หลักการจัดการแมลงศัตรู

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Formulation of herbicides Surfactants
Advertisements

การจัดการหนอนใยผักแบบบูรณาการ
9. พฤติกรรมของสารเคมีกำจัดวัชพืชในต้นพืช
Principle of weed management
ทางเลือกในการควบคุมยุงพาหะนำโรค
สารเคมีที่ใช้ในการควบคุม แมลงนำโรค
สารเคมีที่ใช้ในการควบคุม แมลงนำโรค
วัตถุประสงค์การใช้สารเคมีควบคุมแมลงพาหะ
สารเคมีที่ใช้ในการควบคุม แมลงนำโรค
Principle of Occupational Medicine
ความสมบูรณ์พันธุ์ของโคนม Fertility in Dairy Cattle
Environmental Monitoring for Pesticide Exposure
Diabetes mellitus By kraisorn inphiban.
แนวทางการจัดทำรายงานการควบคุมภายในและการประเมินผลการควบคุมภายใน
Traning ผู้ต้องขัง เขตภาคเหนือตอนล่าง
เส้นไหมและการสาวไหม.
อันตรายจากการประกอบอาชีพที่สัมผัสกับสารเคมีและสารกำจัดศัตรูพืช
การบำบัดน้ำเสีย อ.วีระศักดิ์ สืบเสาะ.
ธาตุอาหารพืช (Plant Nutrient).
(Introduction to Soil Science)
แนวทางและประสบการณ์ การฟื้นฟูพื้นที่ที่ผ่านการทำเหมืองแร่
หลักการเดินสำรวจโรงงาน (walkthrough survey)
การใช้งานฐานข้อมูล ACS Journals
แปลว่าความรู้(Knowledge)
การใช้คอมพิวเตอร์ในสังคมสารสนเทศ
คุณภาพแบบเรียบง่าย ผ่อนคลายด้วย SPA
การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีทาง DNA ในเชิงการเกษตร
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. สุคนธา ศิริ คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
กลุ่มสัตว์ทดลอง สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์สาธารณสุข 8 พฤศจิกายน 2559
พลังงาน (Energy).
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับขยะมูลฝอย และของเสียอันตราย
มลพิษทางดิน (Soil Pollution or land Pollution)
การกำหนดหลักเกณฑ์ในการจัดทำข้อมูลพื้นฐาน
ICD 10 TM for PCU ศวลี โสภา เจ้าพนักงานเวชสถิติชำนาญงาน โรงพยาบาลสตูล.
ประสบการณ์การทำงาน ชื่อ – ชื่อสกุล นายมานะ ครุธาโรจน์
อาชีวอนามัย บทที่ 5. ผศ.ดร.จันทร์เพ็ญ มีนคร.
การจัดการศัตรูพืช (ผษ101 เกษตรเพื่อชีวิต: บทที่ 6)
การวิเคราะห์สิ่งแวดล้อมทางการตลาด Marketing Environmental Analysis
บทที่ 4 ฐานข้อมูลลูกค้า.
การวางแผนเชิงกลยุทธ์ของธุรกิจ (Business Strategic Planning)
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทางการจัดการโลจิสติกส์
สาเหตุของการเปลี่ยนแปลงแนวทางการพัฒนา
แนวทางการจัดทำรายงาน
นโยบายรัฐบาลกับยุทธศาสตร์การพัฒนามหาวิทยาลัย
การเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจ
หมู่บ้านอาสาพัฒนาและป้องกันตนเอง
การจัดการทางการพยาบาล Management in Nursing
ดร.ศรีวรรณ ฉัตรสุริยวงศ์ ครูเชี่ยวชาญ (คศ.4)
การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีชีวภาพและเทคโนโลยีทาง DNA
การใช้งานฐานข้อมูล ACS Journals
Risk Management in New HA Standards
การบันทึกรายการค้าในสมุดบัญชี
การสอบสวน ป้องกัน และควบคุม โรคไข้เลือดออก
พฤติกรรมการสื่อติดต่อ (Communication behavior)
ภาพรวมของ CLT/PCT (CLT/PCT Profile)
มนุษย์กับสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรมรชาติ
การบริหารเชิงกลยุทธ์ (Strategic Management)
แนวทางการกำกับติดตามและประเมินผล
นโยบายเร่งด่วน ของ ผบ.ตร.
การบริหารการผลิต.
EM: Asst.Prof.Dr.PattanaSirichotpundit, Ph.D.
เรื่อง การผลิตอาหารปลอดภัย
บทที่ 2 การวิเคราะห์สิ่งแวดล้อมทางการตลาด
ภาพรวมของ CLT/PCT (CLT/PCT Profile)
การใช้งานฐานข้อมูล ACS Journals
ราชธานีเก่า อู่ข้าวอู่น้ำ เลิศล้ำกานต์กวี คนดีศรีอยุธยา
บทที่ 7 การใช้คอมพิวเตอร์ในสังคมสารสนเทศ
การใช้งานฐานข้อมูล H.W. Wilson
ภาพรวมของ CLT/PCT สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน) พฤษภาคม 2561.
คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี
ใบสำเนางานนำเสนอ:

หลักการจัดการแมลงศัตรู

แมลงในแปลงปลูก Agricultural insect Economic insect แมลงศัตรูสำคัญ (key pest)

ระดับความเสียหายทางเศรษฐกิจ(EIL) ระดับการทำลายพืชของแมลง ระดับความเสียหายทางเศรษฐกิจ(EIL) ระดับเศรษฐกิจ(ET) ระดับความสมดุลทางธรรมชาติ(GEP)

(Economic Injury Level) ระดับความเสียหายทางเศรษฐกิจ (EIL) (Economic Injury Level) ระดับความหนาแน่นต่ำสุด ของประชากรศัตรูพืชที่ทำให้เกิด ความเสียหายทางเศรษฐกิจ

ระดับความหนาแน่นของประชากร ศัตรูพืชที่จำเป็นต้องทำการป้องกันกำจัด ระดับเศรษฐกิจ (ET) (Economic Threshold) ระดับความหนาแน่นของประชากร ศัตรูพืชที่จำเป็นต้องทำการป้องกันกำจัด เพื่อไม่ให้ประชากรศัตรูพืชเพิ่มปริมาณสูง ถึงระดับความเสียหาย

ระดับสมดุลทั่วไป(GEP) (General Equilibrium Position) - สมดุลตามธรรมชาติ(natural balance) - ควบคุมโดยปัจจัยธรรมชาติ - ศัตรูธรรมชาติ : ตัวห้ำ ตัวเบียน เชื้อโรค - สภาพแวดล้อม

จุดที่ต้องการกำจัด จุดที่ต้องการกำจัด EIL ประชากร ET GEP เวลา

ประเภทของแมลงศัตรูพืช - แมลงที่ไม่มีความสำคัญ(non economic insect) - ระบาดเป็นครั้งคราว (Occasional Pest) - ระบาดเป็นประจำ (Perennial Pest) - ระบาดทำความเสียหายรุนแรง (Severe Pest)

มูลค่าของพืช พืชมูลค่าต่ำ พืชมูลค่าปานกลาง พืชมีมูลค่าสูง - พืชที่ปลูกกว้าง ผลตอบแทนไม่สูง - ป่าไม้ ทุ่งหญ้า พืชมูลค่าปานกลาง - มูลค่า / พืชที่สูงกว่ากลุ่ม 1 - พืชไร่ พืชผัก พืชมีมูลค่าสูง - นิยมรับประทาน เช่น ส้ม องุ่น - มีระดับ ET ต่ำ

ขั้นตอนการจัดการแมลงศัตรูพืช การป้องกัน (prevention) สำรวจประชากรแมลง (crop survey) การตัดสินใจ (decision making) คัดเลือกวิธีการควบคุมที่เหมาะสม (use of appropriate tool) 5. ประเมินผล (assessment)

การป้องกัน (prevention) การปลูกพืชหมุนเวียน (crop rotation) ทำความสะอาดแปลง (farm hygiene) ใช้พันธุ์ต้านทาน (resistance varieties)

การสำรวจแมลง (crop survey) สำรวจแปลงสม่ำเสมอ ใช้วิธีการที่ถูกต้อง ค้นคว้าข้อมูลจากหน่วยงานวิชาการ

การควบคุมโดยธรรมชาติ การควบคุมวิธีประยุกต์ การควบคุมศัตรูพืช (Pest Control) การควบคุมโดยธรรมชาติ การควบคุมวิธีประยุกต์ (Natural control) (Applied control) สภาพแวดล้อม - มีชีวิต ไม่ใช้สารเคมี ใช้สารเคมี - ไม่มีชีวิต - ยาฆ่าแมลง - การเขตกรรม (Cultural Control) - วิธีกล (Mechanical Control) - วิธีกายภาพ (Physical Control) - วิธีพันธุกรรม (Genetic Control) - ชีววิธี (Biological Control) - วิธีกฎหมาย (Legal Control)

วิธีการต่างๆ ในการป้องกันกำจัด. 1. การเขตกรรม (Cultural Control). 2 วิธีการต่างๆ ในการป้องกันกำจัด 1. การเขตกรรม (Cultural Control) 2. การควบคุมโดยวิธีกล (Mechanical) 3. การควบคุมโดยวิธีกายภาพ (Physical Control) 4. การควบคุมโดยชีววิธี (Biological Control) 5. การควบคุมโดยวิธีกฎหมาย (Legal Control) 6. การควบคุมโดยวิธีพันธุกรรม (Genetic Control) 7. พืชที่มีความต้านทานต่อแมลง (Plant Resistance to Insect) 8. การควบคุมด้วยสารเคมี (Chemical Control)

การป้องกันกำจัด/การควบคุมแมลงศัตรูพืช - ปริมาณแมลงต่ำกว่า ET - ไม่ให้แมลงเกิดการระบาด

การใช้สารเคมี (Chemical Control) สารฆ่าแมลง (insecticide) สารควบคุมการเจริญเติบโตของแมลง (insect growth regulator) สารควบคุมพฤติกรรมแมลง (insect behavioral chemical)

สารฆ่าแมลง แบ่งตามองค์ประกอบทางเคมี 1. ประเภทอนินทรีย์ (inorganic insecticide) - ปรอท, สารหนู,โบรอน 2. ประเภทอินทรีย์ (organic insecticide)

สารฆ่าแมลงประเภทอินทรีย์ chlorinated hydrocarbon - มีส่วนประกอบสำคัญของ Cl, H2 ,O2 - คงทนในสภาพแวดล้อม - DDT, aldrin, dieldrin 2. Organophosphate - มี phosphorus เป็นองค์ประกอบ - สลายตัวเร็วกว่า กลุ่ม 1 - dimethoate, parathion, malathion

3. carbamate - สลายตัวเร็ว ไม่มีพิษตกค้าง - เช่น carbaryl , sevin 4. pyrethroid เลียนแบบสูตรโครงสร้างของสาร pyrethrin จากดอก pyrethrum - สลายตัวเร็วมาก - ราคาแพง ,ใช้ง่าย 5.สารจากพืช - สะเดา มีสาร azadirachtin

สารควบคุมการเจริญเติบโต สารเลียนแบบสารควบคุมการเจริญเติบโตของแมลง1.Chitin synthesis inhibitor - ยับยั้งการสร้าง chitin - หนอนตายขณะลอกคราบ - เช่น diflubenzuron 2. Juvenile hormone mimic - หนอนไม่เจริญเป็นตัวเต็มวัย

สารควบคุมพฤติกรรมแมลง 1.สารดึงดูด (attractant) pheromone 2.สารไล่ (repellant) - กย.15

การแบ่งตามการเข้าทำลายแมลง (mode of entry) กินตาย (stomach poison) ถูกตัวตาย (contact poison) ประเภทดูดซึม (systemic poison)

การใช้สารกำจัดแมลงอย่างมีประสิทธิภาพ เลือกช่วงเวลาการใช้ที่เหมาะสม - ช่วงแมลงอ่อนแอ ใช้ปริมาณและชนิดที่ถูกต้อง/คลุมพื้นที่ - ใช้ตามอัตราที่เหมาะสม สภาพแวดล้อมที่เหมาะสม - ไม่ร้อน ฝนไม่ตก

สารฆ่าแมลง ชื่อสามัญ carbosulfan ชื่อการค้า Poss สารออกฤทธิ์ 25% ai (active ingredient)

แสดงระดับความเป็นพิษของสารป้องกันกำจัดศัตรูพืช LD50 สำหรับหนูทดลอง (มก./กก. ของน้ำหนัก ตัว) ชั้น เป็นพิษ ทางปาก ทางผิวหนัง ของแข็ง ของเหลว l a l b ll lll พิษร้ายแรงมาก พิษร้ายแรง พิษปานกลาง พิษน้อย < 5 5 - 50 50 – 500 > 500 < 20 20 – 200 200 – 2000 > 2000 < 10 10 – 100 100 – 1000 > 1000 < 40 40 – 400 400 – 4000 > 4000

ไพศาลและคณะ,2543

รูปแบบของสารเคมี (formulation) Aerosol - ของเหลวอัดลมในกระป๋อง - พ่นออกมาเป็นละอองเล็ก ผง (dust) - คล้ายแป้ง น้ำมันละลายน้ำ(emulsifiable concentration = EC) - ผสมน้ำ มีสีขาวขุ่น ผงละลายน้ำ (Wettable Powder =WP) ชนิดเม็ด (Granule = G) - ผสมสารออกฤทธิ์เป็นทราย / ดินเหนียว - ใช้หว่าน

ผลเสียของการใช้สารฆ่าแมลง 1. ศัตรูพืชสร้างความต้านทาน 2. พิษตกค้างของสารฆ่าแมลง 3. ทำลายสิ่งมีชีวิตที่เป็นประโยชน์ 4. ความคงทนของสารฆ่าแมลงในสภาพแวดล้อม 5. การระบาดของศัตรูพืชชนิดใหม่ 6. ต้นทุนการผลิตเพิ่มขึ้น

การเขตกรรม (Cultural Practice). - การปลูกพืชหมุนเวียน

การควบคุมวิธีกายภาพ (Physical Control) - การใช้ความร้อน - การใช้ไฟเผา: การเผาตออ้อย - การใช้ความเย็น : การขนส่ง

การควบคุมโดยวิธีกล (Mechanical Control) - การใช้มือจับ - การใช้กับดัก - ใช้เครื่องมือดักจับ

พืชต้านทานต่อแมลง กลไกทำให้พืชต้านทาน 1. การไม่ชอบ (Non Preference) 2. สารพิษในพืช (Antibiosis) 3. ความต้านทานต่อการทำลาย (Tolerance) การควบคุมโดยวิธีพันธุกรรม - การทำให้แมลงเป็นหมัน - การฉายรังสี

การควบคุมโดยชีววิธี การใช้ - แมลงห้ำ แมลงเบียน เชื้อโรค ไส้เดือนฝอย Biological control การใช้ - แมลงห้ำ แมลงเบียน เชื้อโรค ไส้เดือนฝอย - ควบคุมประชากรศัตรูพืช - ต่ำกว่าระดับความเสียหายทางเศรษฐกิจ

การใช้แมลงห้ำแมลงเบียน การเพาะเลี้ยง การขอรับจากหน่วยงานเพาะเลี้ยง นำไปปล่อยในแปลง

การควบคุมด้วยจุลินทรีย์ (Microbial control) 1.ไวรัส NPV (Nuclear Polyhedrosis Virus 2. แบคทีเรีย : Bacillus thuringiensis = Bt 3.ไส้เดือนฝอย : Entomopathogenic Nematode

ไส้เดือนฝอย

การควบคุมโดยวิธีกฎหมาย พระราชบัญญัติกักพืช2542 1. สิ่งต้องห้าม (prohibited plant material) - ข้าว ยางพารา ส้ม มันสำปะหลัง 2. สิ่งกำกัด (restricted plant material) - ข้าวโพด ยาสูบ มะละกอ 3. สิ่งไม่ต้องห้าม (unprohibited plant material) - พืชที่ยังไม่มีความสำคัญทางเศรษฐกิจ

การศึกษาต่างๆ ทำให้ทราบว่า 1. ควรเลือกวิธีการป้องกันกำจัดแบบใด 2. ระยะเวลาที่ควรป้องกันกำจัด

การจัดการแมลงศัตรูพืช Integrated Pest Management ( IPM) การควบคุมศัตรูพืชเพื่อให้ความหนาแน่นของศัตรูพืชอยู่ในระดับที่ไม่ก่อให้เกิดความเสียหายทางเศรษฐกิจ ประหยัดค่าใช้จ่าย ปลอดภัยต่อสิ่งแวดล้อม และสังคมยอมรับ

ประโยชน์ของ IPM 1. รักษาผลผลิตไม่ให้เสียหาย 2. ไม่มีสารเคมีตกค้าง 3. ลดต้นทุนการผลิต 4. ให้มีการใช้สารเคมีอย่างมีเหตุมีผล 5. อนุรักษ์แมลงที่มีประโยชน์ 6. รักษาสิ่งแวดล้อม

แนวทางการจัดการหนอนกออ้อย หนอนกออ้อยที่เข้าทำลายระยะแตกกอ ใช้วิธีการต่างๆ ดังนี้ 1. พันธุ์ต้านทาน พันธุ์เอฟ 156 อู่ทอง 1 และ K-84-200 2. วิธีเขตกรรม อ้อยตอ ใช้ใบอ้อยหรือกากอ้อยคลุมดิน 3. การปล่อยแตนเบียนไข่ 4. การใช้สารฆ่าแมลง