การค้นหาคำตอบของปัญญาประดิษฐ์ตอนที่ 2

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
INC 551 Artificial Intelligence Lecture 2. Review Environment Action Sense, Perceive Make Decision Agent World Model Deliberative Agent.
Advertisements

File System Example of File System Employee Department
Algorithm to Find Frequent Itemsets
บทที่ 5 การจำลองแบบเชิงวัตถุ Object Modeling
Inductive, Deductive Reasoning ผศ.( พิเศษ ) น. พ. นภดล สุชาติ พ. บ. M.P.H.
INC 551 Artificial Intelligence
INC 551 Artificial Intelligence
Put “the Glass” Down วาง”แก้ว”ลง
Image Processing & Computer Vision
Asst.Prof. Dr.Surasak Mungsing
ให้ประหยัดการใช้หน่วยความจำ (space) ด้วยความรวดเร็ว (time)
Chapter 3 Simple Supervised learning
Shortest-Path Algorithms
บทที่ 6 พจนานุกรมข้อมูล และ คำอธิบายกระบวนการ
Trees Hierarchical Structures. Outlines Definition of trees Modeling by trees Properties of trees Applications – Binary search trees – Prefix codes –
1. การแนะแนวและระบบช่วยเหลือ
อัลกอริทึมและผังงาน อาจารย์สมเกียรติ ช่อเหมือน
นโยบาย และนโยบายการศึกษา
การจัดการและวิเคราะห์ข้อมูล
Knowledge Audit and Analysis
ส่วนประกอบของระบบสนับสนุนการตัดสินใจ : 2. ระบบย่อยในการจัดการตัวแบบ
บทที่ 2 ทักษะพื้นฐานการแก้ปัญหาด้วยการค้นหา
การวัดและประเมินการปฏิบัติ
การวิเคราะห์และออกแบบขั้นตอนวิธี
Stack Sanchai Yeewiyom
Data mining สุขฤทัย มาสาซ้าย.
บทที่ 3 การตัดสินใจ ประเทศไทย - เศรษฐกิจ - การเมือง Google
Graph Lecturer : Kritawan Siriboon, Boontee Kruatrachue Room no. 913
บัญชีเบื้องต้น 1 (Basis Accounting I)
13 October 2007
Graph Lecturer : Kritawan Siriboon, Boontee Kruatrachue Room no. 913
Controlling 1.
“หลักการแก้ปัญหา”.
DEADLOCKS Advanced Operating System Operating System Technology
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้น เกี่ยวกับระบบสารสนเทศ
for Display Antique and Art Object Information
ระเบียบวิธีวิจัยทางการบัญชีบริหาร
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทางการเงิน
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทางการจัดการโลจิสติกส์
การออกแบบส่วนต่อประสานกับผู้ใช้
สวนรุกขชาติและศูนย์วิจัยกีฏวิทยาป่าไม้
“ เผชิญความตายอย่างสงบ ”
ประชุมการจัดสอบ O-NET2560
๓.จัดระบบบริหารและสารสนเทศ
การมีส่วนร่วมในระบบการประกันคุณภาพการศึกษาของบุคลากร
ฉัตรชัย นิติภักดิ์ ตุลาการหัวหน้าคณะศาลปกครองกลาง
การจัดทำแผนอัตรากำลัง 3 ปี
การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
Lecture no. 1: Introduction to Computer and Programming
Object-Oriented Analysis and Design
Activity-Based-Cost Management Systems.
บทที่ 4 การทำงบการเงินรวมหลังวันซื้อหุ้น
ทิศทางการศึกษาเอกชน พ.ศ. 2551
อุทธรณ์,ฎีกา.
แนวทางการดำเนินงาน ส่งเสริมสุขภาพและ อนามัยสิ่งแวดล้อม
การจัดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน O-NET ปีการศึกษา 2559
ชื่อเรื่องวิจัย ชื่อผู้วิจัย
ผลงานตามโครงการพระราชดำริ โครงการ TO BE NUMBER ONE 1
狗隻的訓練 聖士提反女子中學附屬小學 孫晞庭.
Chapter 7 Clustering อาจารย์อนุพงศ์ สุขประเสริฐ
Forces and Laws of Motion
ยุทธศาสตร์ การแปลงยุทธศาสตร์สู่การปฏิบัติ
Warehouse Management Systems
อำเภอวาปีปทุม จังหวัดมหาสารคาม
การวิเคราะห์และออกแบบขั้นตอนวิธี
ระเบียบวิธีวิจัยทางการบัญชีบริหาร
CPU and I/O bursts.
อัลกอริทึม (Algorithm) ???
เงินนอกงบประมาณ โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากรตามเกณฑ์ประเมินผลการปฏิบัติงาน ด้านบัญชีในระบบ GFMIS (กระทรวงสาธารณสุข) นายธราธิป หนูเจริญ นักวิชาการคลังชำนาญการ.
Virtual Memory Why? The need of memory more than the available physical memory. Process 3 Physical Memory Process 2 Process 1 Process 4.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การค้นหาคำตอบของปัญญาประดิษฐ์ตอนที่ 2 เรียนรู้หลักการค้นหาคำตอบอย่างฉลาด ด้วยวิธีการทางปัญญาประดิษฐ์ ภาคที่สอง การค้นหาคำตอบของปัญญาประดิษฐ์ตอนที่ 2 การค้นหาตาบู (Tabu Search) มีน-เอ็นอะแนลิซิส (Mean-end analysis)

การค้นหาตาบู (Tabu Search) ตาบู (Tabu หรือ Taboo) การค้นหาตาบู จะกำหนดเส้นทางต้องห้ามในการค้นหา เพราะเชื่อว่า เส้นทางนั้นอาจไม่นำไปสู่คำตอบ หรือเป็นเส้นทางที่เคยค้นหามาแล้ว การกำหนดเส้นทางต้องห้าม เกิดจากการกระทำผ่านตัวกระทำการหรือหน่วยย่อยของตัวกระทำการ โดยกำหนดให้มีสภาวะเป็น สภาวะต้องห้าม ทำให้เส้นทางที่สร้างขึ้นเป็นเส้นทางต้องห้ามไปด้วย แปลว่า ต้องห้าม

การค้นหาตาบู (Tabu Search) (ต่อ) การค้นหาตาบูมีแนวคิดว่า การค้นหาที่ดีต้องมีการสำรวจแบบตอบสนอง (Responsive Exploration) พร้อมกับการใช้หน่วยความจำปรับตัวได้ (Adaptive Memory) การสำรวจแบบตอบสนอง มีหลักในการสำรวจอยู่ 2 อย่างคือ ความละเอียด ความหลากหลาย หน่วยความจำปรับตัว ถูกสร้างขึ้นมาเพื่อสนับสนุนการสำรวจแบบตอบสนอง โดยการจำสิ่งที่ต้องห้ามไว้

การค้นหาตาบู (Tabu Search) (ต่อ) รูปที่ 1 ปริภูมิคำตอบ (Solution Space)

การค้นหาตาบู (Tabu Search) (ต่อ) รูปที่ 2 การค้นหาตาบูบนปริภูมิคำตอบ

หน่วยความจำปรับตัว หน่วยความจำปรับตัว แบ่งออกเป็น 2 ชนิด หน่วยความจำตามเวลา (Recency-Base Memory) ข้อมูลที่อยู่ในหน่วยความจำจะปรับเปลี่ยนไปตามการค้นหา หน่วยความจำตามความถี่ (Frequency-Base Memory) ใช้เก็บข้อมูลที่พบบ่อยๆในการค้นหา

หน่วยความจำระยะสั้น หน่วยความจำระยะสั้น (Short Term Memory) ทำหน้าที่เป็นหน่วยความจำตามเวลา หน่วยความจำระยะสั้นใช้เก็บคำตอบหรือคุณสมบัติของคำตอบในการค้นหาที่เพิ่งผ่านมา ซึ่งถูกกำหนดให้มีสภาวะเป็นสภาวะต้องห้าม เนื่องจากไม่ต้องการให้เป็นตัวเลือกของการสร้างเส้นทางในการค้นหา

ปัญหาต้นไม้ k กิ่งน้อยสุด ปัญหาต้นไม้ k กิ่งน้อยสุด (minimum k-tree problem) คือการหาต้นไม้จำนวน k กิ่งจากกราฟ ที่ให้ผลรวมของน้ำหนักที่น้อยสุด (กำหนดให้ k = 4)

ปัญหาต้นไม้ k กิ่งน้อยสุด (ต่อ) ตารางที่ 1 การสร้างคำตอบเริ่มต้นโดยใช้อัลกอริทึมตะกราม (Greedy Algorithm) Step Candidates Selection Total Weight 1 (1,2) 2 (1,4), (2,3) (1,4) 26 3 (2,3), (3,4), (4.6), (4,7) (4,7) 34 4 (2,3), (3,4), (4.6), (6,7), (7,8) (6,7) 40

ปัญหาต้นไม้ k กิ่งน้อยสุด (ต่อ) เมื่อได้คำตอบเริ่มต้นของต้นไม้ 4 กิ่งน้อยสุดแล้ว ต่อไปจะเริ่มทำการค้นหาอย่างละเอียดในคำตอบนั้นต่อไป โดยการแทนที่กิ่ง 1 กิ่งในต้นไม้ด้วยกิ่งใหม่ เส้นปะคือกิ่งที่ถูกลบ เส้นทึบหนาคือกิ่งที่เพิ่มมา

การกำหนดคุณสมบัติของการต้องห้าม ในการแทนที่กิ่งไม้ในต้นไม้ ต้องมีการพิจารณาถึงคุณสมบัติเพื่อใช้ในการกำหนดสภาวะต้องห้าม กิ่งเพิ่มเข้า (Added Edge) (กิ่งที่นำมาแทนที่) คือคำตอบใดๆที่จะลบกิ่งนี้จะมีสภาวะเป็นสภาวะต้องห้าม กิ่งลบออก (Dropped Edge) (กิ่งที่ถูกมาแทนที่) คือคำตอบใดๆที่จะเพิ่มกิ่งนี้จะมีสภาวะเป็นสภาวะต้องห้าม ในการแก้ปัญหานี้คือกิ่งที่ถูกแทนที่และกิ่งที่นำมาแทนที่ เมื่อมีการกำหนดคุณสมบัติของการต้องห้ามเรียบร้อยแล้ว ต้องกำหนดระยะเวลาต้องห้ามให้กับคุณสมบัติเหล่านี้ด้วย

การกำหนดระยะเวลาต้องห้าม ระยะเวลาต้องห้าม (Tabu Tenure) ของกิ่งลบออกเท่ากับ 2 หมายถึง ห้ามเพิ่มกิ่งนี้ในต้นไม้เป็นเวลา 2 รอบ ระยะเวลาต้องห้ามของกิ่งเพิ่มเข้าเท่ากับ 1 หมายถึง ห้ามลบกิ่งนี้ในต้นไม้เป็นเวลา 1 รอบ ตารางที่ 2 การสร้างคำตอบเมื่อเวลาผ่านไป 3 รอบ Iteration Tabu-active net tenure Add Drop Weight 1 2 - (4,6) (4,7) 47 (6,8) (6,7) 57 3 (6,8),(4,7) (8,9) (1,2) 63

กระบวนการค้นหาเมื่อเวลาผ่านไป 3 รอบ รูปที่ 3 การใช้หน่วยความจำระยะสั้นของการค้นหาตาบู

เกณฑ์แห่งความหวัง (Aspiration Criteria) เกณฑ์แห่งความหวัง คือเกณฑ์ที่ใช้เปลี่ยนสถานภาพต้องห้าม ของคำตอบใดๆ จากสภาวะต้องห้าม (Tabu Active) ไปเป็นสภาวะไม่ต้องห้าม (Tabu Non-Active) เกณฑ์นี้จะใช้ก็ต่อเมื่อ คำตอบที่อยู่ในสถานภาพต้องห้าม เป็นคำตอบที่ดีที่สุดเท่าที่เคยมีมา (เปลี่ยนสถานะจาก Tabu Active เป็น Tabu Non-Active)

กระบวนการค้นหาเมื่อเวลาผ่านไป 10 รอบ ในการค้นหาตาบูจะกำหนดจำนวนรอบสำหรับการค้นหาไว้ โดยปัญหานี้กำหนดไว้ 10 รอบ

กระบวนการค้นหาเมื่อเวลาผ่านไป 10 รอบ (ต่อ)

หน่วยความจำระยะยาว หน่วยความจำระยะยาว (Long Term Memory) ทำหน้าที่เป็นหน่วยความจำตามความถี่ (แต่ในตัวอย่างนี้ไม่มีการนำความถี่มาพิจารณาสภาวะต้องห้าม) หน่วยความจำระยะยาว ใช้สนับสนุนการค้นหาที่หลากหลายโดยจะหยุดกระบวนการค้นหาจากหน่วยความจำระยะสั้น แล้วเริ่มต้นสร้างจุดเริ่มต้นของการค้นหาใหม่ (คำตอบเริ่มต้น) หน่วยความจำระยะยาวมีหลายรูปแบบ รูปแบบที่หนึ่งที่นิยมใช้คือ การจำเหตุการณ์วิกฤติ (Critical Event Memory)

การจำเหตุการณ์วิกฤติ การจำเหตุการณ์วิกฤติ คือการจำเหตุการณ์สำคัญที่ผ่านมาในการค้นหา โดยนำมาเป็นข้อมูลสำหรับการกำหนดสภาวะต้องห้ามให้กับจุดใหม่ที่จะใช้เป็นจุดเริ่มต้นในการค้นหาครั้งใหม่ การกำหนดเหตุการณ์สำคัญของปัญหาต้นไม้ k กิ่งน้อยสุด จุด (คำตอบ) เริ่มต้นของการค้นหาแต่ละครั้ง จุดที่ให้ค่าต่ำสุดเฉพาะที่ จุดที่มีค่าน้ำหนักน้อยกว่าหรือเท่ากับจุดก่อนหน้าและจุดด้านหลัง รอบที่ 0 รอบที่ 5,6 และ 9

การจำเหตุการณ์วิกฤติ (ต่อ) เหตุการณ์สำคัญของปัญหาต้นไม้ k กิ่งน้อยสุด คือเหตุการณ์รอบที่ 0,5 และ 6 เก็บข้อมูลกิ่งของทั้ง 3 รอบไว้ในหน่วยความจำระยะยาว ซึ่งคือกิ่ง กำหนดสภาวะต้องห้ามให้กับกิ่งที่อยู่ในหน่วยความจำระยะยาว เพื่อป้องกันการสร้างจุดเริ่มต้นไม่ให้มีกิ่งเหมือนกับกิ่งที่เก็บในหน่วยความจำนี้ ปัญหานี้กำหนดระยะเวลาต้องห้ามของหน่วยความจำระยะยาวเท่ากับ 2 รอบ (ป้องกันมากในขั้นตอนต้นๆและป้องกันน้อยในขั้นตอนท้ายของการเริ่มสร้างจุดเริ่มต้นใหม่) ไม่นับรอบที่ 9 เนื่องจากมีค่าน้ำหนักต่ำสุดของการค้นหาที่ผ่านมา (1,2), (1,4), (4,7), (6,7), (6,8), (8,9) และ (6,9)

การใช้หน่วยความจำระยะยาว ตารางที่ 3 กระบวนการหาจุดเริ่มต้นใหม่โดยใช้หน่วยความจำระยะยาว Step Candidates Selection Total Weight 1 (3,5) 6 2 (2,3),(3,4),(3,6),(5,6),(5,9),(5,12) (5,9) 22 3 (2,3),(3,4),(3,6),(5,6),(5,12),(6,9), (8,9),(9,12) (8,9) 29 4 (2,3),(3,4),(3,6),(5,6),(5,12),(6,8), (6,9),(7,8),(8,10),(9,12) (8,10) 38 20

การใช้หน่วยความจำระยะยาว (ต่อ)

การค้นหาจากจุดเริ่มต้นที่จุดใหม่ ตารางที่ 4 กระบวนการค้นหาจากจุดเริ่มต้นที่สร้างขึ้นมาใหม่ Iteration Tabu-active net tenure Add Drop Weight 1 2 - (9,12) (3,5) 41 (10,11) (5,9) 34 3 (10,11), (3,5) (6,8) 4 (6,8), (5,9) (6,7) 38 5 (6,7), (9,12) (4,7) (8,10) 37

การค้นหาจากจุดเริ่มต้นที่จุดใหม่ (ต่อ)

การค้นหาคำตอบของปัญญาประดิษฐ์ตอนที่ 2 เรียนรู้หลักการค้นหาคำตอบอย่างฉลาด ด้วยวิธีการทางปัญญาประดิษฐ์ ภาคที่สอง การค้นหาคำตอบของปัญญาประดิษฐ์ตอนที่ 2 การค้นหาตาบู (Tabu Search) มีน-เอ็นอะแนลิซิส (Means-ends analysis)

มีน-เอ็นอะแนลิซิส (Means-Ends Analysis) การค้นหาคำตอบในปริภูมิสถานะ จะทดลองเลือกตัวกระทำการเพื่อใช้สร้างสถานะลูกให้มีคุณสมบัติตามที่ต้องการ (ขึ้นอยู่กับอัลอริทึมที่ใช้ในการค้นหา) มีน-เอ็นอะแนลิซิส มีความรู้อยู่ในตัวเพื่อใช้เลือกตัวกระทำการ ให้ตรงกับสถานการณ์ในขณะนั้น มีน-เอ็นอะแนลิซิสเป็นเทคนิคหนึ่งของการแก้ปัญหาแบบตัวแก้ปัญหาทั่วไป (General Problem Solver; GPS)

มีน-เอ็นอะแนลิซิส (Means-Ends Analysis) (ต่อ) มีน-เอ็นอะแนลิซิส มีหลักการในการแก้ปัญหาดังนี้ พิจารณาความแตกต่างระหว่างสถานะปัจจุบัน (Current State) และสถานะเป้าหมาย (Goal State) เลือกตัวกระทำการ ที่สามารถลดความแตกต่างๆระหว่างสถานะปัจจุบันและสถานะเป้าหมายให้ลดลง หรือหมดไปได้ ในการเลือกตัวกระทำการไม่จำเป็นที่ตัวกระทำการตัวนั้นจะเปลี่ยนสถานะปัจจุบันไปเป็นสถานะเป้าหมายได้เลย แต่อาจทำให้ความแตกต่างลดลงและนำไปสู่สถานะเป้าหมายได้จากการใช้ตัวกระทำการต่อๆมา

มีน-เอ็นอะแนลิซิส (Means-Ends Analysis) (ต่อ) มีน-เอ็นอะแนลิซิส จะเก็บความรู้อยู่ในส่วนประกอบ 2 ส่วนคือ กฎของตัวกระทำการ ประกอบด้วย เงื่อนไขเริ่มต้น (Precondition) คือ เงื่อนไขการใช้ตัวกระทำการ ผลลัพธ์ (Result) คือ ผลลัทธ์ที่ได้จากการใช้ตัวกระทำการนี้ ตารางแสดงความแตกต่าง (Difference Table) เป็นตารางที่แสดงความแตกต่างของตัวกระทำการแต่ละตัวกับงานที่ตัวกระทำการนั้นสามารถทำได้

ตัวอย่างการแก้ปัญหาด้วยมีน-เอ็นอะแนลิซิส หุ่นยนต์ต้องการย้ายตู้และกล่องใบเล็ก 1 ใบ ซึ่งวางอยู่ด้านบนตู้ โดยให้ย้ายจากจุดหนึ่งไปอีกจุดหนึ่ง และกล่องต้องวางอยู่บนตู้เหมือนเดิม โดยตำแหน่งที่หุ่นอยู่ ณ ปัจจุบันอยู่ห่างจากตู้ Operator Precondition Result PUSH(obj,loc) at(robot,obj)^large(obj)^ clear(obj)^armempty at(obj,loc)^at(robot,loc) CARRY(obj,loc) at(robot,obj)^small(obj) WALK(loc) None at(robot,loc) Pickup(obj) at(robot,obj) holding(obj) Putdown(obj) ~holding(obj) Place(obj1,obj2) at(robot,obj2)^holding(obj1) on(obj1,obj2)

ตัวอย่างการแก้ปัญหาด้วยมีน-เอ็นอะแนลิซิส (ต่อ) ตารางที่ 5 ตารางแสดงความแตกต่าง (Difference Table) Push Carry Walk Pickup Putdown Place Move Object x Move Robot Clear Object Get Object on Object Get arm empty Be holding object

ตัวอย่างการแก้ปัญหาด้วยมีน-เอ็นอะแนลิซิส (ต่อ) หุ่นยนต์ต้องทำอย่างไรบ้างในการทำงานนี้ ? หุ่นยนต์ต้องเลือก Push เพื่อให้ตู้ไปอยู่ยังจุดที่ต้องการ Push มี Precondition อยู่ 4 เงื่อนไข แต่มีอยู่ 2 เงื่อนไขที่หุ่นยนต์ยังทำไม่ได้คือ at(robot,obj) และ clear(obj) ซึ่งถือว่า 2 เงื่อนไขนี้เป็น เป้าหมายย่อย (Subgoals) ที่ต้องทำให้ได้เพื่อลดความแตกต่างระหว่างจุด A และ B A B C D Push Current Goal

ตัวอย่างการแก้ปัญหาด้วยมีน-เอ็นอะแนลิซิส (ต่อ) เลือกตัวกระทำการ Walk เพื่อให้เกิดผลลัพธ์ at(robot,obj) เลือกตัวกระทำการ Pickup และ Putdown เพื่อให้เกิดผลลัพธ์ clear(obj) โดยที่ armempty ด้วย งานต่อไปที่ต้องทำคือลดความแตกต่างระหว่างจุด C และ D โดยเลือกตัวกระทำการ A B C D Push Current Goal Walk Putdown Pickup Carry

ตัวอย่างการแก้ปัญหาด้วยมีน-เอ็นอะแนลิซิส (ต่อ) Carry มี Precondition อยู่ 2 เงื่อนไข แต่มีอยู่ 1 เงื่อนไขที่หุ่นยนต์ยังทำไม่ได้คือ at(robot,obj) ดังนั้นต้องเลือกตัวกระทำการ . เพื่อให้เกิดผลลัพธ์ at(robot,obj) และลดความแตกต่างระหว่างจุด C กับ E A B C D Push Current Goal Walk Putdown Pickup E F Carry Walk

ตัวอย่างการแก้ปัญหาด้วยมีน-เอ็นอะแนลิซิส (ต่อ) การที่จะให้หุ่นยนต์ทำงานสำเร็จ คือการลดความแตกต่างระหว่าง F กับ D โดยการเลือกตัวกระทำการ A B C D Push Current Goal Walk Putdown Pickup Carry E F Walk Place เพื่อวางกล่องบนตู้ A B C D Push Current Goal Walk Putdown Pickup Carry E F Place