การวิเคราะห์ข้อมูล การท่องเที่ยว เพื่อทบทวนยุทธศาสตร์จังหวัด

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การวิเคราะห์ข้อมูล เขตพัฒนาเศรษฐกิจ พิเศษ เพื่อทบทวนยุทธศาสตร์ จังหวัด จังหวัด นราธิวาส 1.
Advertisements

โครงการ : การศึกษาและจัดทำระบบ GIS การพัฒนาลุ่มน้ำกลุ่มจังหวัด ( บางปะกง ปราจีนบุรี นครนายก โตนเลสาป ) กลุ่ม D.
การวิเคราะห์ข้อมูล การท่องเที่ยว เพื่อทบทวน ยุทธศาสตร์จังหวัด จังหวัดบึง กาฬ 1.
1 การวิเคราะห์ข้อมูล เขตพัฒนาเศรษฐกิจ พิเศษนครพนม.
นครศรีธรร มราช “ การ ท่องเที่ยว เชิงอนุรักษ์ และ วัฒนธรรม ” ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย หรือโครงการสำคัญ (Flagship Project) สรุปประเด็นสำคัญต่อ ยุทธศาสตร์ (Strategic.
การประชุมเชิงปฏิบัติการ กลไกการขับเคลื่อนแผนพัฒนากำลังคนรายจังหวัด
การวิเคราะห์ข้อมูลเรื่องข้าว เพื่อการทบทวนประเด็นยุทธศาสตร์
แนวทางดำเนินการจัดทำแผนปฏิรูปองค์การ :
บทบาทอำนาจหน้าที่และความสำคัญของคณะกรรมการหมู่บ้านในการพัฒนาหมู่บ้าน
บทที่ 4 กลยุทธ์ระบบสารสนเทศ
กำหนดทิศทางของสถานศึกษา
การใช้ Social Media เพื่อการสื่อสาร
แผนพัฒนาจังหวัด 4 ปี (พ.ศ.2561 – 2564) ฉบับทบทวน
สื่อดิจิทัล (Digital Media)
ยินดีต้อนรับ สู่ ห้องสืบค้นสารสนเทศ
การเตรียมความพร้อมในการจัดทำงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒
จริยธรรมทางธุรกิจ (Business Ethics)
การจัดทำแผนยุทธศาสตร์ ตามแนวทางของสำนักงาน ก.พ.ร.
ปฏิบัติการที่ 5 การออกรายงาน
การประชุมการบริหารยุทธศาสตร์กรมอนามัย ครั้งที่ 4/2559
ข้อพึงระวังในการปฏิบัติงาน
แนวทางดำเนินการจัดทำแผนปฏิรูปองค์การ :
การเพิ่มขีดสมรรถนะของ สำนักบริหารยุทธศาสตร์กลุ่มจังหวัด (OSM)
สำนักเสริมสร้างความเข้มแข็งชุมชน
การสื่อสารและการใช้ภาษาไทย
การพัฒนาระบบบริหารจัดการ กองทุนพัฒนาบทบาทสตรี จังหวัดบุรีรัมย์ 9 สิงหาคม นางสุนิสา บุญยาทิษฐาน พัฒนาการจังหวัดบุรีรัมย์ 9 สิงหาคม 2560.
โครงการส่งเสริมเกษตรทฤษฎีใหม่ และเกษตรกรรมยั่งยืน ปี 2560
ความต้องการสารสนเทศ (Information need)
SEA Strategic Environmental Assessment E S A
การพัฒนาประเทศไทย ปี พ.ศ. 2559
แนวทางดำเนินการจัดทำแผนปฏิรูปองค์การ :
แนวทางการดำเนินงาน โครงการ กองทุนแม่ของแผ่นดิน
ผู้อำนวยการวิทยาลัยเทคโนโลยีไทย-ไต้หวัน (BDI)
แนวทางดำเนินการจัดทำแผนปฏิรูปองค์การ :
การจัดทำแผนอัตรากำลัง 3 ปี
สัมมนาเชิงปฏิบัติการเกษตรสมัยใหม่ อธิบดีกรมส่งเสริมการเกษตร
กลไกการบริหารงานจังหวัดและกลุ่มจังหวัดแบบบูรณาการ
กรอบแนวทางในการจัดทำงบประมาณ แผนยุทธศาสตร์แบบบูรณาการ
เทคนิคการใช้เครื่องมือสมัยใหม่ (New Media) เพื่อการสื่อสาร
การวิเคราะห์ข้อมูลเรื่องข้าว เพื่อการทบทวนประเด็นยุทธศาสตร์
เพื่อทบทวนยุทธศาสตร์จังหวัด
แนวทางดำเนินการจัดทำแผนปฏิรูปองค์การ :
นโยบายการบริหารจัดการอาชีวศึกษา
รายวิชา IFM4301 การจัดการเครือข่ายทางสังคม 3 (ทฤษฎี2-ปฏิบัติ2-ศึกษาด้วยตนเอง5) หน่วยกิต
จังหวัด พะเยา การวิเคราะห์ข้อมูล ข้าวหอมมะลิปลอดภัย/GAP
การจัดทำแผนพัฒนาจังหวัด
การวิเคราะห์ ข้อมูลขยะ เพื่อทบทวนยุทธศาสตร์จังหวัด
การวิเคราะห์ข้อมูล การท่องเที่ยว เพื่อทบทวนยุทธศาสตร์จังหวัด
การวิเคราะห์ข้อมูล เขตเศรษฐกิจพิเศษ เพื่อทบทวนยุทธศาสตร์จังหวัด
การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตข้าวปลอดภัยและการบริหารจัดการเชิงคุณภาพ
สรุปงาน กศน.อำเภอไพศาลี ประจำเดือน มกราคม 2559
การวิเคราะห์ข้อมูล การท่องเที่ยว เพื่อทบทวนยุทธศาสตร์จังหวัด
ศูนย์วิทยพัฒนา มสธ. นครศรีธรรมราช
การวิเคราะห์ข้อมูล การท่องเที่ยว เพื่อทบทวนยุทธศาสตร์จังหวัด
การประสานงาน การแก้ปัญหาในการทำงาน โดยใช้ไลน์กลุ่ม social media
การพัฒนาเศรษฐกิจฐานรากและประชารัฐ
การวิเคราะห์ข้อมูล การท่องเที่ยว เพื่อทบทวนยุทธศาสตร์จังหวัด
(Rice Analysis) จังหวัดอุทัยธานี การวิเคราะห์ข้อมูลเรื่องข้าว
การจัดการตลาดสำหรับการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ
การวิเคราะห์ข้อมูล เขตเศรษฐกิจพิเศษ เพื่อทบทวนยุทธศาสตร์จังหวัด
- การกำหนดวิสัยทัศน์ ภารกิจ วัตถุประสงค์และเป้าหมาย
เสนอขอรับทุนท้าทายไทยและโครงการวิจัยตอบสนองนโยบาย
คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา
การวิเคราะห์ข้อมูลเรื่องข้าว เพื่อการทบทวนประเด็นยุทธศาสตร์
ผู้ตรวจราชการกรมการพัฒนาชุมชน และคณะ
คำชี้แจง เรื่อง การเก็บข้อมูลประวัติหมู่บ้าน ชุมชน วิถีชุมชน
เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษหนองคาย
สำนักงานทะเบียนเครื่องจักรกลาง
การจัดการเครือข่ายสังคมออนไลน์
เงินนอกงบประมาณ โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากรตามเกณฑ์ประเมินผลการปฏิบัติงาน ด้านบัญชีในระบบ GFMIS (กระทรวงสาธารณสุข) นายธราธิป หนูเจริญ นักวิชาการคลังชำนาญการ.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การวิเคราะห์ข้อมูล การท่องเที่ยว เพื่อทบทวนยุทธศาสตร์จังหวัด จังหวัด แพร่

ขั้นตอนการประชุม ระดมความคิดเห็น STEPs Tasks 1) VC / CSF ปรับ VC และ กำหนด CSF 2) Data Analysis วิเคราะห์แบบ Infographic และ GIS พร้อม สรุปประเด็นสำคัญต่อยุทธศาสตร์ 3) ข้อเสนอแนะนโยบาย หรือ โครงการสำคัญ เสนอโครงการหรือมาตรการจากผลการวิเคราะห์ ในขั้นตอน 3 4) Project Idea เสนอกรอบแนวคิดโครงการสำคัญ

ตัวแบบการจัดทำข้อมูล ด้านการท่องเที่ยว STEP 1 Generic Value Chain การบริการและการท่องเที่ยว การบริหารจัดการ ผลิตภัณฑ์สินค้าและบริการ การตลาด วางยุทธศาสตร์/ แผนการท่องเที่ยว พัฒนาระบบ บริหาร จัดการ การท่องเที่ยว พัฒนา ศักยภาพ มัคคุเทศน์ และบุคลากร พัฒนา ปัจจัยพื้นฐาน ด้านท่องเที่ยว/ ทรัพยากร พัฒนาแหล่ง และ กิจกรรม ท่องเที่ยว พัฒนาธุรกิจ บริการ การท่องเที่ยว พัฒนาการ ตลาดและ ประชาสัมพันธ์ การวางแผนและกำหนดตำแหน่งเชิงยุทธศาสตร์ (Strategic Positioning) การกำหนดนักท่องเที่ยวกลุ่มเป้าหมาย การรวบรวมและจัดทำข้อมูลสารสนเทศเพื่อการท่องเที่ยว การกำหนดขีดความสามารถในการรองรับนักท่องเที่ยว (Carrying Capacity) สร้างความเชื่อมั่นด้านความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน การสร้างการมีส่วนร่วมของชุมชน พัฒนามาตรฐานมัคคุเทศก์ / ผู้นำเที่ยว พัฒนาศักยภาพแรงงานวิชาชีพและบุคลากรด้านการท่องเที่ยว ส่งเสริมการรวมกลุ่มผู้ประกอบการท่องเที่ยว พัฒนาทรัพยากรทางการท่องเที่ยว การจัดการคุณภาพสิ่งแวดล้อมเพื่อการท่องเที่ยวที่ยั่งยืน พัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน ถนน ไฟฟ้า การจัดการปัญหาจากการท่องเที่ยว อาทิ สิ่งปฏิกูล ขยะและมลภาวะ การพัฒนาและปรับปรุงระบบสาธารณูปโภค สร้างสรรค์กิจกรรมท่องเที่ยวรูปแบบใหม่ๆ ให้สอดคล้องกับความสนใจ จัดทำมาตรฐานแหล่งท่องเที่ยว ส่งเสริม/อนุรักษ์/ฟื้นฟู/ปรับปรุง/บูรณะ/พัฒนา แหล่งท่องเที่ยว ยกระดับคุณภาพสิ่งอำนวยความสะดวกในสถานที่ท่องเที่ยว การรับรองมาตรฐานที่พักและโรงแรม พัฒนามาตรฐานธุรกิจบริการที่เกี่ยวเนื่องกับการท่องเที่ยว อาทิ สปา ดำน้ำ สนามกอล์ฟ ร้านอาหาร พัฒนามาตรฐานสินค้าของฝากและของที่ระลึก พัฒนามาตรฐานธุรกิจนำเที่ยว สนับสนุนธุรกิจการจัดประชุมและสัมมนา (MICE) การทำการตลาดกลุ่มนักท่องเที่ยวคุณภาพ ประชาสัมพันธ์สร้างภาพลักษณ์ การตลาดเชิงรุก ผ่านสื่อสมัยใหม่ (Social Network)

ตัวแบบการจัดทำข้อมูล ด้านการท่องเที่ยว STEP 1

จำนวนจังหวัดที่มีข้อมูลเหมือนกัน รายการสถิติทางการที่สำคัญจำเป็น ด้านการท่องเที่ยว รายการสถิติทางการทั้งหมด 3,102 รายการ / 66 จังหวัด รายการสถิติทางการ Common 278 รายการ รายการสถิติทางการที่ตรงกับรายสาขา 41 รายการ / 6 สาขา - การขนส่งและโลจิสติกส์ - การท่องเที่ยวและกีฬา - ทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อม - พลังงาน - ศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรม - อุตสาหกรรม รายการสถิติทางการที่สำคัญจำเป็น 10 รายการแรก ที่ รายการสถิติทางการ จำนวนจังหวัดที่มีข้อมูลเหมือนกัน 1. จำนวนมัคคุเทศก์ท้องถิ่น/ผู้นำเที่ยวที่ได้รับการอบรม/พัฒนาให้มีความรอบรู้เกี่ยวกับการท่องเที่ยวสถานที่ท่องเที่ยวทางธรรมชาติวัฒนธรรมและประเพณี และสามารถถ่ายทอดเป็นภาษาต่างประเทศได้หลายภาษา 49 2. รายได้จากการท่องเที่ยวของจังหวัดที่เพิ่มขึ้น/ในปีปัจจุบันและปีที่ผ่านมา 45 3. จำนวนนักท่องเที่ยวจำแนกตามสัญชาติ เพศ อายุ อาชีพ รายได้ รูปแบบการจัดการเดินทาง พาหนะการเดินทาง สถานที่พัก วัตถุประสงค์การเดินทาง 40 4. มูลค่าการจำหน่ายผลิตภัณฑ์ชุมชน (OTOP) 34 5. จำนวนคดีความเกี่ยวกับนักท่องเที่ยว 27 6. ระยะเวลาการพำนักภายในจังหวัดของกลุ่มนักท่องเที่ยว 24 7. จำนวนการรวมกลุ่มของผู้ประกอบการด้านท่องเที่ยวและธุรกิจที่เกี่ยวข้อง 16 8. จำนวนธุรกิจบริการที่เกี่ยวเนื่องกับการท่องเที่ยวที่ได้รับการสนับสนุนให้ขอรับการตรวจรับรองมาตรฐานเช่นร้านอาหารร้านค้าOTOPเป็นต้น 9. ร้อยละของครัวเรือนที่เข้าถึงน้ำประปา/ไฟฟ้า 14 10 ข้อมูลแหล่งท่องเที่ยวที่สำคัญจำแนกตามประเภท

ตัวแบบการจัดทำข้อมูล ด้านการท่องเที่ยว ตัวอย่าง จังหวัดแพร่ “การท่องเที่ยว เชิงนิเวศและวัฒนธรรม” ผังรายการสถิติทางการ “การท่องเที่ยวเชิงนิเวศและวัฒนธรรม” จังหวัดแพร่ STEP 2

แหล่ง ท่องเที่ยวสำคัญ ข้อมูลพื้นฐาน ด้านการท่องเที่ยวจังหวัดแพร่ ตัวอย่าง จังหวัดแพร่ “การท่องเที่ยว เชิงนิเวศและวัฒนธรรม” STEP 2 แหล่ง ท่องเที่ยวสำคัญ พระธาตุช่อแฮ, วัดพระธาตุช่อแฮ, วัดเก่าในเมืองแพร่, วนอุทยานแพะเมืองผี, อุทยานแห่งชาติดอยผากลอง, อุทยานแห่งชาติแม่ยม, อุทยานแห่งชาติเวียงโกศัย

วิเคราะห์ข้อมูลจากแผนภูมิ ตัวแบบการจัดทำข้อมูล ด้านการท่องเที่ยว ตัวอย่าง จังหวัดแพร่ “การท่องเที่ยว เชิงนิเวศและวัฒนธรรม” วิเคราะห์ข้อมูลจากแผนภูมิ จากแผนภูมิ จะเห็นว่าจำนวนนักท่องเที่ยวในประเทศที่มาท่องเที่ยวในจังหวัดแพร่มีแนวโน้มเพิ่มขึ้น ขณะที่นักท่องเที่ยวชาวต่างชาติที่มาท่องเที่ยวในจังหวัดแพร่เริ่มคงที่ ส่วนค่าใช้จ่ายต่อคนต่อวันของนักท่องเที่ยวเริ่มคงที่เช่นกัน ในขณะที่รายได้จากแหล่งท่องเที่ยวมีแนวโมที่เพิ่มสูงขึ้น แสดงให้เห็นว่า รายได้จากแหล่งท่องเที่ยวส่วนใหญ่อาจจะมาจากนักท่องเที่ยวภายในประเทศมากกว่านักท่องเที่ยวต่างชาติ ในขณะเดียวกันควรส่งเสริมภาคอุตสาหกรรมบริการการท่องเที่ยวและส่งเสริมการท่องเที่ยวให้แก่นักท่องเที่ยวต่างชาติเข้ามาเที่ยวให้มากขึ้น STEP 2

วิเคราะห์ข้อมูลจากแผนภูมิ ตัวแบบการจัดทำข้อมูล ด้านการท่องเที่ยว ตัวอย่าง จังหวัดแพร่ “การท่องเที่ยว เชิงนิเวศและวัฒนธรรม” วิเคราะห์ข้อมูลจากแผนภูมิ ล้านบาท จากแผนภูมิ จะเห็นว่ารายได้จากแหล่งท่องเที่ยวและค่าใช้จ่ายต่อคนต่อวันของนักท่องเที่ยวมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น ขณะที่ระยะเวลาพำนักของนักท่องเที่ยวมีแนวโน้มลดลง แสดงให้เห็นว่า นักท่องเที่ยวมีการใช้จ่ายในการท่องเที่ยวเพิ่มขึ้น ในขณะเดียวกันกลับมีการท่องเที่ยวในจังหวัดลดลง อาจจะเนื่องมาจากปัจจัยหลาย ๆ ด้าน ไม่ว่าจะเป็นเรื่องที่พัก ไม่ใช่จังหวัดเป้าหมายในการเดินทาง และความสะดวกสบายในการใช้ชีวิตอยู่ในจังหวัด เป็นต้น ทำให้การใช้เวลาการท่องเที่ยวในจังหวัดลดน้อยลง STEP 2

วิเคราะห์ข้อมูลจากแผนภูมิ ตัวแบบการจัดทำข้อมูล ด้านการท่องเที่ยว ตัวอย่าง จังหวัดแพร่ “การท่องเที่ยว เชิงนิเวศและวัฒนธรรม” วิเคราะห์ข้อมูลจากแผนภูมิ จากแผนภูมิ จะเห็นว่าจำนวนสินค้า/ผลิตภัณฑ์ของฝากและของที่ระลึกที่เป็นอัตลักษณ์ของจังหวัดแพร่ มีจำนวน 181 ผลิตภัณฑ์ ไม่มีการเปลี่ยนแปลง ตั้งแต่ปี 2552-2556 แต่มูลค่าสินค้าของฝากและของที่ระลึกที่เป็นอัตลักษณ์ของจังหวัดแพร่ มีมูลค่าเพิ่มสูงขึ้นเรื่อย ๆ แสดงให้เห็นว่า การสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับตัวสินค้าและของฝากที่เป็นอัตลักษณ์ของจังหวัดแพร่ ทำให้นักท่องเที่ยวให้ความสนใจในตัวสินค้าและของฝากมากขึ้น ล้านบาท STEP 2

วิเคราะห์ข้อมูลจากแผนภูมิ ตัวแบบการจัดทำข้อมูล ด้านการท่องเที่ยว ตัวอย่าง จังหวัดแพร่ “การท่องเที่ยว เชิงนิเวศและวัฒนธรรม” แผนภูมิแสดงจำนวนผลิตภัณฑ์และจำนวนผู้ผลิตผลิตภัณฑ์ชุมชน (OTOP) วิเคราะห์ข้อมูลจากแผนภูมิ จากแผนภูมิจะเห็นว่า จำนวนผู้ผลิต และจำนวนผลิตภัณฑ์ผลิตภัณฑ์ชุมชน (OTOP) ส่วนมากอยู่ในอำเภอเมืองแพร่ และสัดส่วนผู้ผลิตและผลิตภัณฑ์ในแต่ละอำเภอมีไม่เท่ากัน โดยอำเภอเมืองแพร่มีสัดส่วนผู้ผลิตและผลิตภัณฑ์ที่ค่อนข้างสูงกว่าอำเภออื่น ๆ แสดงให้เห็นว่า ผู้ผลิตในอำเภอเมืองแพร่มีศักยภาพในการผลิตผลิตภัณฑ์ชุมชน มากกว่าผู้ผลิตในอำเภออื่น ๆ จึงควรสนับสนุนและถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตให้กับผู้ผลิตในอำเภออื่น ๆ เพื่อให้มีศักยภาพในการผลิตผลิตภัณฑ์ชุมชนมากขึ้น STEP 2

โครงการสำคัญ / มาตรการ ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย หรือโครงการสำคัญ (Flagship Project) ตัวอย่าง จังหวัดแพร่ “การท่องเที่ยว เชิงนิเวศและวัฒนธรรม” สรุปประเด็นสำคัญต่อยุทธศาสตร์ (Strategic Issues) (การวิเคราะห์ข้อมูล Step 2) โครงการสำคัญ / มาตรการ 1. ควรส่งเสริมภาคอุตสาหกรรมบริการการท่องเที่ยวและส่งเสริมการท่องเที่ยวให้แก่นักท่องเที่ยวต่างชาติเข้ามาเที่ยวให้มากขึ้น 1. โครงการส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพการท่องเที่ยวจังหวัดแพร่ 2. การสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับตัวสินค้าและของฝากที่เป็นอัตลักษณ์ของจังหวัดแพร่ ทำให้นักท่องเที่ยวให้ความสนใจในตัวสินค้าและของฝากมากขึ้น 2. โครงการส่งเสริมและพัฒนาสินค้า OTOP 3. โครงการพัฒนาตลาดสินค้า OTOP 3. ควรสนับสนุนและถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตให้กับผู้ผลิตในอำเภออื่น ๆ เพื่อให้มีศักยภาพในการผลิตผลิตภัณฑ์ชุมชนมากขึ้น STEP 3

กรอบแนวคิดโครงการสำคัญ (Project Idea) ตัวอย่าง จังหวัดแพร่ “การท่องเที่ยว เชิงนิเวศและวัฒนธรรม” 1. โครงการส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพการท่องเที่ยวจังหวัดแพร่ วัตถุประสงค์/ เป้าหมาย 1. เพิ่มจำนวนนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติให้มากขึ้น 2. พัฒนาอุตสาหกรรมการบริการนักท่องเที่ยวแก่มัคคุเทศก์ท้องถิ่น กิจกรรม หรือ แนวทางโครงการ 1. พัฒนาแหล่งท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์ เช่น พิพิธภัณฑ์ ไม้สัก อำเภอเมืองจังหวัดแพร่ 2. สร้าง ligth and sound เมืองแพร่ แห่ระเบิด ณ วัดศรีดอนคำ วัดแสรง วัดแม่ลาน 3. จัด Route การท่องเที่ยวในอำเภอเมืองแพร่ เช่น นั่งสามล้อ ผ่อเมืองเก่า เล่าขาลตำนานเมืองแพร่ 4. โครงการอบรมความรู้มัคคุเทศก์น้อย 5. โครงการค่ายเยาวชนที่ดีต่อการเปิดบ้านรับนักท่องเที่ยว 6. โครงการพัฒนาบุคคลากรด้านการท่องเที่ยวเพื่อตอบสนองความต้องการของชาวต่างชาติ STEP 4

กรอบแนวคิดโครงการสำคัญ (Project Idea) ตัวอย่าง จังหวัดแพร่ “การท่องเที่ยว เชิงนิเวศและวัฒนธรรม” 2. โครงการส่งเสริมและพัฒนาสินค้า OTOP วัตถุประสงค์/ เป้าหมาย 1. เพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์ สินค้า OTOP 2. พัฒนาผลิตภัณฑ์สินค้า OTOP ให้เหมาะแก่การเป็นของที่ระลึก กิจกรรม หรือ แนวทางโครงการ 1. จัดตั้งศูนย์วิจัยและพัฒนาสุราพื้นบ้าน ณ ต.สะเอียบ อ.สอง 2. สร้างโรงงานนำร่องการผลิตสุราที่ได้มาตรฐานสุราพื้นบ้าน ต. สะเอียบ อ. สอง 3. จัดตั้งศูนย์ถ่ายถอดเทคโนโลยีปรับปรุงมาตรฐานผลิตเฟอร์นิเจอร์ไม้สัก อ.สูงเม่น 4. ส่งเสริมการพัฒนาการออกแบบ ผลิตภัณฑ์จากผ้าหม้อห้อม ตำบลทุ้งโฮ้ง อ.เมือง 5. ออกแบบและพัฒนา บรรจุภัณฑ์ ของ สินค้า OTOP STEP 4

กรอบแนวคิดโครงการสำคัญ (Project Idea) ตัวอย่าง จังหวัดแพร่ “การท่องเที่ยว เชิงนิเวศและวัฒนธรรม” 3. โครงการพัฒนาตลาดสินค้า OTOP วัตถุประสงค์/ เป้าหมาย 1. เพิ่มช่องทางการจำหน่ายผลิตภัณฑ์ OTOP กิจกรรม หรือ แนวทางโครงการ 1. จัดงานแสดงสินค้า เช่น จัดงานมหกรรมไม้สัก , จัดงานภูษาล้านนาแพรภัณฑ์ ลุ่มน้ำโขง 2. จัดสร้างช่องทางแบ่งปันประชาสัมพันธ์แหล่งท่องเที่ยว 3. โครงการส่งเสริมการประชาสัมพันธ์ โดย social media เช่น การประกวดทำหนังสั้นท่องเที่ยวเมืองแพร่ในฤดูต่างๆ STEP 4

ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย ด้านการท่องเที่ยว