เอกสารประกอบการสอนรายวิชาเศรษฐศาสตร์อุตสาหกรรม EC 261 3(3-0-6)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
EC451 Lecture 10 Heckscher-Ohlin (4) ดร.วิธาดา อนกูลวรรธกะ.
Advertisements

Specific Factor Model ดร.วิธาดา อนกูลวรรธกะ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์ โดย อ.กุลกนิษฐ์ ใจดี
เศรษฐกิจในชีวิตประจำวัน
สำนักงานเศรษฐกิจการคลัง กระทรวงการคลัง
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นในวิชาเศรษฐศาสตร์
ตลาดปัจจัยการผลิต (Markets for Factor Inputs)
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ (Elasticity of Demand)
Efficiency & Economy DRMC. ทางเลือก INPUTS OUTPUTS Land, Labor, Capital Consumer Goods Defense Goods Investment Items, etc..
บทที่ 8 นโยบายการคลัง(Fiscal Policy)
การบริโภค การออม และการลงทุน
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์
วัตถุประสงค์ในการศึกษาเศรษฐศาสตร์
นโยบายและเป้าหมายในการบริหาร ระบบเศรษฐกิจ
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์
เอกสารเรียนวันที่ 12 กรกฎาคม 2556 การเลือกทำเลที่ตั้งโรงงาน
บทที่ 3 เครดิตและการให้สินเชื่อของธนาคาร CREDIT FROM COMMERCIAL BANK
เอกสารประกอบการนำเสนอเพื่อแนวความคิด โครงการนำร่องการจัดตั้งศูนย์สารสนเทศด้านการค้าการลงทุน สำนักงานพาณิชย์จังหวัดเชียงใหม่ ADS. Survey and Computer :
สำนักงานวิจัยเพื่อการพัฒนา หลักประกันสุขภาพไทย Health Insurance System Research Office Health System Research Institute The Universal Coverage Scheme in.
1 คณะที่ 5 การตรวจราชการแบบบูรณา การ ร่วมกับสำนักนายกรัฐมนตรี
กลยุทธ์การ บริหารงานอุตสาหกรรม (Industrial Management Strategy) สัปดาห์ที่ 1 อาจารย์ชาญฉจิต วรรณนุรักษ์ ภาควิชาการจัดการอุตสาหกรรมคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
การแข่งขันทาง การตลาด และตัวแปรทาง เศรษฐกิจ. การแข่งขันทางการตลาด (Competition) พฤติกรรมของผู้บริโภคไทยได้มีการ เปลี่ยนแปลงอย่างต่อเนื่องมาตั้งแต่ในช่วง.
1 9/25/ ชื่อโครงการ 3 9/25/2016 รายละเอียดผู้ลงทุน ชื่อ : บริษัท คิดแล้วรวย จำกัด ผู้เสนอโครงการ : คุณนวัตกร สุดยอด ( กรรมการบริษัท ) ที่อยู่
ลักษณะเฉพาะของการเงินสหกรณ์
Chapter 6 Entrepreneurship Financing - Innofund
หลักการและวิธีการแก้ปัญหาด้วยกระบวนการทางเทคโนโลยีสารสนเทศ
Financing Social Protections: Fiscal Space Analysis
ธาริษา วัฒนเกส ผู้ว่าการธนาคารแห่งประเทศไทย 23 กุมภาพันธ์ 2550
New Chapter of Investment Promotion
สาธารณรัฐ ประชาธิปไตย ประชาชนลาว The Lao People’s Democratic Republic
เอกสารประกอบการบรรยาย สถาบันสิ่งแวดล้อมไทย อุตสาหกรรม 4
การเงินระหว่างประเทศ
สังคมและการเมือง : Social and Politics
ความยืดหยุ่น ( Elasticity )
Production >> กระบวนการผลิต Distribution >> จัดจำหน่าย
ASEAN Becomes Single Market
Principles of Accounting
ผลการดำเนินงาน ปีงบประมาณ 2560 และ แผนงานและงบประมาณ ปีงบประมาณ 2561
ดุลยภาพผู้ผลิตในตอนที่ไม่มีการค้า (Producer Equilibrium in Autarky)
Principles of Accounting I
ศูนย์ข้อมูลตราสารการเงิน ประชุมคณะทำงานพหุภาคี ครั้งที่ 1
EEC : EASTERN SPECIAL ECONOMIC CORRIDOR อีอีซี : เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก.... กรณีศึกษา : มิติการลงทุนและการจ้างงาน โดย ดร.ธนิต โสรัตน์ รองประธานสภาองค์การนายจ้างผู้ประกอบการค้าและอุตสาหกรรมไทย.
อ.ส่งเสริม วจีทองรัตนา
บทที่ 3 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์และอุปทาน (Elasticity of Demand and Supply) ผศ.ดร.จารุวรรณ ชนม์ธนวัฒน์ SSC 281 เศรษฐศาสตร์ (Economics)
บทที่ 3 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์และอุปทาน (Elasticity of Demand and Supply) ผศ.ดร.จารุวรรณ ชนม์ธนวัฒน์
คู่มือวิชาโดยสังเขป ผศ.ดร.จารุวรรณ ชนม์ธนวัฒน์
การพัฒนาเทคโนโลยีชีวภาพ
การจัดการการเงินการคลังท้องถิ่น
Principles of Accounting I
บทที่ 4 การจัดการสินค้าคงคลัง
INB3202 การจัดการการเงินระหว่างประเทศ
แนวทางการขับเคลื่อน Thailand 4.0 ของรัฐบาล.
บทที่ 5 ทฤษฎีการผลิต (Production Theory)
ทฤษฏีและหลักการบริหารค่าตอบแทน
เนื้อหา บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการเงินธุรกิจ
คณะที่ 2 : การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (ยุทธศาสตร์ด้านบริการเป็นเลิศ)
การเป็นผู้ประกอบการและการสร้างกิจการใหม่
พืชเกษตรอย่างครบวงจรในระดับพื้นที่
บทที่ 5 การวางแผนทางการเงิน ผศ. อรทัย รัตนานนท์ รศ.อรุณรุ่ง วงศ์กังวาน.
บทที่ 1 หลักเบื้องต้นทางเศรษฐศาสตร์
การเงินระหว่างประเทศ
Topic 12 เงิน สถาบันการเงิน นโยบายการเงิน VS การคลังสาธารณะ(Public Finance) รศ.ดร.จารุวรรณ ชนม์ธนวัฒน์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการซื้อขายสินค้า
ข้อเสนอแนวทางการพัฒนาระบบบริหารราชการส่วนภูมิภาค
โดย การอภิปราย “แนวทางการปฏิบัติงานในการพิจารณาอนุญาตฯ (รง.4)”
ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการตัดสินใจในการดำเนินธุรกิจ และ หลักการประกอบธุรกิจสมัยใหม่ สัปดาห์ที่ 3 1.
Topic 13 การค้าและการเงินระหว่างประเทศ
การจัดการงานคลังและงบประมาณ ครั้งที่ 5 อ.บุญวัฒน์ สว่างวงศ์
การเลือกสถานที่ตั้งโรงงาน
การจัดการงานคลังและงบประมาณ อ.บุญวัฒน์ สว่างวงศ์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

เอกสารประกอบการสอนรายวิชาเศรษฐศาสตร์อุตสาหกรรม EC 261 3(3-0-6) บทนำ ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์ อ. รัชฎาภรณ์ พัฒนะ

ปัญหาพื้นฐานทางเศรษฐกิจ หลักเศรษฐศาสตร์เบื้องต้น เศรษฐศาสตร์ คือ? ....วิชาที่ว่าด้วยการศึกษาพฤติกรรมของมนุษย์และสังคม ที่มีความต้องการ ใช้ทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจำกัด ให้เกิดประโยชน์สูงสุด เกิด การขาดแคลน ที่มีไม่สิ้นสุด เกิดการเลือก อุปสงค์ ปัญหาพื้นฐานทางเศรษฐกิจ ระบบเศรษฐกิจ -ระบบเศรษฐกิจแบบคอมมิวนิสต์ -ระบบเศรษฐกิจแบบเสรีนิยม -ระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยม -ระบบเศรษฐกิจแบบสังคมนิยม -ระบบเศรษฐกิจแบบผสม อุปทาน แก้ไข -ผลิตอะไร? -ผลิตอย่างไร? -ผลิตเพื่อใคร? Thailand 1 บทนำ ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์ (วิชาเศรษฐศาสตร์อุตสาหกรรม) ...อ.รัชฎาภรณ์ พัฒนะ

ความต้องการของมนุษย์ ปัญหาพื้นฐานทางเศรษฐกิจ ทรัพยากร ความต้องการของมนุษย์ มีจำกัด มีไม่จำกัด เกิด การขาดแคลน เกิดการเลือก ปัญหาพื้นฐานทางเศรษฐกิจ ระบบเศรษฐกิจ การจัดสรรทรัพยากร 1 บทนำ ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์ (วิชาเศรษฐศาสตร์อุตสาหกรรม) ...อ.รัชฎาภรณ์ พัฒนะ

องค์ประกอบและหน้าที่ของหน่วยเศรษฐกิจ ครัวเรือน ธุรกิจ องค์กรรัฐ สมาชิกมีฐานะเป็นเจ้าของปัจจัยการผลิต, ผู้ผลิต (รายได้) และเป็นผู้บริโภค (รายจ่าย) หน่วยที่ทำหน้าที่นำปัจจัยการผลิต มาผลิตสินค้นและบริการ หน่วยงานของรัฐ/ส่วนราชการที่จัดตั้งขึ้นเพื่อประกอบกิจการต่างๆของรัฐ -ผู้บริโภค -หน่วยธุรกิจอื่น -รัฐ จำหน่าย หน้าที่ -จัดเก็บภาษี -ควบคุมดูแลหน่วยเศรษฐกิจ เป้าหมาย: ความพอใจสูงสุดจากรายได้ (จำกัด) ในการบริโภคสินค้า+บริการ รวมทั้งสวัสดิการที่ดีที่สุด เป้าหมาย: -กำไร -ยอดขาย -ความเติบโตทางธุรกิจ -ชื่อเสียง -ประโยชน์ต่างๆ -ฯลฯ เป้าหมาย: -ความกินดีอยู่ดีของประชาชน -ความมั่นคง -ฯลฯ 1 บทนำ ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์ (วิชาเศรษฐศาสตร์อุตสาหกรรม) ...อ.รัชฎาภรณ์ พัฒนะ

หน้าที่และเป้าหมายของบุคคล ที่อยู่ในหน่วยเศรษฐกิจของระบบเศรษฐกิจ มีหน้าที่เลือกบริโภคสินค้าและบริการเพื่อตอบสนองความต้องการของตน ผู้บริโภค มีหน้าที่รวบรวมปัจจัยการผลิตเพื่อนำมาผลิตสินค้าและบริการ โดยคำนึงถึงต้นทุน และประสิทธิภาพการผลิต เพื่อให้ได้สินค้าและบริการ ที่ตรงตามความต้องการของผู้บริโภค ผู้ผลิต มีหน้าที่นำปัจจัยการผลิต (ที่ดิน, แรงงาน, ทุน, ความสามารถในการประกอบการ) ของตนไปเสนอขายให้แก่ผู้ผลิต เพื่อสร้างรายได้สูงสุดจากปัจจัยการผลิต เจ้าของปัจจัยการผลิต 1 บทนำ ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์ (วิชาเศรษฐศาสตร์อุตสาหกรรม) ...อ.รัชฎาภรณ์ พัฒนะ

กระแสหมุนเวียนเชิงเศรษฐกิจ..1 1 บทนำ ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์ (วิชาเศรษฐศาสตร์อุตสาหกรรม) ...อ.รัชฎาภรณ์ พัฒนะ

กระแสหมุนเวียนเชิงเศรษฐกิจ..2 1 บทนำ ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์ (วิชาเศรษฐศาสตร์อุตสาหกรรม) ...อ.รัชฎาภรณ์ พัฒนะ

ภาคครัวเรือน..1 (Household) หรือ ภาคบริโภค (Consuming Sector) เจ้าของปัจจัยการผลิต ที่ดิน (Land) ค่าเช่า (Rent) แรงงาน (Labour) ค่าจ้าง (Wage + Salary) ทุน (Capital) ดอกเบี้ย (Interest) ผู้ประกอบการ (Entrepreneur) กำไร (Profit) 1 บทนำ ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์ (วิชาเศรษฐศาสตร์อุตสาหกรรม) ...อ.รัชฎาภรณ์ พัฒนะ

ภาคครัวเรือน..2 (Household) ค่าเช่า (Rent) ค่าจ้าง (Wage + Salary) ดอกเบี้ย (Interest) กำไร (Profit) ผลตอบแทน ภาครัฐบาล (Government Sector) การบริโภคอุปโภค (Consumption) สถาบันการเงิน (Financial Institutions) 1 บทนำ ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์ (วิชาเศรษฐศาสตร์อุตสาหกรรม) ...อ.รัชฎาภรณ์ พัฒนะ

ภาคธุรกิจ (Bussiness Sector) หน่วยผลิต (Firms) หรือ ภาคการผลิต (Producing Sector) ซื้อ หรือ เช่า ปัจจัยการผลิต จากภาคครัวเรือน ผลิตสินค้าและบริการ ขาย ภาคครัวเรือน 1 บทนำ ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์ (วิชาเศรษฐศาสตร์อุตสาหกรรม) ...อ.รัชฎาภรณ์ พัฒนะ

ภาครัฐบาล (Government Sector) รายได้ในรูป ภาษี (Tax Revenue) - ภาคครัวเรือน - ภาคธุรกิจ จัดสรรงบประมาณ (Budget) เป็นรายจ่ายของรัฐบาล การซื้อสินค้าและบริการ วัสดุ ครุภัณฑ์ ฯลฯ เพื่อบำรุงและพัฒนาประเทศ จ่ายคืน 1 บทนำ ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์ (วิชาเศรษฐศาสตร์อุตสาหกรรม) ...อ.รัชฎาภรณ์ พัฒนะ

ภาคสถาบันการเงิน (Bussiness Sector) เงินออม (Saving) ดอกเบี้ย ธุรกิจกู้ยืมลงทุน (Investment) 1 บทนำ ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์ (วิชาเศรษฐศาสตร์อุตสาหกรรม) ...อ.รัชฎาภรณ์ พัฒนะ

ภาคต่างประเทศ (Foreign Sector) 1. ภาคครัวเรือน - ใช้อุปโภคบริโภค 2. ภาคธุรกิจ – เพื่อการลงทุน 3. ภาครัฐบาล - ใช้อุปโภคบริโภคงานรัฐ สินค้าและบริการ (Goods & Service) 1. ภาคครัวเรือน – ใช้อุปโภคบริโภค, แรงงาน 2. ภาคธุรกิจ – เพื่อการลงทุน, การค้า 3. ภาครัฐบาล - ใช้อุปโภคบริโภคงานรัฐ นำเข้า (Import) ส่งออก (Export) 1 บทนำ ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์ (วิชาเศรษฐศาสตร์อุตสาหกรรม) ...อ.รัชฎาภรณ์ พัฒนะ

การจัดสรรทรัพยากรในทางเศรษฐศาสตร์ ผู้จัดสรรทรัพยากร คือ รัฐบาล จัดสรรทรัพยากร โดยกลไกราคา โดยจัดลำดับตามความสำคัญและความต้องการของประชาชน ว่าต้องการอะไร เท่าไร จากนั้นนำมาดำเนินการผลิต ไปยังแหล่งที่ต้องการ ผู้บริโภค- ราคาสินค้าสูงขึ้น ผู้บริโภคจะซื้อสินค้าลดลง หรือหันไปบริโภคสินค้าอื่นที่ราคาถูกกว่าแทน ผู้ผลิต- ราคาสินค้าที่สูงขึ้นเป็นสิ่งจูงใจให้ผู้ผลิตทำการผลิตมากขึ้น เพราะได้กำไรจากสินค้าสูงขึ้น ซึ่งความต้องการของผู้บริโภคจะเป็นตัวกำหนดให้ผู้ผลิตจัดสรรทรัพยากรในการผลิตสินค้าชนิดใด ปริมาณเท่าไร จึงจะได้กำไรสูงสุด 1 บทนำ ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์ (วิชาเศรษฐศาสตร์อุตสาหกรรม) ...อ.รัชฎาภรณ์ พัฒนะ

การจัดสรรทรัพยากรไปตามเขตภูมิศาสตร์ การจัดสรรทรัพยากรตามเขตภูมิศาสตร์ ซึ่งประกอบด้วยกิจกรรมทางเศรษฐกิจการเกษตร ได้แก่ การทำไร่ ทำสวน ทำนา เลี้ยงสัตว์ และอุตสาหกรรมการเกษตร แบ่งตามภูมิภาคต่างๆ ได้แก่ ภาคเหนือ- ป่าไม้ ท่องเที่ยว เลี้ยงสัตว์ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ- ทำไร่ทำนา ทำสวน เลี้ยงสัตว์ ยางพารา ภาคตะวันออก- เน้นด้านอุตสาหกรรม และปูลกพืชเศรษฐกิจ ท่องเที่ยว ภาคใต้- ทำเหมืองดีบุก ยางพารา ท่องเที่ยว *อาชีพและรายได้ของแต่ละภาคจึงมีความแตกต่างกันตามเขตเศรษฐกิจของภูมิภาคนั้น ปัจจุบันจัดสรรให้ภูมิภาคที่มีทรัพยากรเกินความต้องการกระจายไปสู่ภูมิภาคที่มีการขาดแคลน เพื่อใช้ทรัพยากรร่วมกันอย่างทั่วถึง 1 บทนำ ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์ (วิชาเศรษฐศาสตร์อุตสาหกรรม) ...อ.รัชฎาภรณ์ พัฒนะ

ไปตามกลุ่มอาชีพและอุตสาหกรรม การจัดสรรทรัพยากร ไปตามกลุ่มอาชีพและอุตสาหกรรม จากเดิมไทยมีสัดส่วนภาคการเกษตรในปริมาณที่สูง แต่ปัจจุบันภาคอุตสาหกรรมมีสัดส่วนที่สูงมากว่าภาคเกษตรกรรม รัฐจึงส่งเสริมให้มีคุณภาพชีวิตทั้งวิชาชีพ และสนับสนุนการลงทุนและการพัฒนาผลิตผล 1 บทนำ ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์ (วิชาเศรษฐศาสตร์อุตสาหกรรม) ...อ.รัชฎาภรณ์ พัฒนะ

การจัดสรรทรัพยากรไปตามอำนาจหน้าที่ เป็นการจัดสรรทรัพยากรตามบทบาทหน้าที่ด้านการบังคับบัญชา ตามลำดับชั้น โดยเป็นไปตามกฎหมาย โดยมีผลตอบแทนตามความรับผิดชอบของลำดับชั้น ซึ่งการประกอบการทางธุรกิจก็ใช้หลักการจ่ายผลตอบแทนตามหน้าที่ความรับผิดชอบ เช่น อธิบดีได้รับค่าตอบแทนสูงกว่าเสมียน ผู้บริหารรับเงินเดือนสูงกว่าพนักงาน เป็นต้น 1 บทนำ ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์ (วิชาเศรษฐศาสตร์อุตสาหกรรม) ...อ.รัชฎาภรณ์ พัฒนะ

ให้แก่เจ้าของปัจจัยการผลิต การจัดสรรทรัพยากร ให้แก่เจ้าของปัจจัยการผลิต เจ้าของปัจจัยการผลิต ที่ดิน (Land) ค่าเช่า (Rent) แรงงาน (Labour) ค่าจ้าง (Wage + Salary) ทุน (Capital) ดอกเบี้ย (Interest) ผู้ประกอบการ (Entrepreneur) กำไร (Profit) 1 บทนำ ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์ (วิชาเศรษฐศาสตร์อุตสาหกรรม) ...อ.รัชฎาภรณ์ พัฒนะ

1. ที่ดิน (Land) หมายถึง ทรัพยากรธรรมชาติทุกประเภทที่อยู่บนดิน ในดินและใต้ดิน 2. แรงงาน (Labour) หมายถึง ทรัพยากรมนุษย์ ที่ใช้แรงงานหรือความคิดในการผลิตสินค้าและบริการ 3. ทุน (Capital) หมายถึง สิ่งที่มนุษย์สร้างขึ้นเพื่อใช้ในการผลิตสินค้าและบริการ 4. ผู้ประกอบการ (Entrepreneur) หมายถึง ผู้รวบรวมปัจจัยการผลิตมาผลิตสินค้าและบริการ โดยใช้ความสามารถในการดำเนินการผลิตอย่างมีประสิทธิภาพ ภายใต้ความเสี่ยง 1 บทนำ ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์ (วิชาเศรษฐศาสตร์อุตสาหกรรม) ...อ.รัชฎาภรณ์ พัฒนะ

อุปสงค์ อุปสงค์ (Demand) ปริมาณความต้องการสินค้า+บริการ ของผู้บริโภค ในช่วงเวลาหนึ่ง ณ ระดับราคา ต่างๆ กัน อุปสงค์ (Demand) ความต้องการ ความพอใจที่จะซื้อ งบประมาณ 1 บทนำ ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์ (วิชาเศรษฐศาสตร์อุตสาหกรรม) ...อ.รัชฎาภรณ์ พัฒนะ

. Q . R . P กฎของอุปสงค์ ราคา (P) ปริมาณความต้องการสินค้า (Q) ราคา (P) *ใช้กับสินค้าปกติ, สินค้าทั่วไป P1 . Q P2 . R P3 D ปริมาณความต้องการสินค้า (Q) Q1 Q2 Q3 1 บทนำ ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์ (วิชาเศรษฐศาสตร์อุตสาหกรรม) ...อ.รัชฎาภรณ์ พัฒนะ

ปัจจัยที่ใช้กำหนดการบริโภค รายได้ของผู้บริโภค ราคาของสินค้าและบริการ ปริมาณเงินหมุนเวียนที่อยู่ในมือ ปริมาณสินค้าที่มีอยู่ในตลาด การคาดคะเนสินค้าและบริการที่มีอยู่ในอนาคต ระบบการค้าและการชำระเงิน ค่านิยม ฤดูกาล ฯลฯ 1 บทนำ ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์ (วิชาเศรษฐศาสตร์อุตสาหกรรม) ...อ.รัชฎาภรณ์ พัฒนะ

ปัจจัยอื่น ที่กำหนดอุปสงค์ ราคาสินค้าชนิดอื่น รายได้ของผู้บริโภค ราคาสินค้าอื่นที่เกี่ยวข้อง รสนิยม ขนาดของประชากร, จำนวนประชากร ฤดูกาล ฯลฯ P P0 D2 D0 D1 Q Q1 Q0 Q2 1 บทนำ ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์ (วิชาเศรษฐศาสตร์อุตสาหกรรม) ...อ.รัชฎาภรณ์ พัฒนะ

พฤติกรรมของผู้ผลิต เป้าหมายของผู้ผลิต ได้แก่ กำไรสูงสุด, ส่วนแบ่งการตลาด, ยอดขาย, ชื่อเสียง ฯลฯ การสรรหาและบริหารจัดการทรัพยากรที่มีคุณภาพ วางแผนการผลิตและควบคุมการผลิต สินค้ามีคุณภาพ ตรงตามความต้องการของผู้บริโภค การผลิต ประสิทธิภาพ สูงสุด 1 บทนำ ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์ (วิชาเศรษฐศาสตร์อุตสาหกรรม) ...อ.รัชฎาภรณ์ พัฒนะ

. A . B อุปทาน (Supply) ราคา (P) ปริมาณความต้องการสินค้า (Q) ปริมาณความต้องการผลิต/เสนอขาย สินค้า+บริการของผู้ผลิต ในช่วงเวลาหนึ่ง ณ ระดับราคาต่างๆ กัน อุปทาน (Supply) ราคา (P) ปริมาณความต้องการสินค้า (Q) กฎของอุปทาน ราคา (P) . A P1 S . B P2 *ใช้กับสินค้าปกติ, สินค้าทั่วไป ปริมาณความต้องการสินค้า (Q) Q2 Q1 1 บทนำ ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์ (วิชาเศรษฐศาสตร์อุตสาหกรรม) ...อ.รัชฎาภรณ์ พัฒนะ

ปัจจัยที่กำหนดอุปทาน P S1 กรรมวิธีการผลิต ราคาปัจจัยการผลิต ราคาสินค้าอื่นที่เกี่ยวข้อง การคาดคะเนสินค้าในอนาคต จำนวนผู้ขาย/ผู้ผลิต ภาษี และเงินช่วยเหลือ S0 S2 P0 Q Q1 Q0 Q2 1 บทนำ ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์ (วิชาเศรษฐศาสตร์อุตสาหกรรม) ...อ.รัชฎาภรณ์ พัฒนะ

ดุลยภาพของอุปสงค์และอุปทาน (หรือดุลยภาพของตลาด) P S อุปทานส่วนเกิน จุดดุลยภาพ P0 อุปสงค์ส่วนเกิน D Q Q0 1 บทนำ ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์ (วิชาเศรษฐศาสตร์อุตสาหกรรม) ...อ.รัชฎาภรณ์ พัฒนะ

ตอบคำถาม ทรัพยากรมีความสำคัญต่ออุตสาหกรรมอย่างไร อธิบายหน้าที่ของผู้บริโภค และหน้าที่ของผู้ผลิต ภาคต่างประเทศมีความสัมพันธ์กับอุตสาหกรรมของไทยอย่างไร อธิบาย “อุปทานส่วนเกิน” จะเป็นอย่างไรเมื่อรัฐแทรกแซง และรัฐไม่แทรกแซง