม พรบ. ที่ราชพัสดุ) ตามที่ กวพ. กำหนด ตามที่กรมบัญชีกลาง กำหนด ตามที่กรมธนารักษ์ กำหนด
ข้าราชการที่ได้รับแต่งตั้ง การจ่ายพัสดุ ผู้สั่งจ่าย ได้แก่ หัวหน้าหน่วยพัสดุ ที่มีหน้าที่ควบคุมพัสดุ ข้าราชการอื่น ซึ่งได้รับแต่งตั้งจากหัวหน้า ส่วนราชการให้เป็นหัวหน้าหน่วยพัสดุ หัวหน้าส่วนราชการ ข้าราชการที่ได้รับแต่งตั้ง หัวหน้าหน่วยพัสดุ กรณีที่มีความจำเป็น หัวหน้าส่วนราชการ จะกำหนดวิธีการเบิกจ่ายพัสดุเป็นอย่างอื่นก็ได้ แต่ต้องแจ้งให้สำนักงานตรวจเงินแผ่นดิน หรือสำนักงานตรวจเงินแผ่นดินภูมิภาค ทราบด้วย
วิธีการตรวจสอบพัสดุประจำปี ข้อ 155 ก่อนสิ้นเดือน ก.ย. ของทุกปี ให้หัวหน้าส่วนราชการ หรือ หัวหน้าหน่วยงานซึ่งมีพัสดุไว้จ่ายตามข้อ 153 แต่งตั้งเจ้าหน้าที่ในหน่วยงาน ซึ่งมิใช่เจ้าหน้าที่พัสดุทำการตรวจสอบการรับ-จ่าย พัสดุ ตรวจสอบพัสดุงวดวันที่ 1 ต.ค. ปีก่อน – 30 ก.ย. ของปีปัจจุบันว่า คงเหลือตรงตามบัญชี/ทะเบียน หรือไม่
การจำหน่าย ข้อ 157 พัสดุของส่วนราชการเมื่อหมดความจำเป็น ส่วนที่ 3 พัสดุของส่วนราชการเมื่อหมดความจำเป็น หรือหากใช้ในราชการต่อไปจะสิ้นเปลืองค่าใช้จ่ายมาก ให้เจ้าหน้าที่พัสดุเสนอรายงานต่อหัวหน้าส่วนราชการ เพื่อพิจารณาสั่งการ * โดยปกติให้แล้วเสร็จภายใน 60 วัน นับแต่วันที่ หัวหน้าส่วนราชการสั่งการ และสำหรับราชการ บริหารส่วนภูมิภาคจะต้องได้รับความเห็นชอบจาก หัวหน้าส่วนราชการเจ้าของงบประมาณก่อนด้วย
การจำหน่ายสามารถดำเนินการได้ 4 วิธี การขาย การแลกเปลี่ยน การโอน การแปรสภาพหรือ ทำลาย
โดยวิธีขายทอดตลาดก่อน การขาย การขายพัสดุของส่วนราชการสามารถกระทำได้ ดังนี้ ให้ดำเนินการขาย โดยวิธีขายทอดตลาดก่อน ถ้าขายทอดตลาดไม่ได้ผล ให้นำวิธีที่กำหนดเกี่ยวกับการซื้อมาใช้โดยอนุโลม การขาย โดยวิธีตกลงราคา การขายพัสดุครั้งหนึ่งซึ่งมีราคาซื้อหรือได้มารวมกันไม่เกิน 100,000 บาท กรณีขายให้แก่ส่วนราชการ/หน่วยงานท้องถิ่น/รัฐวิสาหกิจ/องค์การสถาน สาธารณกุศลตามประมวลรัษฎากร
การแลกเปลี่ยน มีหลักเกณฑ์ ดังนี้ เป็นการแลกเปลี่ยนครุภัณฑ์กับครุภัณฑ์ประเภทและชนิดเดียวกัน ครุภัณฑ์บางชนิดหรือกรณีต้องจ่ายเงินเพิ่ม ต้องขอทำความตกลงกับสำนักงบประมาณก่อน กรณีเป็นครุภัณฑ์ต่างประเทศหรือต่างชนิดกัน ให้ขอทำความตกลงกับสำนักงบประมาณก่อนทุกกรณี การแลกเปลี่ยนวัสดุกับวัสดุประเภทและชนิดเดียวกัน ที่ไม่ต้องจ่ายเงินเพิ่ม หากต้องจ่ายเงินเพิ่ม ให้ขอตกลงกับกระทรวงการคลังก่อน
การโอนพัสดุของส่วนราชการ จะทำได้ก็ต่อเมื่อ 1. เป็นการโอนให้กับ ส่วนราชการ/หน่วยงานตามกฎหมายว่าด้วยระเบียบบริหารราชการส่วนท้องถิ่น/หน่วยงานอื่นซึ่งมีกฎหมายบัญญัติให้มีฐานะเป็นราชการบริหารส่วนท้องถิ่น/รัฐวิสาหกิจ/องค์การสถานสาธารณกุศลตามมาตรา 47(7) แห่งประมวลรัษฎากร 2. เป็นพัสดุที่หมดความจำเป็น หรือ หากใช้ราชการต่อไปจะสิ้นเปลืองค่าใช้จ่ายมาก
การแปรสภาพหรือทำลาย ในกรณีพัสดุของส่วนราชการเกิดการชำรุด หรือเสื่อมสภาพอย่างมากจนไม่สามารถใช้การได้ และไม่อาจจำหน่ายโดยวิธีอื่นใดได้ สามารถจะดำเนินการโดยวิธีแปรสภาพ หรือทำลายตามหลักเกณฑ์ที่ส่วนราชการกำหนดขึ้น 174
การจำหน่ายเป็นสูญ ข้อ 159 หมายถึง การลงจ่ายพัสดุออกจากบัญชีหรือทะเบียนคุมพัสดุ ส่วนราชการจะจำหน่ายเป็นสูญได้ในกรณีใดกรณีหนึ่ง ดังต่อไปนี้ พัสดุสูญไปโดยไม่ปรากฏตัวผู้รับผิด พัสดุสูญไปโดยมีตัวผู้รับผิดแต่ไม่สามารถชดใช้ได้ มีตัวพัสดุอยู่แต่ไม่สามารถ ขาย แลกเปลี่ยน โอน แปรสภาพ หรือ ทำลายได้
กรณีก่อนการตรวจสอบพัสดุประจำปี ข้อ 161 กรณีก่อนการตรวจสอบพัสดุประจำปี กรณีที่พัสดุชำรุด เสื่อมคุณภาพ หรือสูญไป หรือไม่จำเป็นต้องใช้ในราชการต่อไป ก่อนมีการตรวจสอบตามข้อ 155 และได้ดำเนินการตามกฎหมายหรือระเบียบของทางราชการที่เกี่ยวข้อง หรือระเบียบนี้โดยอนุโลม แล้วแต่กรณีเสร็จสิ้นแล้ว ถ้าไม่มีระเบียบอื่นใดกำหนดไว้เป็นการเฉพาะ ให้ดำเนินการตาม ข้อ 157 ข้อ 158 ข้อ 159 ข้อ 160 โดยอนุโลม