ทิศทางการบริหารงานกองทุนสิ่งแวดล้อม ภายใต้นโยบาย Thailand 4.0 ปาฐกถาพิเศษ ทิศทางการบริหารงานกองทุนสิ่งแวดล้อม ภายใต้นโยบาย Thailand 4.0 ดร.วิจารย์ สิมาฉายา ปลัดกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม วันพฤหัสบดีที่ ๑๗ สิงหาคม ๒๕๖๐ ณ ห้องคอนเวนชั่น เซ็นเตอร์ โรงแรมรามา การ์เด้นส์ กรุงเทพมหานคร
การดำเนินงานที่สำคัญของกองทุนสิ่งแวดล้อมที่ผ่านมา
ปี พ.ศ. 2537 เริ่ม สนับสนุนการแก้ไขปัญหามลพิษในเขตควบคุมมลพิษและพื้นที่คุ้มครองสิ่งแวดล้อม สนับสนุนระบบจัดการคุณภาพน้ำ ขยะมูลฝอยและสิ่งปฏิกูล คุณภาพอากาศและเสียง รวมกว่า 60 โครงการ วงเงิน 7,000 ล้านบาท พื้นที่ควบคุมมลพิษ จังหวัดภูเก็ต จังหวัดนนทบุรี อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา พื้นที่คุ้มครองสิ่งแวดล้อม เมืองพัทยา จังหวัดชลบุรี จังหวัดภูเก็ต
เร่ง ปี พ.ศ. 2541 แก้ปัญหาขยะและน้ำเสียในพื้นที่ชุมชนเมือง สนับสนุน อปท. ก่อสร้างระบบบำบัดน้ำเสียรวมและระบบกำจัดขยะมูลฝอยรวม จำนวน 25 โครงการ เกิดการแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อมอย่างเป็นรูปธรรม และมีการนำกลไก “ผู้ก่อมลพิษเป็นผู้จ่าย (PPP)” มาใช้ เพื่อสร้างความตระหนักให้ประชาชนในท้องถิ่น
ปี พ.ศ. 2548 รุก บริหารเชิงรุกด้านทรัพยากรธรรมชาติอย่างบูรณาการ ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2548 กำหนดกรอบประเภทโครงการ/กิจกรรม/กลุ่มเป้าหมาย และพื้นที่ที่จะให้การสนับสนุนโครงการในแต่ละช่วงปีที่ชัดเจน ตอบสนองการแก้ไขปัญหาทรัพยากรธรรมชาติได้อย่างตรงประเด็นปัญหา กว่าโครงการ 600 โครงการ วงเงินกว่า 2,800 ล้านบาท
เงื่อนไขและลดอัตราดอกเบี้ยเงินกู้ภาคเอกชน ปี พ.ศ. 2552 ปรับ เงื่อนไขและลดอัตราดอกเบี้ยเงินกู้ภาคเอกชน มีมาตรการจูงใจด้านดอกเบี้ย การประชาสัมพันธ์ทั่วทุกภูมิภาค มีลูกค้าเงินกู้เพิ่มขึ้น 37 โครงการ วงเงินประมาณ 1,800 ล้านบาท
การจัดการขยะชุมชนที่ต้นทาง ปี พ.ศ. 2558 ขับเคลื่อน การจัดการขยะชุมชนที่ต้นทาง “การจัดการขยะ” เป็นวาระแห่งชาติ สนับสนุน “โครงการส่งเสริมการมีส่วนร่วมของชุมชนในการคัดแยกขยะที่ต้นทาง” ให้แก่ อปท. ขนาดเล็ก (ทต. และ อบต.) ทั่วประเทศ กว่า 500 พื้นที่ วงเงินกว่า 200 ล้านบาท ลดปริมาณขยะลงร้อยละ 35 ของปริมาณขยะที่เกิดขึ้นในชุมชน
รางวัลทุนหมุนเวียนดีเด่น ปี พ.ศ. 2560 รางวัลทุนหมุนเวียนดีเด่น ผลจากการพัฒนาการดำเนินงาน และเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการกองทุนสิ่งแวดล้อมมาอย่างต่อเนื่อง ในปี 2560 กองทุนสิ่งแวดล้อมได้รับ “รางวัลทุนหมุนเวียนดีเด่น ประจำปี 2560” ประเภททุนที่มีผลการดำเนินงานดีเด่น
นโยบายการพัฒนาประเทศสู่ “Thailand 4.0” ยุทธศาสตร์การพัฒนาดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม ที่มา : แผนพัฒนาดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
กรอบยุทธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2560 – 2579) เพื่อให้บรรลุวิสัยทัศน์ “ประเทศมีความมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน เป็นประเทศพัฒนาแล้ว ด้วยการพัฒนา ตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง” นำไปสู่การพัฒนาให้คนไทยมีความสุข และตอบสนองตอบต่อการบรรลุ ซึ่งผลประโยชน์แห่งชาติ ในการที่จะพัฒนาคุณภาพชีวิต สร้างรายได้ระดับสูง เป็นประเทศพัฒนาแล้ว และสร้างความสุขของคนไทย สังคมมีความมั่นคง เสมอภาคและเป็นธรรม ประเทศสามารถแข่งขันได้ในระบบเศรษฐกิจ “มั่นคง” ความมั่นคง 1 2 3 4 5 6 การสร้าง ความสาม ารถ ในการ แข่งขัน การพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพคน การสร้างโอกาส ความเสมอภาคและเท่าเทียมกันทางสังคม การสร้าง การเติบโตบนคุณภาพชีวิต ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม การปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครัฐ “ยั่งยืน” “มั่งคั่ง” 11
ความเชื่อมโยง นโยบายรัฐบาลกับยุทธศาสตร์ ทส. 20 ปี ความเชื่อมโยง นโยบายรัฐบาลกับยุทธศาสตร์ ทส. 20 ปี (ร่าง) ยุทธศาสตร์ชาติ ระยะ 20 ปี ยุทธศาสตร์ที่ 5 ด้านการสร้างการเติบโตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ประเทศไทยมีความมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน เป็นประเทศพัฒนาแล้วด้วยการพัฒนาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ยุทธศาสตร์ตามแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560 – 2564) 4 เป้าหมาย การรักษาและฟื้นฟูฐานทรัพยากรธรรมชาติ สร้างความมั่นคงและบริหารจัดการทรัพยากรน้ำ การบริหารจัดการสิ่งแวดล้อมและมลพิษ พัฒนาขีดความสามารถในการลดก๊าซเรือนกระจกและการปรับตัวต่อ การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ การเติบโตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน ยุทธศาสตร์ที่ 4 ยุทธศาสตร์ ทส. 20 ปี (พ.ศ. 2560 – 2579) 6 ยุทธศาสตร์ การจัดการป่าไม้และความหลากหลายทางชีวภาพ การบริหารจัดการน้ำ การจัดการขยะมูลฝอยและสิ่งแวดล้อม การส่งเสริมการผลิตและบริโภคที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม การลดผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและภัยพิบัติทางธรรมชาติ การพัฒนาระบบบริหารจัดการและองค์กร อนุรักษ์และใช้ประโยชน์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เพื่อเป็นรากฐานการพัฒนาอย่างสมดุล
โลกเปลี่ยน ไทยปรับ – Thailand 4.0 โมเดลขับเคลื่อนเศรษฐกิจไทย Thailand 3.0 อุตสาหกรรมหนัก เน้นการส่งออกและ ใช้เทคโนโลยี Creativity & Innovation Thailand 2.0 อุตสาหกรรมเบา ทดแทนการนำเข้า Globalization Thailand 1.0 เกษตรกรรม หัตถกรรม Industrialization
โลกเปลี่ยน ไทยปรับ Thailand 4.0 ประเทศในโลกที่หนึ่ง ภายในปี 2575 กลไกขับเคลื่อน ยกระดับขีดความสามารถ ด้านการวิจัยและพัฒนา สร้างสรรค์นวัตกรรม Competitive Growth Engine มั่นคง สร้างเศรษฐกิจฐานราก เพิ่มขีดความสามารถการแข่งขัน ส่งเสริมวิสาหกิจเพื่อสังคม มั่งคั่ง Inclusive Growth Engine เน้นการผลิต และการบริโภคที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม สร้างเมืองน่าอยู่ ยั่งยืน Green Growth Engine
Thailand 4.0 การพัฒนาสู่ความมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน สร้างความเข้มแข็งจากภายใน เชื่อมไทยสู่ประชาคมโลก มั่งคั่งทางเศรษฐกิจ (Economic Wealth) สังคมอยู่ดีมีสุข (Social Well-being) ยกระดับคุณค่ามนุษย์ (Human Wisdom) รักษ์สิ่งแวดล้อม (Environmental Wellness) อนุรักษ์โลก (Saved the Planet) สันติภาพที่มั่นคง (Secured Peace) รุ่งเรืองร่วมกัน (Shared Prosperity) เติบโตอย่างยั่งยืน (Sustainable Growth) เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (SDGs) และปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
ความร่วมมือเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน ความมั่งคั่งทางเศรษฐกิจ (Economic Wealth) สังคมอยู่ดีมีสุข (Social Well-being) รักษ์สิ่งแวดล้อม (Environmental Wellness) ศักยภาพและคุณค่าของมนุษย์ (Human Wisdom)
ทิศทางการบริหารงานกองทุนสิ่งแวดล้อมสู่ “Thailand 4.0” ที่มา : สำนักงานกองทุนสิ่งแวดล้อม
ปัญหาสิ่งแวดล้อมประเทศไทย ทรัพยากร ธรรมชาติ รักษาพื้นที่ป่า 102.4 ล้านไร่ การใช้ประโยชน์ที่ดิน ทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง คุณภาพอากาศ สารมลพิษที่เกินมาตรฐาน คือ ฝุ่นขนาดเล็ก ก๊าซโอโซน และเบนซีน คุณภาพน้ำ น้ำผิวดินเกินมาตรฐาน น้ำทะเลชายฝั่ง อยู่ในเกณฑ์พอใช้ ร้อยละ 52 “ขยะเป็นวาระแห่งชาติ” ขยะมูลฝอยทั่วประเทศมีปริมาณลดลง ก๊าซเรือนกระจก ภาคพลังงาน และ อุตสาหกรรมปล่อยเป็นปริมาณสูงสุด การบริหารจัดการ
กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ร่างพระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. .... กองทุนสิ่งแวดล้อม environment Fund พระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษา คุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. 2535 กระทรวงการคลัง เงิน ทรัพย์สิน สิทธิ หนี้สิ้นของกองทุน เงินค่าใช้น้ำบาดาล (สัดส่วนที่กำหนดใน พ.ร.บ.น้ำบาดาลฯ ) ค่าธรรมเนียม เงินเพิ่มที่จัดเก็บ เงินค่าปรับจากการเปรียบเทียบ ค่าธรรมเนียม ค่าบริการ เงินเพิ่ม ค่าปรับ ภาษีอากรที่กฎหมายกำหนด พ.ร.บ. ส่งเสริมฯ พ.ศ. 2535 ทรัพย์สินอื่นที่ตกเป็นของกองทุน เงินกองทุนน้ำมันเชื้อเพลิง -------------------------------------------------- เงินที่โอนมาจากเงินทุนหมุนเวียนเพื่อการพัฒนาสภาพแวดล้อมและคุณภาพชีวิต ------------------------------------------------------------------- เงินค่าบริการและค่าปรับที่จัดเก็บ ------------------------------------------------------ เงินอุดหนุนจากรัฐบาลเป็นคราว ๆ เงินหรือทรัพย์สินอื่น ------------------------------------------------------------ เงินจากดอกผลและผลประโยชน์ใด ๆ ที่เกิดจากกองทุน เงินอื่นๆ ที่ได้รับมาเพื่อดำเนินการกองทุนนี้ การใช้จ่ายเงินกองทุน ให้ ให้กู้ยืม ส่วนราชการ/ส่วนราชการท้องถิ่น ลงทุน ดำเนินงาน บำรุงรักษา ระบบฯ หน่วยงานของรัฐ ลงทุนหรือร่วมทุนกับเอกชน ก่อสร้าง ปรับปรุง ขยายระบบฯ ตามอำนาจหน้าที่ เอกชน มีหน้าที่ตามกฎหมาย ที่จะต้องจัดให้มีระบบฯ อุดหนุนโครงการ/กิจกรรม ให้กู้ยืม - หน่วยงานรัฐดำเนินงานตามแผนจัดการฯ/แก้ไขปัญหา - องค์การเอกชนด้านสิ่งแวดล้อมดำเนินกิจกรรม - กรณีฉุกเฉิน (หน่วยงานรัฐ) แก้ไข ขจัด ฟื้นฟูคุณภาพสิ่งแวดล้อม โครงการหรือกิจการที่มีการจัดการ/ใช้วัตถุดิบที่ไม่เกิดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม -การดำเนินการเกี่ยวกับการพัฒนาระบบ EIA - กิจการใดๆ ที่ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม อปท. / รัฐวิสาหกิจ ก่อสร้าง ปรับปรุง ขยายระบบฯ เฉพาะในกิจการของตน ส่วนราชการท้องถิ่น/รัฐวิสาหกิจ จัดให้มีระบบฯ เฉพาะในกิจการของตน ช่วยเหลือ/อุดหนุนกิจการใดๆ เอกชน / ผู้ควบคุม / ผู้รับจ้างให้บริการ ก่อสร้าง ปรับปรุง ขยายระบบฯ ลงทุนและดำเนินงานระบบฯ - กิจการใดๆ ที่ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม
ขอบคุณครับ