บทที่ 3 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์และอุปทาน (Elasticity of Demand and Supply) ผศ.ดร.จารุวรรณ ชนม์ธนวัฒน์ SSC 281 เศรษฐศาสตร์ (Economics)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Supply-side Effects of Fiscal Policy.
Advertisements

ตลาดน้ำมันโลก: การวิเคราะห์บทบาทของ OPEC (ต่อ)
Specific Factor Model ดร.วิธาดา อนกูลวรรธกะ
คณิตศาสตร์สำหรับการคิดภาระภาษี
เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงในรายได้ของผู้บริโภค
การศึกษาอุปสงค์ต่อเบียร์ในประเทศอังกฤษ
ตลาดปัจจัยการผลิต (Markets for Factor Inputs)
Q1. การที่ Supply เลื่อนระดับดังภาพ เกิดขึ้นเนื่องจากสาเเหตุใดบ้าง ?
อุปสงค์และอุปทาน Demand and Supply.
Chapter 3 การกำหนดราคามุ่งที่ต้นทุน
บทที่ 2 ศักย์ไฟฟ้า พลังงานไฟฟ้าสถิตย์
บรรยาย เศรษฐศาสตร์ขั้นพื้นฐาน
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ (Elasticity of Demand)
บทที่ 2 ความรู้เกี่ยวกับอุปสงค์และอุปทาน
บทที่ 4 ทฤษฎีพฤติกรรมผู้บริโภค (Theory of Consumer Behavior)
ดุลยภาพของตลาด (Market Equilibrium)
บทที่ 8 การกำหนดราคาและผลผลิตในตลาดแข่งขันสมบูรณ์ (Price and Output Determination Under Perfect Competition) ความหมายของตลาด ลักษณะของตลาดแข่งขันสมบูรณ์
บทที่ 3 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์และอุปทาน
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทาน และการกำหนดราคาสินค้า
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์และอุปทาน Elasticity of Demand and Supply
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์และอุปทาน Elasticity of Demand and Supply
อุปสงค์และอุปทาน Demand and Supply.
Tax Instrument: Economic stability
ความยืดหยุ่นอุปสงค์ และอุปทาน อ. ศิวาพร ทรงวิวัฒน์
บทที่ 4 โครงสร้างตลาดและการกำหนดราคา
บทที่ 8 รายรับและกำไรจากการดำเนินธุรกิจ
8 ราคา วัตถุประสงค์ในการกำหนดราคา ปัจจัยที่มีผลต่อการกำหนดราคา
Demand in Health Sector
บทที่ 4 การกำหนดเป็นดุลยภาพของตลาดการเปลี่ยนแปลง ภาวะดุลยภาพ และการแทรกแซงดุลยภาพของตลาด ความหมายของดุลยภาพของตลาด ดุลยภาพ (Equilibrium ) หมายถึง ภาวะสมดุลที่เกิดขึ้นเมื่ออุปสงค์เท่ากับอุปทานโดยจุดดุลยภาพจะแสดงราคาดุลยภาพ.
1 9/25/ ชื่อโครงการ 3 9/25/2016 รายละเอียดผู้ลงทุน ชื่อ : บริษัท คิดแล้วรวย จำกัด ผู้เสนอโครงการ : คุณนวัตกร สุดยอด ( กรรมการบริษัท ) ที่อยู่
Supply and Demand >> chapter: 3 Krugman/Wells Economics ©2009  Worth Publishers.
ดุลยภาพผู้ผลิตในตอนที่ไม่มีการค้า (Producer Equilibrium in Autarky)
การนำเสนอผลการจัดทำแผนและคำของบประมาณ
สถานวิทยาศาสตร์พรีคลินิก
หลักการและวิธีการแก้ปัญหาด้วยกระบวนการทางเทคโนโลยีสารสนเทศ
ตัวแบบสินค้าคงคลัง (Inventory Model)
บทที่ 2 ความรู้เกี่ยวกับอุปสงค์และอุปทาน
การวางแผนกำลังการผลิต
ความยืดหยุ่น ( Elasticity )
การบริหารคลังสินค้า.
บทที่ 2 ความรู้เกี่ยวกับอุปสงค์และอุปทาน ผศ.ดร.จารุวรรณ ชนม์ธนวัฒน์
ดุลยภาพของตลาด (Market Equilibrium)
อ.ส่งเสริม วจีทองรัตนา
บทที่ 3 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์และอุปทาน (Elasticity of Demand and Supply) ผศ.ดร.จารุวรรณ ชนม์ธนวัฒน์
คู่มือวิชาโดยสังเขป ผศ.ดร.จารุวรรณ ชนม์ธนวัฒน์
เอกสารประกอบการสอนรายวิชาเศรษฐศาสตร์อุตสาหกรรม EC 261 3(3-0-6)
ดีมานด์ ซัพพลาย และราคาตลาด (Demand Supply and Market Price)
บทที่ 4 การจัดการสินค้าคงคลัง
1.
แผนการเงินการคลัง (Planfin) ปีงบประมาณ พ.ศ. 2561
การปฐมนิเทศนักศึกษาฝึกงาน โรงเรียนเทคโนโลยีภาคตะวันออก (อี.เทค)
ค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรม,การจัดงาน
ปฏิบัติงานการแสดง อ.ดร.กุสุมา เทพรักษ์.
สิ่งที่ควรพิจารณาด้านการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน
มนุษย์กับเศรษฐกิจ.
ความยืดหยุ่น Elasticity
การจัดการคลังสินค้าและการกระจายสินค้า
การตรวจสอบภาษีน้ำมันและผลิตภัณฑ์น้ำมัน
พอลิเมอร์ (Polymer) พอลิเมอร์ (Polymer) คือ สารประกอบที่มีโมเลกุลขนาดใหญ่ และมีมวลโมเลกุลมากประกอบด้วยหน่วยเล็กๆ ของสารที่อาจจะเหมือนกันหรือต่างกันมาเชื่อมต่อกันด้วยพันธะโคเวเลนต์
บทที่ 7 การกำหนดราคาสินค้าในตลาด
พืชเกษตรอย่างครบวงจรในระดับพื้นที่
บทที่ 5 การวางแผนทางการเงิน ผศ. อรทัย รัตนานนท์ รศ.อรุณรุ่ง วงศ์กังวาน.
การเงินระหว่างประเทศ
บทที่ 4 ทฤษฎีพฤติกรรมผู้บริโภค (Theory of Consumer Behavior)
เศรษฐศาสตร์มหภาคเบื้องต้น
อุปสงค์ อุปทาน ดุลยภาพของตลาด
Topic 12 เงิน สถาบันการเงิน นโยบายการเงิน VS การคลังสาธารณะ(Public Finance) รศ.ดร.จารุวรรณ ชนม์ธนวัฒน์
การจัดทำและการบริหาร งบประมาณรายจ่ายประจำปี นางดรงค์รัตน์ กล้าหาญ
การจัดการงานคลังและงบประมาณ ครั้งที่ 5 อ.บุญวัฒน์ สว่างวงศ์
การจัดการงานคลังและงบประมาณ อ.บุญวัฒน์ สว่างวงศ์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทที่ 3 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์และอุปทาน (Elasticity of Demand and Supply) ผศ.ดร.จารุวรรณ ชนม์ธนวัฒน์ SSC 281 เศรษฐศาสตร์ (Economics)

ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ (Elasticity of Demand) 2 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ (Elasticity of Demand) ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ ต่อราคา (Price Elasticity of Demand) ต่อรายได้ (Income Elasticity of Demand) ต่อราคาสินค้าอื่นที่เกี่ยวข้อง (Cross Elasticity of Demand)

ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ (Elasticity of Demand) 3 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ (Elasticity of Demand) ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคา (Price Elasticity of Demand) : การวัดเปอร์เซ็นต์การเปลี่ยนแปลงของปริมาณซื้อที่มีต่อการเปลี่ยนแปลงของราคาสินค้าชนิดนั้น Price Elasticity Demand (ED) = % change in quantity % change in price

การวัดความยืดหยุ่นของ D & S มี 2 วิธี 4 การวัดความยืดหยุ่นของ D & S มี 2 วิธี 1. Point Elasticity (แบบจุด) : คำนวณจากจุดๆ เดียวบนเส้น Demand หรือ Supply ใช้ในกรณีที่ราคามี การเปลี่ยนแปลงน้อยมาก 2. Arc Elasticity (แบบช่วง) : คำนวณจากจุด 2 จุดบนเส้น Demand หรือ Supply ใช้ในกรณีที่ราคามี การเปลี่ยนแปลงมาก

สูตรในการคำนวณ 1. Point Elasticity = % Q = dQ/q = dQ . P 5 สูตรในการคำนวณ 1. Point Elasticity = % Q = dQ/q = dQ . P 2. Arc Elasticity = % Q = dQ / ((Q1+Q2)/2 ) = dQ . (P1+P2) % P dP/P dP Q % P dP / ((P1+P2)/2 ) dP (Q1+Q2)

ลักษณะของความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคา 6 ลักษณะของความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคา อุปสงค์มีค่าความยืดหยุ่นมาก (Ed > 1) อุปสงค์มีค่าความยืดหยุ่นน้อย (Ed < 1) อุปสงค์มีค่าความยืดหยุ่นเท่ากับ หนึ่ง (Ed = 1) อุปสงค์มีค่าความยืดหยุ่นมากที่สุด (Ed = α) อุปสงค์มีค่าความยืดหยุ่นน้อยที่สุด (Ed = 0)

ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อรายได้ (Income Elasticity Demand) 7 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อรายได้ (Income Elasticity Demand) ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อรายได้ (Ey) : เป็นการวัดเปอร์เซนต์การเปลี่ยนแปลงของปริมาณซื้อที่มีต่อการเปลี่ยนแปลงของรายได้ Ey = % การเปลี่ยนแปลงของปริมาณซื้อ % การเปลี่ยนแปลงของรายได้

ลักษณะความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อรายได้ 8 ลักษณะความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อรายได้ Ey > 0 , สินค้าปกติ (Normal Goods) รูป (ก) Ey < 0 , สินค้าด้อยคุณภาพ (Inferior Goods) รูป (ข) Y D Q รูป ก Y Q D รูป ข

สูตรในการคำนวณ 1. Point Elasticity = % Q = dQ/q = dQ . Y 9 สูตรในการคำนวณ 1. Point Elasticity = % Q = dQ/q = dQ . Y 2. Arc Elasticity = % Q = dQ / ((Q1+Q2)/2) = dQ . (Y1+Y2) % Y dY/Y dY Q % Y dY / ((Y1+Y2)/2) dY (Q1+Q2)

ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ไขว้ 10 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ไขว้ ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ไขว้ (Ec) : วัดเปอร์เซ็นต์การเปลี่ยนแปลงของปริมาณซื้อที่มีต่อเปอร์เซ็นต์การเปลี่ยนแปลงของราคาสินค้าอื่น Ec = % การเปลี่ยนแปลงปริมาณซื้อ % การเปลี่ยนแปลงของราคาสินค้าอื่น

ลักษณะความยืดหยุ่นของอุปสงค์ไขว้ 11 ลักษณะความยืดหยุ่นของอุปสงค์ไขว้ Ec < 0 , กรณีสินค้าสอง ชนิดใช้ประกอบกัน รูป (ก) Ec > 0 , กรณีสินค้าสองชนิดใช้ทดแทนกัน รูป (ข) Pb Qa D รูป (ก) รูป (ข) Qa D Pb

สูตรในการคำนวณ 1. Point Elasticity = % Qa = dQa/Qa = dQa . Pb 12 สูตรในการคำนวณ 1. Point Elasticity = % Qa = dQa/Qa = dQa . Pb 2. Arc Elasticity = % Qa = dQa / ((Qa1+Qa2)/2 ) = dQa . (Pb1+Pb2) % Pb dPb/Pb dPb Qa % Pb dPb / ((Pb1+Pb2)/2) dPb (Qa1+Qa2)

ปัจจัยที่กำหนดความยืดหยุ่นของ Demand 13 ปัจจัยที่กำหนดความยืดหยุ่นของ Demand เป็นสินค้าแพง , ฟุ่มเฟือย มีสินค้าอื่นใช้แทนได้มาก เป็นสินค้าคงทน สินค้าชนิดใดชนิดหนึ่งจะมี Ed มาก เมื่อ เป็นสินค้าจำเป็น เช่น ปัจจัย 4 เป็นสินค้าที่มีราคาน้อย เป็นสินค้าที่หาสินค้าอื่นทดแทนได้ยาก สินค้าชนิดใดชนิดหนึ่งจะมี Ed น้อย เมื่อ

ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ และ รายรับ 14 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ และ รายรับ ↑TR ↓P ↑TR ↑P TR ไม่เปลี่ยนแปลงเมื่อราคาเปลี่ยน Ed > 1 รายรับรวม Total Revenue (TR) : TR = P x Q Ed < 1 Ed = 1

ความยืดหยุ่นของอุปทาน (Elasticity of Supply) 15 ความยืดหยุ่นของอุปทาน (Elasticity of Supply) ความยืดหยุ่นของอุปทาน (Es) : การวัดเปอร์เซนต์การเปลี่ยนแปลงของปริมาณขายที่มีต่อการเปลี่ยนแปลงของราคาขาย Es = % การเปลี่ยนแปลงของปริมาณขาย % การเปลี่ยนแปลงของราคาขาย

♣ ลักษณะความยืดหยุ่นของอุปทาน 16 ♣ ลักษณะความยืดหยุ่นของอุปทาน P Q Es=0 Es<1 Es=1 Es>1 Es=

การแทรกแซงราคาโดยรัฐบาล 17 การแทรกแซงราคาโดยรัฐบาล เป็นมาตรการเพื่อช่วยเหลือผู้บริโภค การกำหนดราคาขั้นสูง (Price Ceiling) เป็นมาตรการเพื่อช่วย เหลือผู้ผลิต การกำหนดราคาขั้นต่ำ (Floor Price)

การกำหนดราคาขั้นสูง (Price Ceiling) 18 การกำหนดราคาขั้นสูง (Price Ceiling) P S E Excess Demand Pe B Pc D Q1 Qe Q2

การแก้ปัญหากรณีเกิดอุปสงค์ส่วนเกิน 19 การแก้ปัญหากรณีเกิดอุปสงค์ส่วนเกิน การจัดสรรปันส่วนสินค้า เช่น การแจกคูปอง

การกำหนดราคาขั้นต่ำ (Floor Price) 20 การกำหนดราคาขั้นต่ำ (Floor Price) การกำหนดราคาขั้นต่ำ หรือการประกันราคา P Pe P1 E B A Q1 Qe Q2 Q Excess Supply

การแก้ปัญหากรณีเกิดอุปทานส่วนเกิน 21 การแก้ปัญหากรณีเกิดอุปทานส่วนเกิน P Pf Pe Qe D S A E Q รัฐจ่ายเงินอุดหนุน Q P Pf Pe Q1 Qe Q2 A B E S รัฐรับซื้อส่วนเกิน

การเก็บภาษีและการผลักภาระภาษี 22 การเก็บภาษีและการผลักภาระภาษี การเก็บภาษีจากผู้ขาย - ภาษีต่อหน่วย (Specific Tax) รูป (ก) - ภาษีคิดเป็นร้อยละของราคา (Ad Valorem Tax) รูป (ข) P Q Q0 Tax Pt P0 S St รูป (ก) Tax P Q Q0 S St รูป (ข)

การเก็บภาษีจากผู้ขายและภาระภาษี 23 การเก็บภาษีจากผู้ขายและภาระภาษี St P P3 Tax S E’ P1 Pe E P2 G D Q Q1 Q0

การเก็บภาษีจากผู้ซื้อ 24 การเก็บภาษีจากผู้ซื้อ การเก็บภาษีจากผู้ซื้อ - ภาษีต่อหน่วย (Specific Tax) รูป (ก) - ภาษีคิดเป็นร้อยละของราคา (Ad Valorem Tax) รูป (ข) Q P P0 Tax D Dt Q1 Q0 Specific Tax รูป (ก) D Dt Tax Q1 Q0 Advalorem Tax P0 P รูป (ข)

การเก็บภาษีจากผู้ซื้อและภาระภาษี 25 การเก็บภาษีจากผู้ซื้อและภาระภาษี P S P1 a E P0 b Pt E’ P3 D Dt Qt Q0 Q