บทที่ 7 การเขียนบทรายการวิทยุโทรทัศน์เพื่อการ ประชาสัมพันธ์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ผู้แต่ง : Andy Wyatt พิมพ์ที่ ประเทศอังกฤษ โดย บริษัท Thames&Hudson Ltd.
Advertisements

Chapter VII : การแก้ไขข้อมูล
การใช้งาน vi การเรียกโปรแกรม การทำงานของโปรแกรม vi ชื่อไฟล์
การใช้บริการกูเกิล (Google) 1 การใช้บริการ Gmail 2 การใช้บริการ รูปภาพ บนเว็บ Google 3 การใช้บริการ Google Earth.
ความสำคัญของภาพ กับการผลิตรายการโทรทัศน์
i-Square Training Center
ใบความรู้ที่ 7 เรื่อง การเชื่อมเหตุการณ์ เวลา สถานที่ (Transition)
ศัพท์ทางเทคนิคกับการถ่ายทำและควบคุมกล้อง
Vi ธวัชชัย เอี่ยมไพโรจน์. เรื่องทั่วๆไปของ vi ถ้าเป็น server ที่ใช้ร่วมกันหลายๆคน อย่าง น้อยจะต้องมี vi และ emacs ไว้ให้ใช้ vi commands มีมากมาย แต่ที่ใช้บ่อยมัไม่
Vi ธวัชชัย เอี่ยมไพโรจน์. 2/12 เรื่องทั่วๆไปของ vi ถ้าเป็น server ที่ใช้ร่วมกันหลายๆคน อย่างน้อยจะต้องมี vi และ emacs ไว้ ให้ใช้ vi commands มีมากมาย.
Background / Story Board / Character
ขนาดภาพ.
ความรู้พื้นฐานของระยะภาพ
การเคลื่อนไหวของกล้อง
บทที่8 การเขียน Storyboard.
การถ่ายภาพ นางสาว ภิญญดา ยอดเสน่ห์ สาขา นิเทศศาสตร์
งานในสัปดาห์นี้ ให้นิสิต เขียนบทย่อ (Plot) ของหนังสั้น ที่จะถ่ายทำ ในเรื่องเกี่ยวกับความรัก ส่งเวลา น หลังจากนี้ไม่ รับ.
SolidWorks Week 1: 3D part modeling.
การใช้ โปรแกรม PowerPoint. เปิดโปรแกรม Power Point คลิกที่ปุ่ม Start > เลือก Programs > Microsoft Office > Microsoft Office Power Point.
โปรแกรมนี้ เป็นโปรแกรมที่ โปรแกรมจัดเก็บ เอกสารให้ง่ายต่อการค้นหานำกลับมาใช้แก้ไข ครับ สำหรับใครที่มีเอกสารเยอะๆ และเวลาจะ นำมาใช้ทีนึงแล้วรู้สึกอยากต่อการเข้าถึง.
Power Point ประกอบการบรรยาย แก่ “ประธานกรรมการและเลขานุการ กรรมการสถานศึกษา ตามโครงการส่งเสริมประสิทธิภาพการดำเนินงานของกรรมการสถานศึกษา” วันที่ 19 ธันวาคม.
ประวัติส่วนตัว ชื่อ – สกุล นายศุภเลิศ โพธิชัย ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 4/8 โรงเรียนเบญจมานุสรณ์ ชื่อเล่น เจมส์ วันเกิด วันพฤหัสบดีที่ 25 มกราคม 2544 ที่อยู่
Microsoft Access การใช้งานโปรแกรมระบบจัดการฐานข้อมูล
โปรแกรม Microsoft office word 2010
บทที่ 6 การผลิตสื่อผสมเพื่อการนำเสนอทางด้านวิชาชีพพยาบาล : Lab06
Macromedia Flash 8 สุรีย์ นามบุตร.
บทที่ 6 การผลิตสื่อผสมเพื่อการนำเสนอทางด้านวิชาชีพพยาบาล : Lab06
ความหมายและความสำคัญของสื่อมัลติมีเดีย
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ การป้องกันการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น
การเขียนบทสำหรับสื่อ
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ Lab 07 : Windows Movie Maker Part 2 พท 260 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารทางการท่องเที่ยว อาจารย์อภิพงศ์
บรรยายวิชาการบริหารการคลังภาครัฐ หลักสูตรการเสริมสร้างสมรรถนะด้านการเงินการคลังภาครัฐ ระดับชำนาญการรุ่นที่ 10 วันที่ 2 มิถุนายน 2558 โดย สุดา ดุลยประพันธ์
การถ่ายภาพ อ.จุฑามาศ ถาวร.
บทที่ 2 กระบวนการผลิตรายการวิทยุโทรทัศน์
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ Lab 05 : Microsoft PowerPoint Part 2 ทพ491 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการเกษตร อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ.
บทที่ 7 ระบบสารสนเทศ.
Department of Marketing Bangkok University
มติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 28 มิถุนายน 2548 เห็นชอบให้สำนักงาน กพร
Engineering Graphics II [WEEK6]
การประชุมผู้บริหารสถานศึกษา ครูและบุคลากรทางการศึกษา
งานการข่าว นายสยมภู อภิรัฐวงศ์ นักการข่าวชำนาญการพิเศษ
บทที่ 10 พัลส์เทคนิค
วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
เทคนิคการวิเคราะห์ความเหมาะสมของโครงการ และแนวทางการติดตามประเมินผลสำเร็จของ ชุดโครงการส่งเสริมการมีส่วนร่วมของชุมชนในการคัดแยกขยะ ที่ต้นทาง ชุดที่ ๓ ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น.
การวางแผน (Planning) คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
ข้อเสนอการพัฒนากรมอนามัย โดย คณะทำงานจัดทำข้อเสนอการพัฒนากรมอนามัย โครงการฝึกอบรมนักบริหารรุ่นใหม่ กรมอนามัย รุ่นที่ 1 ปีงบประมาณ 2558.
การเขียนเพื่อการประชาสัมพันธ์
โปสเตอรงานวิจัยระดับบัณฑิตศึกษา ภาควิชาวิศวกรรมโยธา
การติดตามและการประเมินผลโครงการ
มนุษย์กับเศรษฐกิจ.
ในวันที่ 6 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 1๓.00 – น.
ระบบการปลูกพืช และการส่งเสริมอาชีพในพื้นที่ลุ่มต่ำ
รูปแบบและขั้นตอนการเขียนเอกสารประกอบการสอน
The script and Scriptwriting
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาแพร่ เขต 1
พระพุทธศาสนา.
การผลิตสารคดี.
วิชากฎหมายอาญาภาคทั่วไป (177181)
Outline รู้จักกับโปรแกรม Windows Movie Maker การติดตั้งโปรแกรม
แนวทางการดำเนินงาน ส่งเสริมสุขภาพและ อนามัยสิ่งแวดล้อม
Integrated Mathematics
การผลิตผลงานวิดิทัศน์
โปสเตอรงานวิจัยระดับบัณฑิตศึกษา ภาควิชาวิศวกรรมโยธา
บ้านเรียนดี สรรสร้างสื่อดี
เพิ่มเรื่อง (post) ลงเวิร์ดเพรส
CIT2205 โปรแกรมประยุกต์ด้านการจัดการฐานข้อมูล
แนวทางการจัดทำและการขับเคลื่อน แผนปฏิบัติการ สพฐ.
การตัดต่อ EDIT E : Elect : เลือก shot ที่ดีที่สุด
Unit2หลักการตัดต่อและลำดับภาพ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทที่ 7 การเขียนบทรายการวิทยุโทรทัศน์เพื่อการ ประชาสัมพันธ์ บทที่ 7 การเขียนบทรายการวิทยุโทรทัศน์เพื่อการ ประชาสัมพันธ์ หัวข้อเนื้อหาประจำบท แนวคิดเกี่ยวกับสื่อวิทยุโทรทัศน์ รูปแบบรายการวิทยุโทรทัศน์เพื่อการประชาสัมพันธ์ ขอบเขตเนื้อหาของรายการวิทยุโทรทัศน์เพื่อการประชาสัมพันธ์ กระบวนการผลิตรายการโทรทัศน์เพื่อประชาสัมพันธ์ การเขียนบทโทรทัศน์เพื่อการโน้มน้าวใจ หลักการเขียนบทรายการโทรทัศน์เพื่อประชาสัมพันธ์ หลักการเขียนและจัดทำข่าววิทยุโทรทัศน์เพื่อการประชาสัมพันธ์ ศัพท์เทคนิคในการผลิตรายการวิทยุโทรทัศน์

แนวคิดเกี่ยวกับสื่อวิทยุโทรทัศน์ สื่อวิทยุโทรทัศน์ หมายถึง การกระจายเสียงและการแพร่ภาพรายการวิทยุโทรทัศน์ไปสู่ประชาชนผู้รับจำนวนมาก โดยมุ่งส่งสัญญาณไปยังผู้รับสารโดยเฉพาะ เช่น รายการสารคดี รายการข่าว บันเทิง และการศึกษา เป็นต้น นอกจากนี้ยังสามารถใช้ถ่ายทอดสดให้ผู้รับสารได้รับสารทันทีที่เกิดเหตุการณ์

รูปแบบรายการวิทยุโทรทัศน์ 1. รายการข่าวสถานการณ์ปัจจุบัน เพื่อเผยแพร่ลักษณะข่าวให้ผู้ชมได้รู้ว่า ใคร ทำอะไร ที่ไหน เมื่อไหร่ 2. บทโทรทัศน์เพื่อการโน้มน้าวใจ ความยาวไม่เกิน 1 นาที หรือ 60 วินาที 3. รายการสารคดี ความยาวประมาณ 3 นาที ถึง 30 นาที 4. รายการสัมภาษณ์ มักใช้ในหน่วยงานราชการ รัฐวิสาหกิจ หรือเอกชน 5. รายการพิเศษ เพื่อประชาสัมพันธ์องค์กรหรือโอกาสพิเศษโดยเฉพาะ

ขอบเขตเนื้อหาของรายการ ในเชิงการประชาสัมพันธ์ที่มุ่งสร้างเสริมความรู้ และความเข้าใจแก่ประชาชนกลุ่มเป้าหมาย อันก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทัศนคติ ค่านิยม ตลอดจนการกระทำที่พึงประสงค์ รวมทั้งเพื่อเสริมสร้างภาพลักษณ์ที่ดีให้เกิดขึ้นแก่องค์กร

กระบวนการผลิตรายการ 1. ขั้นตอนก่อนการถ่ายทำ (pre – production) เป็นขั้นตอนแรกสำหรับเตรียมการทำงาน การทำความเข้าใจเกี่ยวกับวัตถุประสงค์ของการประชาสัมพันธ์อย่างชัดเจนเพื่อกำหนดประเด็น หรือแก่นของเรื่องราว โดยเฉพาะการกำหนดช่องทางการเผยแพร่ 2. ขั้นถ่ายทำ (production) เป็นขั้นตอนลงมือถ่ายทำตามบทที่กำหนดไว้ เป็นขั้นตอนการปฏิบัติงานเทคนิคต่าง ๆ เช่น การบันทึกภาพ การกำกับรายการ การบันทึกเสียง 3. ขั้นหลังการถ่ายทำ (post-production) ภายหลังจากการถ่ายทำเสร็จแล้ว ขั้นหลังการถ่ายทำเป็นขั้นตอนของการตัดต่อ และบันทึกเสียง หรือสร้างผลพิเศษทางภาพบางอย่างเพิ่มเติม

การเขียนบทวิทยุโทรทัศน์เพื่อการโน้มน้าวใจ “มีจุดมุ่งหมายเพื่อโน้มน้าวใจให้ผู้ชมเกิดความรู้สึกเห็นแก่ประโยชน์ส่วนรวม เกิดทัศนคติคล้อยตาม การให้ข่าวสารเกี่ยวกับหน่วยงาน เป็นการเสริมสร้างภาพลักษณ์เชิงบวก การแก้ไขภาพลักษณ์เชิงลบ หรือเพื่อการรณรงค์เฉพาะกิจเรื่องใดเรื่องหนึ่ง”

หลักการเขียนบทรายการวิทยุโทรทัศน์ การเขียนบทรายการวิทยุโทรทัศน์เพื่อการประชาสัมพันธ์ มุ่งนำเสนอเนื้อหาสาระที่สามารถสร้างภาพลักษณ์ที่ดีให้กับองค์กรและสามารถโน้มน้าวใจให้ผู้รับสารติดตามรายการตั้งแต่เริ่มต้นจนจบ โดยยึดหลักต่อไปนี้ 1. คิดออกมาเป็นภาพ การเขียนบทจะต้องพยายามถ่ายทอดความหมายด้วยภาพเป็นหลักโดยใช้คำพูด เสียง เป็นตัวเสริมเพื่อช่วยสื่อความหมายและความรู้สึก 2. การวางโครงเรื่องที่ดีตั้งแต่การนำเรื่อง การเขียนบท โดยเขียนคำพูดเพื่อการฟัง ใช้ภาษาพูดให้มาก เพื่อสามารถสื่ออารมณ์ได้ คำพูด หรือคำบรรยาย ต้องสัมพันธ์กับภาพ จุดสำคัญคือ ไม่ควรบอกว่าภาพนั้นคืออะไร แต่ควรอธิบาย หรือให้ข้อมูลเพิ่มเติมนอกเหนือจากที่ปรากฏในภาพ 3. รูปแบบรายการที่หลากหลาย โดยเข้าใจพื้นฐานของผู้ชม อาทิ รายการสารคดี อาจใช้รูปแบบการสัมภาษณ์ ดนตรี หรือละคร เพื่อให้ผู้ชมไม่เกิดความเบื่อ 4. เข้าใจวิธีการนำเสนอทางโทรทัศน์

บทรายการวิทยุโทรทัศน์ บทรายการวิทยุโทรทัศน์ประเภทต่าง ๆ โดยทั่วไปจำแนกเป็น 4 ประเภท 1. บทวิทยุโทรทัศน์แบบสมบูรณ์ บอกรายละเอียดของภาพ เสียงและคำพูดทั้งหมดอย่างครบถ้วนชัดเจน เหมาะสำหรับรายการสารคดี ข่าว ละคร 2. บทวิทยุโทรทัศน์แบบกึ่งสมบูรณ์ หรือแบบย่อ บอกเฉพาะประเด็นที่จะพูดถึงตามลำดับภาพ ส่วนคำพูดก็ระบุเฉพาะหัวข้อเรื่องอย่างย่อ ๆ ไม่ละเอียด เหมาะสำหรับรายการที่มีผู้สนทนา หรืออภิปรายร่วมกัน 3. บทวิทยุโทรทัศน์เฉพาะรูปแบบ บอกลำดับรายการและระยะเวลาในแต่ละช่วงนิยมใช้กับรายการประเภทนิตยสาร 4. บทวิทยุโทรทัศน์อย่างคร่าว ๆ บอกเฉพาะประเด็นที่พูดถึงตามลำดับ ไม่มีรายละเอียดเกี่ยวกับภาพ เสียง และเวลา เป็นแบบที่ไม่นิยมใช้แพร่หลาย

หลักการเขียนและจัดทำข่าว การเผยแพร่ข่าววิทยุโทรทัศน์เพื่อการประชาสัมพันธ์ในรูปแบบใหม่ ๆ ก็มักจะกระทำหลังจากกิจกรรมหรือเหตุการณ์นั้น ๆ เกิดขึ้นแล้ว โดยไม่นิยมเผยแพร่ข่าวทางวิทยุโทรทัศน์เป็นการล่วงหน้า แต่จะอาศัยการแจ้งล่วงหน้าทางสื่ออื่น ๆ ทั้งค่าใช้จ่ายยังถูกกว่าด้วยนั่นเองก็คือสื่อหนังสือพิมพ์ โครงสร้างของข่าววิทยุโทรทัศน์เพื่อการประชาสัมพันธ์ 1. ไม่นิยมเขียนวรรคนำ (lead) เพื่อสรุปเรื่องในตอนต้น ยกเว้นข่าวนั้น ๆ มีประเด็นที่ซับซ้อน 2. ยึดหลักการเรียบเรียงโครงสร้างข่าวแบบปีระมิดหัวกลับ 3. นำเสนอประเด็นเกี่ยวกับ 5W และ 1H เพื่อตอบคำถามในใจผู้ชม โดยมีความยาวของเนื้อหาข่าวประชาสัมพันธ์โดยทั่วไปไม่เกิน 1 นาที ด้วยเหตุนี้ การเรียบเรียงเนื้อหาข่าวจึงต้องสั้น กระชับ คล้ายกับข่าววิทยุกระจายเสียง และให้จบภายในเวลาที่กำหนด

ศัพท์เทคนิคในการผลิตรายการโทรทัศน์ สำหรับส่วนแรกคือ ศัพท์ในการสั่งช่างกล้องในการถ่ายทำนั้น กล้องแต่ละตัวจะมีหมายเลขประจำกล้อง และในการสั่งกล้องจะต้องเรียกหมายเลขนั้นนำหน้าคำสั่งเสมอ 1. cue คือ สัญญาณบอกนักแสดงให้เริ่มแสดง 2. cut คือ การสั่งของผู้กำกับเพื่อให้หยุดการบันทึกของช็อตนั้น 3. fade in คือ การสั่งภาพให้ปรากฏบนจอ หรือการนำเสียงเข้าสู่รายการ 4. fade out คือ การสั่งภาพหายไปจากจอ หรือการนำเสียงออกจากรายการ 5. dooly in (out) คือ การเคลื่อนกล้องเข้าหา หรือการเคลื่อนที่กล้องออกจาก บุคคล หรือวัตถุ

ศัพท์เทคนิคในการผลิตรายการโทรทัศน์ ระยะหรือขนาดของภาพ 1. ELS/XLS หรือ extreme long shot คือ ภาพระยะไกลมาก ๆ (เห็นตัวคนลิบ ๆ) 2. LS หรือ long shot คือ ภาพระยะไกล (เห็นทั้งตัวคน) 3. MLS หรือ medium long shot คือ ภาพระยะไกลปานกลาง (ศีรษะ – เข่า) 4. MS หรือ medium shot คือ ภาพระยะปานกลาง (ศีรษะ – เอว) 5. MCU หรือ medium close up คือ ภาพระยะใกล้ปานกลาง (ศีรษะ-กระดุมเสื้อเม็ดที่ 2 จากกระดุมคอ) 6. CU หรือ close up คือ ภาพระยะใกล้ (ศีรษะ – บ่า) 7. ECU หรือ extreme close up คือภาพระยะใกล้ที่สุด (จับภาพเฉพาะส่วนใดส่วนหนึ่งของใบหน้า)

ศัพท์เทคนิคในการผลิตรายการโทรทัศน์ มุมกล้อง 1. มุมสูง ให้ความรู้สึกน่าสงสาร เหงา (กล้องอยู่สูงแล้วกดต่ำลงมา) 2. มุมต่ำ ให้อำนาจ ความยิ่งใหญ่ (กล้องอยู่ต่ำแล้วเงยขึ้นไป) 3. มุม P.O.V. มาจาก point of view คือ มุมกล้องระดับสายตา กล้อง คือ คนดู

ศัพท์เทคนิคในการผลิตรายการโทรทัศน์ เกี่ยวกับการเคลื่อนไหว 1. pan การส่าย เคลื่อนไหวในแนวนอน 2. tilt แนวดิ่ง/ tilt up –tilt Down (ขึ้น-ลง) 3. dooly การเคลื่อนไหวตามตัวแสดง 4. zoom in / up เคลื่อนเข้าใกล้/ ถอยหลังออก

ศัพท์เทคนิคในการผลิตรายการโทรทัศน์ (ต่อ) ส่วนที่สอง คือศัพท์ในการสั่งตัดต่อลำดับภาพ ศัพท์ที่นิยมใช้โดยทั่วไป อาทิ 1. edit การตัดต่อลำดับภาพ 2. insert การแทรกภาพ 3. dissolve การจางซ้อนภาพ 2 ภาพ เพื่อให้เกิดความต่อเนื่อง 4. impose การซ้อนตัวอักษรบนภาพ 5. pack shot ภาพที่มีองค์ประกอบสมบูรณ์มองเห็นรูปลักษณ์ของวัตถุอย่างชัดเจนใน ระยะใกล้ จัดเป็นภาพไฮไลท์