บทที่ 3 กำหนดการเชิงเส้น : การแก้ปัญหาด้วยวิธีซิมเพล็กซ์ (Simplex Method) (ต่อ) Operations Research โดย อ. สุรินทร์ทิพ ศักดิ์ภูวดล.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Quick Review about Probability and
Advertisements

Mathematical Statement of the Problem
CFA Analysis by LISREL 1.คลิก File 2. คลิก Open 3. คลิกเลือก File
การออกแบบการวิจัย(Research Design)
10 อันดับ เลขทะเบียนรถยนต์สวยราคาแพงที่สุดในประเทศไทย
Login เข้าสู่ระบบงานสำหรับเจ้าหน้าที่ 1. เข้าหน้าจอเจ้าหน้าที่ 2. เข้าสู่ระบบงานเจ้าหน้าที่โดยการ loginwww.xxxx.xx/administrator.
บทที่ 2 กำหนดการเชิงเส้น : การแก้ปัญหาด้วยวิธีกราฟ
การวิเคราะห์ข้อมูลสูญหาย และข้อมูลที่มีซ้ำไม่เท่ากัน ด้วย GLM
การควบคุมงานก่อสร้าง ( การทดสอบวัสดุ ). หัวข้อการบรรยาย 1. การเจาะสำรวจชั้นดิน 2. การทดสอบแรงดึงของเหล็ก 3. การทดสอบกำลังอัดของคอนกรีต หมายเหตุ : การบรรยายจะอ้างอิงแบบ.
การเปรียบเทียบ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ระหว่างการสอนแบบร่วมมือ กับแบบทดลอง เรื่อง การทำงานของ หม้อแปลงไฟฟ้า รายวิชา หม้อ แปลงไฟฟ้า นักเรียนระดับปวช. 1 สาขาวิชาไฟฟ้ากำลัง.
การบริหารโครงการโดยวิธีการ เชิงปริมาณ ศึกษาเทคนิคและวิธีการเลือก โครงการ บทบาทของผู้จัดการโครงการ การวางแผนโครงการ การจัดลำดับงาน การจัดสรรเวลาและทรัพยากรต่างๆ.
ผังการบริหารจัดการน้ำ
ขั้นตอนการทำวิจัย และ การเขียนโครงร่างวิจัย รศ.ดร. ธวัชชัย วรพงศธร
การบริหารโครงการด้วย PERT & CPM
Thanapon Thiradathanapattaradecha
การวางแผนกำลังการผลิต
ส่วนประกอบของระบบสนับสนุนการตัดสินใจ : 2. ระบบย่อยในการจัดการตัวแบบ
Flexible Budgeting and
Chapter 5 Oscillator Present by: Thawatchai Thongleam
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ คุณภาพของเครื่องมือวัด
วิธีปฏิบัติทางบัญชี 1. การรับบริจาคเงินสด
ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
บทที่ 3 ตัวแปรและสมมติฐาน.
ภาษีเกี่ยวกับการค้าทองคำ
Vision, Mission, Research Fields & Course Guidelines
Control Chart for Attributes
Executive Presentation
Introduction to Data mining
ตราประจำสถาบันของท่าน (ถ้ามี)
Dr. Luckwirun Chotisiri College of Nursing and Health, ssru
การพิจารณากลุ่มเลข และเอกสาร หลักฐานที่ใช้ประกอบการ ลงทะเบียนในกองทุน
ทบทวน สนามแม่เหล็ก.
ขั้นตอนการทำโครงงานวิจัย
โรคไข้เลือดออก เห็ดพิษ รณรงค์วัคซีนไข้หวัดใหญ่ คลีนิกวัคซีนผู้ใหญ่
ประธานคณะทำงานเตรียมความพร้อมการดำเนินงาน
โครงการฝึกอบรมเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงาน ภายใต้พระราชบัญญัติส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน พ.ศ ระหว่างวันที่ พฤศจิกายน 2560 ณ โรงแรมเจ้าพระยาปาร์ค.
รายงานผลการดำเนินงานประจำปีงบประมาณ 25..
กระบวนการปฏิบัติงานในวงจรรายได้ ประเภทที่ 2 กระบวนการปฏิบัติงานในวงจรรายได้สำหรับการขายสด พนักงานก็จำทำการบันทึกข้อมูลการรับชำระเงินค่าสินค้า โดยในขั้นตอนนี้แบ่งออกได้
การกำหนดและการใช้คุณลักษณะเฉพาะสิ่งอุปกรณ์ หลักสูตร นายทหารฝ่ายการส่งกำลังบำรุง (ฝอ.๔) ณ รร.กบ.ทบ. ๕ มิ.ย. ๖๐.
ข้อบังคับคณะกรรมการการนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ว่าด้วยหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการประกอบกิจการในนิคมอุตสาหกรรม (ฉบับที่ 4) พ.ศ ประกาศในราชกิจจานุเบกษา.
การประเมินส่วนราชการ
คลินิกโรคจากการทำงาน
การวิจัยพัฒนา การวิจัยปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม และการวิจัยเชิงผสานวิธี
บทที่ 4 ตัวแปรและสมมติฐานการวิจัย
จรรยาบรรณ ของ ผู้สอบบัญชีสหกรณ์.
บทที่ 7 ตัวแปรและการจัดการข้อมูล
บทที่ 2 แนวคิดทางด้านต้นทุน ชนิดต้นทุน
การพยากรณ์ ญาลดา พรประเสริฐ คณะวิทยาการจัดการ
HAND BAG 1 HM-01034B 42x31x16 น้ำตาล HM x36x6 แทน HL-01043B
กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น
ระบบจำนวนจริง ข้อสอบ O-net
โรคทางพันธุกรรม คือ โรคที่เกิดจากความผิดปกติของยีนหรือของโครโมโซมโครโมโซม  ตั้งแต่แรก เกิดหรือตั้งแต่ปฏิสนธิ หรืออาจเกิดการผิดปกติได้ในภายหลัง ทำให้มีผลเกิดภาวะผิดปกติทางร่างกาย.
ทีมสำรวจอวกาศ ทีมสำรวจอวกาศ: ภารกิจ! แผนการจัดการเรียนรู้ 1: ภารกิจ 1.
Two-phase Method (เทคนิค 2 ระยะ)
วัตถุประสงค์ หลักการบัญชีทางด้านผู้รับฝากขาย
“แนวทางการจัดสรรงบประมาณและ การตรวจสอบประเภทเงิน”
บทที่ 2 การเริ่มต้นกิจการใหม่และการซื้อกิจการ
เทคนิคการตรวจสอบกิจการ
จุดที่ควรปรับปรุง SR 1 และ SR 2.
การลงทะเบียนทางหลวงท้องถิ่น
ผังทางเดินเอกสาร – ระบบส่งคืนสินค้า
การนำเสนอผลงานการวิจัยครั้งที่ ๘
บทที่ 3 การโปรแกรมเชิงเส้น (Linear Programming)
บทที่ 10 รายงานการเงินสำหรับกิจการที่ไม่หวังผลกำไร
อ.พรพนา ปัญญาสุข วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่ ผู้วิจัย
เงินสดและการควบคุมเงินสด
กำหนดการเชิงเส้น : การแก้ปัญหาด้วยวิธีกราฟ
การสร้างข้อสอบแบบเลือกตอบ
การประชุมคณะทำงานการจัดการพลังงาน อาคาร บก. ทท
รูปภาพประกอบเกี่ยวกับ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทที่ 3 กำหนดการเชิงเส้น : การแก้ปัญหาด้วยวิธีซิมเพล็กซ์ (Simplex Method) (ต่อ) Operations Research โดย อ. สุรินทร์ทิพ ศักดิ์ภูวดล

การแก้ปัญหากรณี หาค่าต่ำสุด แนวทางที่ 1 การดำเนินการเหมือนวิธีหาค่าสูงสุด แต่พยายามหาตัวแปรเปลี่ยนที่ทำให้ค่าสมการเป้าหมายลดลงเร็วที่สุด การพิจารณาค่าต่ำสุดคือ ดูว่าสัมประสิทธิ์ C1,C2,C3 ในตารางว่ามีค่าเป็น ลบ และ 0 หมดรึยัง ถ้ายังมีค่าบวกอยู่เราก็ดำเนินการจนกว่าจะได้ค่าต่ำสุด

จงหาค่าต่ำสุดของ Z = -3X1-2X2+5X3 ข้อจำกัด X1+2X2+X3 <=430 3X1 +2X3 <= 450 X1+4X2 <= 420 X1,X2,X3 >= 0 1) รูปแบบสมการขยายคือ Z+3X1+2X2-5X3 = 0 X1+2X2+X3 + X4 = 430 3X1 +2X3 + X5 = 450 X1+4X2 + X6 = 420

ตารางผลลัพธ์เบื้องต้น ตัวแปรมูลฐาน Z X1 X2 X3 X4 X5 X6 b อัตราส่วน 1 3 2 -5 0 0 0 X4 X5 X6 1 2 1 3 0 2 1 4 0 1 0 0 0 1 0 0 0 1 430 450 420 430/1 450/3 *** 420/1 2) ให้ X1, X2, X3 = 0, Z=0 , X4 = 430, X5=450, X6=420 3) สัมประสิทธิ์จากสมการเป้าหมายยังเป็น + 4) ตัวแปรเพิ่ม (ตัวแปรเข้า) เลือกค่า X1 หรือ X2 หรือ X3 ที่เป็นค่า + มากที่สุด ดังนั้นตัวแปรเข้าคือ X1 ตัวแปรลด (ตัวแปรออก) เลือกอัตราส่วนที่น้อยที่สุดคือ 450/3 ดังนั้นตัวแปรออกคือ X5 สัมประสิทธิ์ของจุดหมุนคือ 3

ตารางผลลัพธ์รอบที่ 1 ตัวแปรมูลฐาน Z X1 X2 X3 X4 X5 X6 b อัตราส่วน 1 0 2 -7 0 -1 0 -450 X4 X1 X6 0 2 1/3 1 0 2/3 0 4 -2/3 1 -1/3 0 0 1/3 0 0 -1/3 1 280 150 270 280/2 270/4*** 3) สัมประสิทธิ์จากสมการเป้าหมายยังเป็น + ยังต้องดำเนินการต่อไป 4) ตัวแปรเพิ่ม (ตัวแปรเข้า) เลือกค่า X2ที่เป็นค่า + มากที่สุด ดังนั้นตัวแปรเข้าคือ X2 ตัวแปรลด (ตัวแปรออก) เลือกอัตราส่วนที่น้อยที่สุดคือ 270/4 ดังนั้นตัวแปรออกคือ X6 สัมประสิทธิ์ของจุดหมุนคือ 4

ตารางผลลัพธ์รอบที่ 2 ตัวแปรมูลฐาน Z X1 X2 X3 X4 X5 X6 b 1 0 0 -20/3 0 0 -20/3 0 -5/6 -1/2 -585 X4 X1 X2 0 0 2/3 1 0 2/3 0 1 -1/6 1 -1/6 -1/2 0 1/3 0 0 -1/12 1/4 145 150 67.5 ผลลัพธ์คือ X1 = 150, X2=67.5, X3=0, X4 = 145, X5=0, X6=0 และค่าต่ำสุดของ Z คือ = -585 จากตาราง ค่าสัมประสิทธิ์ของตัวแปรในสมการเป้าหมายในตารางเป็น 0 และ – ผลลัพธ์ที่ได้คือคำตอบที่ต้องการ

Big-M Method กรณี การใช้วิธี Simplex ธรรมดาไม่สามารถหาผลลัพธ์ได้ จำเป็นที่จะต้องใช้วิธีอื่นเช่น Big-M Method หรือ Two-phase Method ขั้นตอนของ Big-M Method มีดังนี้ ขั้นที่ 1 เขียนรูปแบบปัญหาเดิมให้อยู่ในรูปแบบมาตรฐาน คือ เขียนข้อจำกัดให้อยู่ในรูปสมการที่สมมูลกัน ขั้นที่ 2 เติมตัวแปรเทียม (R) เข้าทางซ้ายของสมการที่ได้จากข้อจำกัดเดิม ซึ่งอยู่ในรูป >= หรือ = , และ R >= 0

ขั้นที่ 3 กำหนดค่า M ที่เป็นบวก และมีค่ามากๆให้เป็นสัมประสิทธิ์ของ R ในสมการเป้าหมาย ขั้นที่ 4 ให้ตัวแปรเทียม(R) เป็นคำตอบมูลฐานเริ่มต้นที่เป็นไปได้และในสมการเป้าหมายมีตัวแปรเทียมอยู่ ต้องทำสัมประสิทธิ์ของ R ในสมการเป้าหมาย 0 แล้วจึงสร้างตาราง Simplex เริ่มต้น

ขั้นที่ 5 พิจารณาตัวแปรเข้า และตัวแปรออก เพื่อปรับปรุงค่าของตัวแปรให้ได้ผลตามเป้าหมาย โดยใช้หลักการ Simplex

ตัวแปรเพิ่มใน Simplex Method รูปสมการหรืออสมการ ตัวแปรเพิ่ม <= +S >= -S+R = +R S = slack variable (ตัวแปรขาด) R = artificial variable (ตัวแปรเทียม)

หลักการหาคำตอบ ในการแก้ปัญหากำหนดการเชิงเส้นที่อาศัยตัวแปรเทียม (Artificial Variables :R) เป็นคำตอบเริ่มต้นนั้น ถ้าปัญหานั้นมีคำตอบ ค่าตัวแปรเทียม(R)ในตารางสุดท้ายของ Simplex จะเป็น 0 เสมอ และถ้าค่าตัวแปรเทียม(R)ไม่เป็น 0 แสดงว่าปัญหานั้นไม่มีคำตอบ เพราะข้อจำกัดบางข้อจำกัดไม่เป็นจริง การหาค่าสูงสุด(Maximize) จะได้คำตอบที่ดีที่สุดเมื่อ สัมประสิทธิ์ตัวแปรเปลี่ยน (Decision variable) และตัวแปรขาด(slack variable) จากสมการเป้าหมาย จะต้องมีค่าเป็น บวก หรือ 0 การหาค่าต่ำสุด(Minimize) จะได้คำตอบที่ดีที่สุดเมื่อ สัมประสิทธิ์ตัวแปรเปลี่ยน (Decision variable) และตัวแปรขาด(slack variable) จากสมการเป้าหมาย จะต้องมีค่าเป็น ลบ หรือ 0 สำหรับตัวแปรเทียมเมื่อออกจากการเป็นตัวแปรมูลฐานแล้ว จะไม่มีการพิจารณาเข้าเป็นตัวแปรมูลฐานอีก

จงหาค่าสูงสุดของ Z= 3X1 +5X2

ขั้นที่ 1 เขียนสมการให้อยู่ในรูปแบบมาตรฐาน สมการขยาย Z- 3X1 - 5X2 = 0 X1 +S1 = 4 2X2 +S2 = 12 3X1 + 2X2 = 18 X1,X2 >=0, S1,S2>=0 ขั้นที่ 2 ให้ R >= 0 บวกเข้าทางซ้ายของสมการข้อจำกัด จะได้ 3X1 + 2X2 + R = 18

ขั้นที่ 3 ถ้าสมการเป้าหมายต้องการค่าสูงสุด จะกำหนด (+M) เท่าของ R ในทางซ้ายของสมการเป้าหมาย เปลี่ยนสมการเป้าหมายการหาค่าสูงสุดของของ Z- 3X1 -5X2= 0 เป็น Z- 3X1 -5X2 + MR =0 เมื่อ M เป็นค่าบวกมากๆ ดังนั้นค่าสูงสุดของ Z จะมีได้ก็ต่อเมื่อ R=0 จะได้ สมการขยาย Z- 3X1 -5X2 +MR = 0 X1 +S1 = 4 2X2 +S2 = 12 3X1 + 2X2 +R = 18 X1,X2 >=0, S1,S2>=0, R>=0

ขั้นที่ 4 คำตอบมูลฐานเริ่มต้นที่เป็นไปได้คือ (X1,X2,S1,S2,R)=(0,0,4,12,18) แทนค่า R= 18-3X1-2X2 ในสมการเป้าหมาย จะได้ Z- 3X1-5X2+M(18-3X1-2X2) = 0 Z- 3X1-5X2+18M-3MX1-2MX2 = 0 Z-(3M+3)X1-(2M+5)X2 = -18M ดังนั้น สมการขยาย Z-(3M+3)X1-(2M+5)X2 = -18M X1 +S1 = 4 2X2 +S2 = 12 3X1 + 2X2 +R = 18

ตัวแปรมูลฐาน Z X1 X2 S1 S2 R b อัตราส่วน 1 -3M-3 -2M-5 0 0 0 -18M S1 ขั้นที่ 5 สร้างตาราง Simplex เริ่มต้น (ตารางผลลัพธ์เบื้องต้น) ตัวแปรมูลฐาน Z X1 X2 S1 S2 R b อัตราส่วน 1 -3M-3 -2M-5 0 0 0 -18M S1 S2 R 1 0 0 2 3 2 1 0 0 0 1 0 0 0 1 4 12 18 4/1= 4 *** - 18/3 = 6

สร้างตารางผลลัพธ์รอบที่ 1 ตัวแปรมูลฐาน Z X1 X2 S1 S2 R b อัตราส่วน 1 0 -2M-5 3M+3 0 0 -6M+12 X1 S2 R 1 0 0 2 1 0 0 0 1 0 -3 0 1 4 12 6 - 12/2=6 6/2=3 ***

สร้างตารางผลลัพธ์รอบที่ 2 ตัวแปรมูลฐาน Z X1 X2 S1 S2 R b อัตราส่วน 1 0 0 -9/2 0 M+5/2 27 X1 S2 X2 1 0 0 1 1 0 0 3 1 -1 -3/2 0 1/2 4 6 3 4/1 = 4 6/3 = 2*** -

สร้างตารางผลลัพธ์รอบที่ 3 ตัวแปรมูลฐาน Z X1 X2 S1 S2 R b 1 0 0 0 3/2 M+1 36 X1 S1 X2 1 0 0 1 0 -1/3 1/3 1 1/3 -1/3 0 1/2 0 2 6 เมื่อพิจารณาสัมประสิทธิ์ตัวแปรเปลี่ยน (Decision variable) และตัวแปรขาด(slack variable) มีค่าเป็น บวก หรือ 0 ทุกตัว ผลลัพธ์คือ X1=2, X2=6, S1=2, S2=0, R=0 และ Z=36

จงหาค่าต่ำสุดของ Z = 4X1 +X2

ขั้นที่ 1 เขียนสมการให้อยู่ในรูปแบบมาตรฐาน สมการขยาย Z -4X1 - X2 = 0 3X1 + X2 = 3 4X1 + 3X2 – S1 = 6 X1 + 2X2 +S2 = 3 X1,X2 >= 0 S1,S2 >= 0 ขั้นที่ 2 ให้ R1,R2 >= 0 บวกเข้าทางซ้ายของสมการข้อจำกัด จะได้ 3X1 +X2 +R1 = 3 4X1 +3X2 – S1 +R2 = 6

ขั้นที่ 3 ถ้าสมการเป้าหมายต้องการค่าต่ำสุด จะกำหนด (-M) เท่าของ R ในทางซ้ายของสมการเป้าหมาย เปลี่ยนสมการเป้าหมายการหาค่าต่ำสุดของ Z -4X1 - X2 = 0 เป็น Z -4X1 - X2 -MR1-MR2 = 0 เมื่อ M เป็นค่าบวกมากๆ จะได้สมการขยาย Z -4X1 - X2 -MR1-MR2 = 0 3X1 +X2 +R1 = 3 4X1 +3X2 – S1 +R2 = 6 X1 +2X2 +S2 = 3 X1,X2 >= 0 S1,S2 >= 0 R1,R2 >= 0

R2 = 6 - 4X1 -3X2 + S1 ในสมการเป้าหมาย ขั้นที่ 4 คำตอบมูลฐานเริ่มต้นที่เป็นไปได้คือ (X1,X2,S1,R1,R2,S2)=(0,0,0,3,6,3) จากนั้นทำสัมประสิทธิ์ของ R ในสมการเป้าหมายเป็น 0 โดย แทนค่า R1 = 3-3X1-X2 R2 = 6 - 4X1 -3X2 + S1 ในสมการเป้าหมาย จาก Z -4X1 - X2 -MR1-MR2 = 0 จะได้ Z -4X1 - X2 -M(3-3X1-X2 ) -M(6 - 4X1 -3X2 + S1) = 0 Z- 4X1-X2-3M+3MX1+MX2 -6M + 4MX1+3MX2-MS1 = 0 Z+(7M-4)X1+(4M-1)X2-MS1 = 9M

3X1 +X2 +R1 = 3 4X1 +3X2 – S1 +R2 = 6 X1 +2X2 +S2 = 3 ดังนั้นจะได้สมการขยายดังนี้ Z+(7M-4)X1+(4M-1)X2-MS1 = 9M 3X1 +X2 +R1 = 3 4X1 +3X2 – S1 +R2 = 6 X1 +2X2 +S2 = 3

ตัวแปรมูลฐาน Z X1 X2 S1 R1 R2 S2 b อัตราส่วน 1 7M-4 4M-1 -M 0 0 0 9M ขั้นที่ 5 สร้างตาราง Simplex เริ่มต้น (ตารางผลลัพธ์เบื้องต้น) ตัวแปรมูลฐาน Z X1 X2 S1 R1 R2 S2 b อัตราส่วน 1 7M-4 4M-1 -M 0 0 0 9M R1 R2 S2 3 1 4 3 1 2 0 1 0 0 -1 0 1 0 0 0 0 1 3 6 3/3= 1 *** 6/4

สร้างตารางผลลัพธ์รอบที่ 1 ตัวแปรมูลฐาน Z X1 X2 S1 R1 R2 S2 b อัตรา ส่วน 1 0 (5M+1)/3 -M (4-7M)/3 0 0 4+2M X1 R2 S2 1 1/3 0 5/3 0 1/3 0 0 -1 -4/3 1 0 0 -1/3 0 1 2 3 6/5 *** 6/5

สร้างตารางผลลัพธ์รอบที่ 2 ตัวแปรมูลฐาน Z X1 X2 S1 R1 R2 S2 b อัตรา ส่วน 1 0 0 1/5 8/5-M -1/5-M 0 18/5 X1 X2 S2 1 0 0 1 1/5 3/5 -1/5 0 -3/5 -4/5 3/5 0 1 1 -1 1 3/5 6/5 3 - 0***

สร้างตารางผลลัพธ์รอบที่ 3 ตัวแปรมูลฐาน Z X1 X2 S1 R1 R2 S2 b 1 0 0 0 7/5-M -M -1/5 18/5 X1 X2 S1 1 0 0 1 0 2/5 0 -1/5 0 -1/5 0 3/5 1 1 -1 1 3/5 6/5 พิจารณา สัมประสิทธิ์ตัวแปรเปลี่ยน (Decision variable) และตัวแปรขาด(slack variable) จะต้องมีค่าเป็น ลบ และ 0 ทุกตัว ผลลัพธ์คือ X1= 3/5, X2= 6/5, S1=0, S2=0, R1=0, R2=0, Z=18/5