การสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค (Expanded Program on Immunization)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
แนวทางการบริหารงบบริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ปีงบประมาณ 2558
Advertisements

พัทลุง นายเจษฎา ครรชิตานุรักษ์ -ว่าง- นายวีระยุทธ เมฆินทรางกูร
อัตราบรรจุ ข้าราชการ 2625 พนักงานราชการ 99 ลูกจ้างประจำ 77 รวม 4241 อัตราว่าง จำนวน 1 อัตรา ตำแหน่งนักทรัพยากรบุคคลชำนาญการ มาช่วย ราชการ น. ส. สุริยา.
โรคติดต่อที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน
สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
1 นางสรัลพัชร ประ โมทะกะ โยธาธิการและผังเมือง จังหวัด นายสุชาติ กิมาคม หัวหน้ากลุ่มงานวิชาการ ผังเมือง นายกุลเกียรติ เทพมงคล หัวหน้าฝ่ายปฏิบัติการ นายพสธร.
1 นางสรัลพัชร ประ โมทะกะ โยธาธิการและผังเมือง จังหวัด นายสุชาติ กิมาคม หัวหน้ากลุ่มงานวิชาการ ผังเมือง นายกุลเกียรติ เทพมงคล หัวหน้าฝ่ายปฏิบัติการ หัวหน้ากลุ่มงานวิชาการ.
โครงการกวาดล้างโปลิโอและโรคหัด Polio and Measles Eradication Projects
ปัตตานี นายวิจิตร จำปาสกุล โยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
1. การดำเนินงาน 15 ประเด็น โครงการ ( โครงการเฉลิมพระเกียรติ ) 1.1 โรคคอตีบ - ตัวชี้วัด ความครอบคลุมการได้รับวัคซีนไม่ต่ำกว่า ร้อยละ 85 ในทุกจังหวัด - เป้าหมาย.
อัตราบรรจุ ข้าราชการ 2623 พนักงานราชการ 99 ลูกจ้างประจำ 77 รวม 4239 อัตราว่าง จำนวน 3 อัตรา ( ชำนาญการพิเศษ = 2 ชำนาญการ = 1) มาช่วย ราชการ น. ส. สุริยา.
ตัวชี้วัด หญิงตั้งครรภ์ หญิงหลังคลอด (MCH)
พญ. ปิยนิตย์ ธรรมาภรณ์พิลาศ
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
อัตราความครอบคลุมของการได้รับวัคซีนในเด็กอายุ 1 ปี และโรคติดต่อที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน ประเทศไทย : ปี ที่มา: กลุ่มโรคติดต่อที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน,
การดำเนินงานอนามัยแม่และเด็ก รพ.ป่าติ้ว
ประชุมMCH Board จังหวัดอุตรดิตถ์ ครั้งที่ ๒/๒๕๕๘ วันพฤหัสที่ ๑๘มิถุนายน ๒๕๕๘ ณ ห้องประชุมภูสอยดาว สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอุตรดิตถ์
ของเทศบาลตำบลหนองไผ่ อ.เมือง จ.อุดรธานี
โครเมี่ยม (Cr).
และความปลอดภัยในโรงพยาบาล
โครงการเฉลิมพระเกียรติ ในวโรกาสทรงเจริญ พระชนมายุ ครบ 60 พรรษา สมเด็จพระเทพ รัตนราชสุดา ฯ สยามบรม ราชกุมารี ปี
แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ระบบบัญชี สุขภาพ (1-8) กุมภาพันธ์ 2558 สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดบุรีรัมย์
บทเรียนโปรแกรมเพื่อการทบทวน
วาระที่ สรุปผลการปฏิบัติงาน ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2559
โครงการรณรงค์ให้วัคซีน dT แก่ประชากรกลุ่มอายุ ปี
วาระการประชุม คปสจ. เดือน กันยายน 2560
แนวทางการให้บริการวัคซีน Rota
อสม.นักจัดการสุขภาพตามกลุ่มวัย
วาระประชุมเดือนกันยายน 2559
แนวทางการบริหารจัดการวัคซีน ไข้สมองอักเสบเจอีชนิดเชื้อเป็นอ่อน ฤทธิ์ สายพันธุ์ SA Lived Attenuated Japanese Encephalitis SA
วิชา วิทยาศาสตร์เพื่อคุณภาพชีวิต
การพัฒนาข้อมูล HDC ปีงบประมาณ เมษายน 2559
ตัวชี้วัดที่ 2 : ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย
สรุปแนวทางการดำเนินงานตามกลุ่มวัย
การบริหารจัดการหนี้ค้างชำระ กองทุนพัฒนาบทบาทสตรี
แนวทางบริหารการให้วัคซีน ป้องกันโรคไข้หวัดใหญ่ตามฤดูกาลประจำปี 2558
“การดูแลหญิงหลังคลอด และ ครอบครัวที่ติดเชื้อ เอช ไอ วี”
โครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพ องค์การบริหารส่วนตำบลท่าดินแดง
การคาดประมาณปริมาณการใช้วัคซีน เด็กอายุ 1 ปี (เกิดตั้งแต่ 1 ม.ค. 57)
เป้าหมายจังหวัด TO BE NUMBER ONE
ศูนย์อนามัยที่ 5 ราชบุรี
รพ.สต.สายใยรัก อำเภอสัตหีบ
ให้วัคซีน dT แก่ประชากร
ประเด็น PA แผนงาน พัฒนาคุณภาพชีวิตแม่และเด็ก (Maternal & Child ) ลดมารดาตาย และเด็กต่ำกว่า 1 ปี ได้รับวัคซีนตามเกณฑ์ Target / KPI No : แม่ไม่เสียชีวิตจากการตั้งครรภ์และการคลอด.
ยะลา นายอาคม เหมบุปผกะ นางสาวสาวิตรี ลาภาวัณย์ นายอาแว ผูหาดา
ยะลา นายอาคม เหมบุปผกะ นางสาวสาวิตรี ลาภาวัณย์ นายอาแว ผูหาดา
กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
โรคติดเชื้อไวรัสซิก้า
SMS News Distribute Service
ความก้าวหน้าในการดำเนินงาน Product Champion Cluster วัยรุ่น
แนวทางการดำเนินงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค ปี 2560
ประชุม คปสจ.ประจำเดือนมิถุนายน ๒๕๕๙ MOTTO – กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
อัตราส่วนการตายมารดาไทย
การเตรียมการป้องกันและแก้ปัญหาภัยแล้ง จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
โครงการกวาดล้างโปลิโอและโรคหัด Polio and Measles Eradication Projects
งานโรคติดต่อทั่วไปและโรคอุบัติใหม่ กลุ่มงานควบคุมโรค
มะเร็งปากมดลูก โดย นางจุฑารัตน์ กองธรรม พยาบาลวิชาชีพ รพ.สต.บ้านโนนแต้
ลำปาง นายยรรยง พลสันติกุล สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
การปรับเปลี่ยน การใช้วัคซีนโปลิโอ
โครงการพัฒนารูปแบบการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน : ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง.
แนวทางการให้บริการ วัคซีน DTP-HB-Hib ปีงบประมาณ 2562
โปลิโอสายพันธ์วัคซีนกลายพันธุ์ Circulated Vaccine Derived Poliovirus
ข้อมูล EPI จาก HDC ณ วันที่ 23 กุมภาพันธ์ 2560
ระบบส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่
มารู้จักและมีส่วนร่วมในกิจกรรม CSR ของ สศช. กันเถอะ
ข้อมูลงาน EPI สสจ.อุดรธานี
Scinario 2.
JHCIS สำหรับงาน EPI ตามมาตรฐานใหม่ 1 ตุลาคม 2558
Measles Situation, Thailand 2011 – May 2012
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค (Expanded Program on Immunization) นายบำเพ็ญ เกงขุนทด สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ ๙ นครราชสีมา

การบริหารจัดการวัคซีนในหญิงตั้งครรภ์ และ ในนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑

dT หญิงตั้งครรภ์ครบชุดตามเกณฑ์ สอบถามประวัติการได้รับวัคซีนที่มีส่วนประกอบของเชื้อบาดทะยัก ( DTP-HB/ DTP/ dT /TT ) ประวัติการได้รับวัคซีนที่มีส่วนประกอบของเชื้อบาดทะยัก ( DTP-HB/ DTP/ dT /TT ) จำนวนเข็มและระยะห่างในการให้วัคซีน dT ๑. ยังไม่เคยได้รับวัคซีน / ไม่แน่ใจ / ไม่ทราบ ให้ฉีด ๓ เข็ม ให้เข็มแรกทันทีที่มาฝากครรภ์ เข็ม ๒ ห่างจากเข็มแรกอย่างน้อย ๑ เดือน และเข็มที่ ๓ ห่างจากเข็มที่ ๒ อย่างน้อย ๖ เดือน จากนั้นฉีดกระตุ้น ๑ เข็มทุก ๑๐ ปี ๒. เคยได้รับวัคซีนมา ๑ เข็ม ไม่ว่าจะนานเท่าใด ให้ฉีด ๒ เข็ม ให้เข็ม ๒ ทันทีที่มาฝากครรภ์ ห่างจากเข็มแรกอย่างน้อย ๑ เดือน และเข็มที่ ๓ ห่างจากเข็มที่ ๒ อย่างน้อย ๖ เดือน จากนั้นฉีดกระตุ้น ๑ เข็มทุก ๑๐ ปี ๓. เคยได้รับวัคซีนมา ๒ เข็ม ไม่ว่าจะนานเท่าใด ให้ฉีด ๑ เข็ม ทันทีที่มาฝากครรภ์ โดยเข็มที่ ๓ ห่างจากเข็มที่ ๒ อย่างน้อย ๖ เดือน จากนั้นฉีดกระตุ้น ๑ เข็มทุก ๑๐ ปี ๔. เคยได้รับวัคซีนมา ๓ เข็ม และเข็มสุดท้ายนาน กว่า ๑๐ ปี ให้ฉีด ๑ เข็ม ทันทีที่มาฝากครรภ์ จากนั้นฉีดกระตุ้น ๑ เข็มทุก ๑๐ ปี ๕. เคยได้รับวัคซีนมา ๓ เข็ม และเข็มสุดท้ายน้อย กว่า ๑๐ ปี ไม่ต้องฉีด ในระหว่างตั้งครรภ์นี้ แต่ให้ฉีดกระตุ้น ๑ เข็มทุก ๑๐ ปี ๖. เคยได้รับวัคซีน DTP ครบ ๕ เข็ม และ dT เมื่อเรียนชั้น ป.๖ นานกว่า ๑๐ ปี ให้ฉีด ๑ เข็ม ทันทีที่มาฝากครรภ์ จากนั้นฉีดกระตุ้น ๑ เข็มทุก ๑๐ ปี

   การให้วัคซีนหญิงตั้งครรภ์ การให้วัคซีน ๑ ๑๐ ต.ค. ๕๘ ๗ ธ.ค. ๕๘ ๒ แม่ คนที่ เด็กเกิดวันที่ การให้วัคซีน dT1 / TT1 dT2 / TT2 dT3 / TT3 dT4 / TT4 ๑ ๑๕ ก.ค. ๕๙ ๑๐ ต.ค. ๕๘ ๗ ธ.ค. ๕๘ ๒ ๓ มี.ค. ๕๕ ๑๒ พ.ค. ๕๖ ๓ ๒๐ ก.ค. ๕๙ ๑๐ มิ.ย. ๕๕ ๑๕ ก.ค. ๕๕ ๘ ธ.ค. ๕๕ ๔ ๓ ส.ค. ๕๙ ๒ เม.ย. ๔๐ ๑๐ พ.ค. ๔๐ ๑๓ มิ.ย. ๕๙ ๕ ๙ ส.ค. ๕๙ ๑๒ มี.ค. ๓๘ ๒ เม.ย. ๓๘ ๗ มี.ค. ๕๑ ๖ ๓ ก.ย. ๕๙ ๗ ก.ค. ๓๙ ๒ ก.ย. ๓๙ ๘ มี.ค. ๕๐ ๖ มี.ค. ๕๙  ให้เพิ่มอีก ๑ ครั้ง ห่างจากครั้งที่ ๒ อย่างน้อย ๖ เดือน   เข็ม ๓ ต้องห่างจาก เข็ม ๒ ไม่น้อยกว่า ๖ เดือน    เข็ม ๒ ต้องห่างจาก เข็ม ๑ ไม่น้อยกว่า ๑ เดือน   

จำนวนเข็มและระยะห่างในการให้วัคซีน dT / OPV ประวัติการได้รับวัคซีนที่มีส่วนประกอบของเชื้อคอตีบ บาดทะยัก และ โอพีวี ( DTP-HB /dT /OPV ) จำนวนเข็มและระยะห่างในการให้วัคซีน dT / OPV ๑. เคยได้วัคซีน DTP-HB / dT / OPV ครบ ๕ ครั้ง ไม่ต้องให้วัคซีน เมื่อเข้าเรียนชั้น ป. ๑ ๒.ไม่เคยได้วัคซีน DTP-HB / dT / OPV มาก่อน ให้วัคซีน dT / OPV ๒ ครั้ง เมื่อเข้าเรียนชั้น ป. ๑ ห่างกันอย่างน้อย ๑ เดือน แล้วให้ อีก ๑ ครั้ง เมื่อชั้น ป. ๒ ( ครั้งที่ ๓ ห่างจากครั้งที่ ๒ อย่างน้อย ๖ เดือน ) และให้ IPV ๑ ครั้ง ในชั้น ป. ๑ ๓. ได้วัคซีน DTP-HB / dT / OPV ๑ ครั้ง ให้วัคซีน dT / OPV ๑ ครั้ง เมื่อเข้าเรียนชั้น ป. ๑ แล้วให้ dT / OPV อีก ๑ ครั้ง เมื่อชั้น ป. ๒ ( ครั้งที่ ๓ ห่างจากครั้งที่ ๒ อย่างน้อย ๖ เดือน ) ๔. เคยได้วัคซีน DTP-HB / dT / OPV ๒ , ๓ , ๔ ครั้ง ให้วัคซีน dT / OPV ๑ ครั้ง เมื่อเข้าเรียนชั้น ป. ๑

ประวัติการได้รับวัคซีนที่มีส่วนประกอบของเชื้อหัด ( M / MR / MMR ) การให้วัคซีน MR MMR แก่เด็กนักเรียนชั้น ป. ๑ จะต้องตรวจสอบประวัติการได้รับวัคซีน ที่มีส่วนประกอบของเชื้อหัด ( M / MR / MMR ) ของเด็กในอดีตจากผู้ปกครอง หรือจากสมุดบันทึก ประกอบการตัดสินใจในการให้วัคซีน โดยมีเกณฑ์ดังนี้ ประวัติการได้รับวัคซีนที่มีส่วนประกอบของเชื้อหัด ( M / MR / MMR ) การให้วัคซีน ๑. ไม่เคย / ไม่แน่ใจ / ไม่ทราบ / ได้ ๑ ครั้ง ก่อนอายุ ๙ เดือน ให้ ๑ ครั้ง ๒. ได้ ๑ ครั้ง หลังอายุ ๙ เดือน ให้ ๑ ครั้ง ๓. ได้ ๒ ครั้ง ครั้งแรก ก่อนอายุ ๙ เดือน ครั้งที่ ๒ หลังอายุ ๙ เดือน ให้ ๑ ครั้ง ๔. ได้ ๒ ครั้ง ครั้งแรก หลังอายุ ๙ เดือน ครั้งที่ ๒ ก่อนอายุ ๑๘ เดือน ให้ ๑ ครั้ง ๕. ได้ ๒ ครั้ง ครั้งแรก หลังอายุ ๙ เดือน ครั้งที่ ๒ หลังอายุ ๑๘ เดือน ไม่ต้องให้ ๖. ได้ ๑ ครั้ง อายุ มากกว่า ๔ ปี ไม่ต้องให้

คำถาม. ในการให้บริการวัคซีนแก่เด็กนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ด. ช คำถาม................. ในการให้บริการวัคซีนแก่เด็กนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ด.ช. แป๊ก เคยได้วัคซีน MMR ตอนอายุ 9 เดือนและมีประวัติได้รับ DTP/OPV มา 2 ครั้ง ท่านจะให้วัคซีน MR และ dT/OPV หรือไม่ อย่างไร .............................................................................................................................. ด.ญ.มะลิ อายุ ๖ ปี ๘ เดือน ประวัติการรับวัคซีน เคยได้เฉพาะวัคซีน BCG และ HB เมื่อแรกเกิด วันนี้ท่านจะให้วัคซีน อะไรบ้างกับ ด.ญ.มะลิ และให้อย่างไร ...............................................................................................................................