การศึกษาการจองปริมาณบรรทุกสินค้าที่เหมาะสมระหว่างตัวแทนรับขนส่งสินค้าและสายการบิน อภิญญา เทพพนมรัตน์ รศ.ดร.กาญจ์นภา อมรัชกุล.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Chapter 3 Data Representation (การแทนข้อมูล)
Advertisements

ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชา การสอนภาษาอังกฤษเพื่อ วิชาการและงานอาชีพ
ศูนย์เรียนรู้ชุมชนเศรษฐกิจ พอเพียงบ้านซ่อง อ.พนมสารคาม จ.ฉะเชิงเทรา
สาระที่ ๒ การเขียน.
การบริหารจัดการโครงการ และการเบิกจ่ายงบประมาณ
ศึกษาข้อมูลท้องถิ่นบ้านสนาม
ยินดีต้อนรับ คณะกรรมการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน “สำนักส่งเสริมวิชาการและงานทะเบียน” วันอังคารที่ 23 สิงหาคม พ.ศ
Application of Electron Paramagnetic Resonance (EPR)
Lubna Shamshad (Ph.D Student) Supervisor Dr.GulRooh
Q n° R n°.
อาคารสำนักงานเขต พื้นที่การศึกษา (สพป./สพม.)
Chapter 3 Design of Discrete-Time control systems Frequency Response
ยินดีต้อนรับ นสต. ภ.๙.
การส่งเสริมจริยธรรมและคุณธรรม เพื่อการป้องกันการทุจริต
พอช.องค์การมหาชนของชุมชนไทย
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
หน่วยที่ 2 การประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
หลักสูตรการศึกษานอกระบบ ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
Multiple Input Multiple Output (MIMO)
บทที่ 7 TAS 17 (ปรับปรุง 2558): สัญญาเช่า (Leases)
หลักการสร้างมาตรวัดทางจิตวิทยา
โครงการส่งเสริมการพัฒนาคุณภาพงาน คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
แผนการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
แนวการตรวจสอบภายใน การตรวจสอบรถราชการ
ทะเบียนราษฎร.
นายธนวิทย์ โพธิ์พฤกษ์ เลขที่ 8 นายอนุสรณ์ ขำหลง เลขที่ 29
เรื่อง การบริหารการศึกษาตาม พ.ร.บ ระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ
เอกสารประกอบการบรรยายครั้ง ๒ วิชาซื้อขาย - เช่าทรัพย์ - เช่าซื้อ
ระเบียบกระทรวงมหาดไทย
บทที่ 12 การวิเคราะห์สหสัมพันธ์และการถดถอย
DATA STRUCTURES AND ALGORITHMS
ขั้นตอนการจัดตั้งกลุ่มส่งเสริมอาชีพ จังหวัดนครราชสีมา ปี ๒๕๕๘/๕๙
หลักการจัดกิจกรรมนันทนาการ
การประชุมผู้บริหารระดับสูงกระทรวงวัฒนธรรม ครั้งที่ ๔/๒๕๖๐
การเบิกจ่ายเงินเกี่ยวกับค่าใช้จ่าย ในการบริหารงานของส่วนราชการ
การแก้ไขปัญหา สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยนคลองจั่น จำกัด
ขั้นตอนของกิจกรรม : ปฏิบัติเป็นประจำ เพื่อให้เกิดการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง
ตอนที่ 2.๒ บทบาทหน้าที่ของเจ้าหน้าที่ส่งเสริมการเกษตรระดับอำเภอ
บทที่ 4 การกระจาย อำนาจด้านการคลัง
งานเงินสมทบและการตรวจสอบ
ยินดีต้อนรับเข้าสู่บทเรียนคอมพิวเตอร์ วัยรุ่นไทยใส่ใจวัฒนธรรม เรื่อง
การพัฒนาระบบบริหารจัดการกำลังคนด้านสุขภาพ “การพัฒนาบุคลากร”
ค่าใช้จ่ายต่างๆ ในโครงการฯ
วันเสาร์ที่ 2 กรกฎาคม 2559 วิทยาลัยเทคโนโลยีอักษรพัทยา
วิชาสังคมศึกษา ม.3 สาระที่ 1 ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม.
มหาวิยาลัยราชภัฏนครราชสีมา
โครงการสนับสนุนสินเชื่อเกษตรกรชาวสวนยาง รายย่อยเพื่อประกอบอาชีพเสริม
ความหมายของหนี้สาธารณะ
การจัดการชั้นเรียน.
การบริหารการเงิน ในสถานศึกษา
องค์ประกอบและผลกระทบของธุรกิจไมซ์
โคลง ร่าย และ โดยครูธาริตา นพสุวรรณ
Matrix 1.Thamonaporn intasuwan no.7 2.Wannisa chawlaw no.13 3.Sunita taoklang no.17 4.Aungkhana mueagjinda no.20.
สมาชิกโต๊ะ 1 นายสุรวินทร์ รีเรียง นายภาณุวิชญ์ อนุศรี
นำเสนอ วัดเกาะชัน ด.ช.ปกรณ์ ร้อยจันทร์ ม.2/7 เลขที่ 19
รศ.ดร.อนันต์ จันทรโอภากร
การเขียนวิจารณ์วรรณกรรม ๒
การยืมเงิน จากแหล่งเงินงบประมาณรายได้
วิชา หลักการตลาด บทที่ 7 การออกแบบกลยุทธ์ราคา
ผังมโนทัศน์สาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑
สาระสำคัญพ.ร.บ.การทวงถามหนี้ พ.ศ.๒๕๕๘ สาระสำคัญพ.ร.บ.การทวงถามหนี้ พ.ศ.๒๕๕๘.
การบัญชีตามความรับผิดชอบและ การประเมินผลการปฏิบัติงาน
ตำบลหนองพลับ ประวัติความเป็นมา
แบบทดสอบ เรื่อง ความน่าจะเป็น.
การปฏิรูประบบศาลยุติธรรม หลังรัฐประหาร 2557
ธาตุ สารประกอบ และปฏิกิริยาเคมี
ข้อกำหนด/มาตรฐาน ด้านสุขาภิบาลอาหาร
การบริหารหลักสูตร ความหมาย : การดำเนินงานที่เกี่ยวข้องกับการทำหลักสูตร และเอกสารประกอบหลักสูตร ไปสู่การปฏิบัติในสถานการณ์จริงหรือกิจกรรมการเรียนการสอนให้เป็นไปตามเป้าหมายที่กำหนดไว้ในหลักสูตรโดยอาศัยการสนับสนุนและร่วมมือจากบุคคลที่เกี่ยวข้องกับการใช้หลักส
PHYSICS by P’Tum LINE
การพิจารณาสัญชาติของบุคคล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การศึกษาการจองปริมาณบรรทุกสินค้าที่เหมาะสมระหว่างตัวแทนรับขนส่งสินค้าและสายการบิน อภิญญา เทพพนมรัตน์ รศ.ดร.กาญจ์นภา อมรัชกุล

ที่มาและความสำคัญของการศึกษา Shipper Freight Forwarder Carrier Freight Forwarder Consignee

ทบทวนวรรณกรรม Bing and Bhatnagar (2013) ศึกษาถึงการจองพื้นที่ระวางสินค้าภายใต้ราคาที่ไม่แน่นอนและความไม่แน่นอนของข้อจำกัดในเรื่องพื้นที่บรรทุกสินค้าของสายการบินจากหลายสายการบิน ควรทำการจองพื้นที่เท่าไหร่ เมื่อทำสัญญาระยะยาว ควรซื้อพื้นที่จากสายการบินเท่าไร ในกรณีที่ไม่ได้ทำการจองล่วงหน้า Min Cost

ทบทวนวรรณกรรม Chew et al. (2006) ศึกษาถึงการจองพื้นที่ระยะสั้นสำหรับการจองพื้นที่บรรทุกสินค้าเมื่อใกล้เวลาเครื่องออก Trade-off ระหว่างต้นทุนสินค้าที่ตกค้างและต้นทุนของการซื้อพื้นที่เพิ่ม

ขั้นตอนการดำเนินงานของบริษัทกรณีศึกษา กรณีที่ไม่มีการจองปริมาณบรรทุกสินค้าล่วงหน้า กรณีที่มีการจองปริมาณบรรทุกสินค้าล่วงหน้า

ส่งปริมาณบรรทุกสินค้าที่เกินไป ยังสายการบิน B (อื่นๆ) เริ่มต้น ลูกค้าแจ้งความต้องการส่งออกสินค้าและส่งรายละเอียดสินค้ามายังบริษัท เช่น ประเภทของสินค้า จำนวนของ สินค้า น้ำหนักของสินค้า ประเทศปลายทางที่ต้องการส่งออก และวันที่ต้องการส่งออกสินค้าจากประเทศต้นทาง เกิน ปริมาณบรรทุกสินค้าที่ต้องการส่งออกเกินที่จองไว้กับสายการบิน A หรือไม่ ไม่เกิน เจ้าหน้าที่สอบถามไปยังสายการบิน A ว่า สามารถเพิ่มปริมาณบรรทุกสินค้าได้หรือไม่     สายการบิน A สามารถให้บริการปริมาณบรรทุกสินค้าที่เกินได้หรือไม่ ได้ (0.7) เจ้าหน้าที่ส่งรายละเอียดและข้อมูลสินค้าให้สายการ บิน A เพื่อยืนยันปริมาณบรรทุกสินค้าบรรทุกสินค้า   ไม่ได้ (0.3) เจ้าหน้าที่ส่งรายละเอียดและ ข้อมูลสินค้าให้สายการบิน B เพื่อยืนยันปริมาณบรรทุก สินค้าบรรทุกสินค้า   ส่งปริมาณบรรทุกสินค้าที่เกินไป ยังสายการบิน B (อื่นๆ)   สิ้นสุด

ตัวแบบการจองปริมาณบรรทุกสินค้าล่วงหน้า 𝒑 𝑨 ราคาขายของสายการบิน A บาท/กิโลกรัม 𝒄 𝑨 ต้นทุนของสายการบิน A บาท/กิโลกรัม 𝒑 𝑩 ราคาขายของสายการบิน B บาท/กิโลกรัม 𝒄 𝑩 ต้นทุนของสายการบิน B บาท/กิโลกรัม 𝒙 แทนปริมาณบรรทุกสินค้าที่ต้องการจองกับสายการบิน (กิโลกรัม) D ≤ x D แทนปริมาณความต้องการส่งออกสินค้าในแต่ละเที่ยวบิน D>x min x,D แทนปริมาณบรรทุกสินค้าที่ส่งไปยังสายการบิน A D−x + แทนปริมาณบรรทุกสินค้าที่ส่งไปยังสายการบิน B

ตัวแบบการจองปริมาณบรรทุกสินค้าล่วงหน้า α โอกาสที่สายการบิน A จะมีปริมาณบรรทุกสินค้าเพียงพอ สำหรับปริมาณสินค้าที่เกิน 1−α โอกาสที่สายการบิน A จะมีปริมาณบรรทุกสินค้าไม่เพียงพอ สำหรับปริมาณสินค้าที่เกิน

Max profit = α E[(p A (D)− c A (D)) D] + ตัวแบบการจองปริมาณบรรทุกสินค้าล่วงหน้า Objective Function Max profit = α E[(p A (D)− c A (D)) D] + 1−α E{[(p A (min x,D ) − c A (min x,D )) min(x,D)] + [ p B D− x + − c B D−x + D−x + ]}

ขั้นตอนการวิเคราะห์ข้อมูล 1. หาการแจกแจงของข้อมูล มีการแจกแจงแบบแกมม่า (187,2)

2. สร้างข้อมูลความต้องการส่งออกสินค้า 1000 เที่ยวบิน 3. กำหนดค่าความผกผัน (Half Width) - กำหนดให้ไม่เกินร้อยละ 5 ของกำไรเฉลี่ยต่อเที่ยวบิน - กำหนดให้ไม่เกิน 0.05 ของการใช้ประโยชน์ (Utilization) 4. กำหนดปริมาณบรรทุกสินค้าที่ 500 กิโลกรัม คำนวณหากำไรเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการใช้ประโยชน์จากการใช้ข้อมูลที่จำลอง 1000 เที่ยวบิน

7. เปรียบเทียบและสรุปผลการดำเนินงาน 5. คำนวณรอบการประมวลผล 𝑛= 1.96 2 1678.30 2 115 2 =818 𝑛= 1.96 2 0.31 2 0.05 2 =148 6. เปลี่ยนปริมาณบรรทุกสินค้าจาก 500 กิโลกรัม เป็น 100, 150, 200,…, 950,1000 เพื่อคำนวณหากำไรเฉลี่ยและการใช้ประโยชน์ 7. เปรียบเทียบและสรุปผลการดำเนินงาน

การคิดค่าระวางสินค้า 1. อัตราขั้นต่ำที่เรียกเก็บ (Minimum Charge) - อัตราค่าระวางที่กำหนดไว้เป็นขั้นต่ำ หากคำนวณตามอัตราปกติแล้วได้มูลค่าต่ำกว่าอัตราขั้นต่ำ จะต้องใช้อัตราขั้นต่ำ 2. อัตราปกติ (Normal Charge) - เป็นค่าระวางที่ใช้สำหรับสินค้าที่มีน้ำหนักไม่ถึง 45 กิโลกรัม 3. อัตราตามจำนวนน้ำหนัก (Quantity Charge) - เป็นค่าระวางที่ใช้สำหรับสินค้าที่มีมากกว่า 45 กิโลกรัม ขึ้นไป

การคิดค่าระวางสินค้า อัตราขั้นต่ำ 1400 บาท (หากปริมาณส่งออก*235) < 1,400 คิดราคา 1,400 บาท

การประมวลผล 1 D i ≤x = 1 ; D i ≤x 0 ; D i >x Service Level (SL) i=1 m 1( D i ≤ x ) m ×100% i=1 m min(x, D i ) x m Utilization

ผลการดำเนินงาน x Average Profit Utilization SL 100 2300.12 0.96 10.70 600 2302.11 0.56 82.70 150 2297.14 0.92 19.90 650 2302.67 0.53 85.30 200 2297.69 0.88 28.10 700 2302.21 0.51 88.00 250 2297.00 0.84 37.20 750 2302.88 0.48 89.80 300 2297.70 0.80 46.50 800 2303.26 0.45 91.70 350 2297.65 0.75 54.40 850 2303.44 0.43 93.20 400 2298.89 0.71 61.30 900 2303.88 0.41 94.60 450 2301.06 0.67 67.60 950 2304.01 0.39 95.60 500 2301.75 0.63 73.40 1000 2314.32 0.37 96.70 550 0.60 78.50  

การตัดสินใจเลือกปริมาณบรรทุกสินค้าจากสายการบิน

การตัดสินใจเลือกปริมาณบรรทุกสินค้าจากสายการบิน

สรุปผลการดำเนินงาน บริษัทตัวแทนรับขนส่งสินค้าระหว่างประเทศสามารถนำผลที่ได้ไปช่วยในการตัดสินใจจองปริมาณบรรทุกสินค้าล่วงหน้าจากสายการบินได้ Freight Forwarder จะต้องพิจารณาปริมาณบรรทุกสินค้าล่วงหน้าที่ต้องการจองกับสายการบินจากหลายปัจจัยร่วมกันเพื่อให้เกิดประสิทธิภาพในการดำเนินงานสูงสุด

Thank you