อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ apipong.ping@gmail.com บทที่ 11 : การบีบอัดข้อมูล (Data Compression) สธ212 ระบบสื่อประสมสำหรับธุรกิจ อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ apipong.ping@gmail.com.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เฉลยใบงานที่ 1 องค์ประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
Advertisements

บทที่ 1 การรวมธุรกิจ.
แบบจำลองฐานข้อมูล คือ เครื่องมือในเชิงแนวคิดที่ใช้ในการอธิบาย ข้อมูล
เรื่อง เทคโนโลยีบอรดแบนด์ไร้สาย
จัดทำโดย น. ส. ดวงกมล งามอยู่เจริญ เลขที่ 8 น. ส. ณัชชา เชื้อตา เลขที่ 6 เตรียมบริหารธุรกิจปี 1.
Entity-Relationship Model E-R Model
ซอฟต์แวร์ระบบที่รู้จักกันดี คือซอฟต์แวร์ควบคุมการปฏิบัติการ ของคอมพิวเตอร์ที่เรียกว่า ระบบปฏิบัติการ ระบบปฏิบัติการเป็นชุดคำสั่งที่ใช้ควบคุมระบบฮาร์ดแวร์และ.
การเผยแพร่เอกสาร (Publish)
การสื่อสารข้อมูล การสื่อสารข้อมูล หมายถึง การรับส่งข้อมูลจากที่หนึ่งไปยังอีกที่ หนึ่งโดยผ่านสื่อกลาง เช่น สายโทรศัพท์ สายเคเบิลไฟเบอร์ออพติก, คลื่นไมโครเวฟ,
สถานะการส่งข้อมูล OP person, chronic. ข้อมูลที่อยู่ในฐานจังหวัด ในลักษณะการตัดข้อมูลเดิม จะมีการตัดข้อมูลทั้งคนที่สถาณะยังมีชีวิต และไม่มีชีวิตด้วย.
Winrar โปรแกรมย่อไฟล์ หลายครั้งที่เมื่อเราโหลดข้อมูลมาจากเว็บไซต์ ต่างๆ แล้วไฟล์ที่ได้มีนามสกุลเป็น.rar ซึ่งเราต้อง นำไฟล์นั้นมาแตกออกเพื่อที่เราจะได้ข้อมูลจริงๆที่
จัดทำโดย นางสาวพิจิตรา ปันเต เลขที่ 18 นางสาวปิยธิดา อุตมา เลขที่ 19 ใบงานที่ 2 เรื่อง ความหมายและความสำคัญของโครงงาน.
บทที่ 1 : Introduction to Multimedia สธ 212 ระบบสื่อประสมสำหรับธุรกิจ อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ
บทที่ 9 : วิดีโอ (Video). Outline  ทำความรู้จักกับวิดีโอ  ชนิดของวิดีโอ  สายส่งสัญญาณวิดีโอ  มาตรฐานการแพร่ภาพวิดีโอ  สื่อสำหรับบันทึกวิดีโอที่ใช้งานอยู่
การจัดกิจกรรมการ เรียนรู้แบบการทำ โครงงานคอมพิวเตอร์ การจัดกิจกรรมการ เรียนรู้แบบการทำ โครงงานคอมพิวเตอร์ ครูชาญณรงค์ ปานเลิศ โรงเรียนพระบางวิทยา ครูชาญณรงค์
ซอร์ฟแวร์ ( Software ). Microsoft excel Microsoft excel Microsoft power point.. Link Link.
สื่อประสมเบื้องต้น.
หน่วยที่ 2 สัญญาประกันภัย
บทที่ 8 : วิดีโอ (Video) สธ212 ระบบสื่อประสมสำหรับธุรกิจ
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ Lab 05 : Microsoft Excel (Part3) พท 260 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารทางการท่องเที่ยว อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ.
การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 3 : รูปแบบการเชื่อมต่อเครือข่ายและส่วนประกอบของเครือข่ายท้องถิ่น (Topologies and LAN Components) Part3.
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 8 : TCP/IP และอินเทอร์เน็ต Part1 สธ313 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทางธุรกิจ อาจารย์อภิพงศ์
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 8 : TCP/IP และอินเทอร์เน็ต Part3 สธ313 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทางธุรกิจ อาจารย์อภิพงศ์
องค์ประกอบและเทคนิคการทำงาน
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 2 : แบบจำลองเครือข่าย (Network Models) part1 สธ313 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทางธุรกิจ อาจารย์อภิพงศ์
บทที่ 7 : ออดิโอ (Audio) สธ212 ระบบสื่อประสมสำหรับธุรกิจ
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ Lab 07 : Windows Movie Maker Part 2 พท 260 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารทางการท่องเที่ยว อาจารย์อภิพงศ์
บทที่ 1 สถาปัตยกรรมของระบบฐานข้อมูล (Database Architecture)
Meta data.
บทที่ 1 : Introduction to Multimedia สธ212 ระบบสื่อประสมสำหรับธุรกิจ
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 3 : รูปแบบการเชื่อมต่อเครือข่ายและส่วนประกอบของเครือข่ายท้องถิ่น (Topologies and LAN Components) Part3.
บทที่ 9 : วิดีโอ (Video) สธ212 ระบบสื่อประสมสำหรับธุรกิจ
การบันทึกรายการค้าในสมุดบัญชี
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 7 : TCP/IP และอินเทอร์เน็ต Part1 สธ313 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทางธุรกิจ อาจารย์อภิพงศ์
Multistage Cluster Sampling
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 5 : การตรวจจับข้อผิดพลาด การควบคุมการไหลของข้อมูล และการควบคุมข้อผิดพลาด Part1 สธ313 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทางธุรกิจ.
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 4 : Cryptography & Steganography Part1 สธ412 ความมั่นคงของระบบสารสนเทศ อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 4 : สื่อกลางส่งข้อมูลและการมัลติเพล็กซ์ (Transmission Media and Multiplexing) Part3 สธ313 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทางธุรกิจ.
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 12 : การประพันธ์สื่อมัลติมีเดีย (Multimedia Authoring) สธ212 ระบบสื่อประสมสำหรับธุรกิจ อาจารย์อภิพงศ์
การบัญชีต้นทุนช่วง (Process Costing).
บทที่ 1 โครงสร้างคอมพิวเตอร์พื้นฐาน
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 10 : การบีบอัดข้อมูล (Data Compression) สธ212 ระบบสื่อประสมสำหรับธุรกิจ อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ
Integrated Information Technology
Basic Input Output System
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 5 : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก สธ212 ระบบสื่อประสมสำหรับธุรกิจ อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ.
บทที่ 3 แฟ้มข้อมูลและฐานข้อมูล
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
ผศ.ดร. รัชนี มุขแจ้ง คณะบริหารธุริจ เศรษฐศาสตร์ และการสื่อสาร ภาควิชาเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร.
การศึกษาการเคลื่อนที่เชิงอนุภาค
บทที่ 3 ซอฟต์แวร์ประยุกต์
การบริหารโครงการซอฟต์แวร์
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 2 : แบบจำลองเครือข่าย (Network Models) Part2 สธ313 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทางธุรกิจ อาจารย์อภิพงศ์
บทที่ 6 : ภาพบิตแมป สธ212 ระบบสื่อประสมสำหรับธุรกิจ
Microsoft PowerPoint Part 2
บทที่ 6 แนวคิดเทคโนโลยีเสมือนจริง
SMS News Distribute Service
สินค้าและบริการ.
บทที่ 3 : รูปแบบการเชื่อมต่อเครือข่ายและส่วนประกอบของเครือข่ายท้องถิ่น (Topologies and LAN Components) Part1.
สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ โดย อาจารย์กิตติพงษ์ ภู่พัฒน์วิบูลย์
Multimedia และระบบความจริงเสมือน Virtual Reality, VR
บทที่ 9 การเรียงลำดับข้อมูล (Sorting)
บทที่ 5 ปฏิบัติการที่ 5.2 : การสร้างแผ่นพับด้วย MS Publisher
บทที่ 8 การแก้ไขข้อผิดพลาดโปรแกรม(Debugging)
บทที่ 4 การจำลองข้อมูลและกระบวนการ (Data and Process Modeling)
การขายและการตลาดสำหรับธุรกิจโรงแรมและที่พัก
การประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์
การวิเคราะห์สถานะคงตัวของ วงจรที่ใช้คลื่นรูปไซน์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ apipong.ping@gmail.com บทที่ 11 : การบีบอัดข้อมูล (Data Compression) สธ212 ระบบสื่อประสมสำหรับธุรกิจ อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ apipong.ping@gmail.com

Outline ทำความรู้จักกับการบีบอัดข้อมูล ประเภทของการบีบอัดข้อมูล วิธีการบีบอัดข้อมูลภาพนิ่งและวิดีโอ เทคนิคการบีบอัดข้อมูล มาตรฐานการบีบอัดข้อมูลแบบ JPEG มาตรฐานการบีบอัดข้อมูลแบบ MPEG ซอฟต์แวร์สำหรับบีบอัดวิดีโอ

ทำความรู้จักกับการบีบอัดข้อมูล ข้อมูลดิบ (Raw Data) ที่ได้จาก เครื่องมือต่างๆนั้นมีขนาดของไฟล์ที่ ใหญ่ ซึ่งใช้พื้นที่ในการจัดเก็บมาก จึงจำเป็นต้องมีการบีบอัด (Compression) เพื่อลดขนาดของ ข้อมูลลง การบีบอัดข้อมูล คือกระบวนการ เข้ารหัสข้อมูลที่เลือกเอาเฉพาะบิตที่ จำเป็นเท่านั้น เพื่อประหยัดพื้นที่ใน การจัดเก็บ และสามารถรับส่งข้อมูล ผ่านเครือข่ายได้รวดเร็วยิ่งขึ้น

ทำความรู้จักกับการบีบอัดข้อมูล [2] CODEC (Coder-Decoder) เป็น กลไกสำหรับเข้ารหัสและถอดรหัสข้อมูล ดิจิตอล เมื่อเข้ารหัสด้วย CODEC ชนิดใด ก็จะต้องถอดรหัสด้วย CODEC ชนิดเดียวกัน CODEC

ทำความรู้จักกับการบีบอัดข้อมูล [3] CODEC จะใช้อัลกอริทึมในการหา ข้อมูลที่มีความซ้ำซ้อนกัน (Redundant) และลดความซ้ำซ้อน นั้นลง โดยไม่ส่งผลกระทบต่อ คุณภาพของข้อมูล ข้อมูลที่ถูกบีบอัด แล้วก็จะมีนามสกุลของไฟล์แตกต่าง กันไปตามวิธีการบีบอัด

ประเภทของการบีบอัดข้อมูล Lossless Compression ใช้ อัลกอริทึมในการบีบอัดข้อมูลที่ไม่ทำ ให้ข้อมูลสูญหายในการบีบอัด ข้อมูลจึงมีความสมบูรณ์เหมือน ต้นฉบับ แต่ก็จะใช้พื้นที่ในการ จัดเก็บมาก ตัวอย่างเช่น PNG, TIFF, GIF, AVI Lossy Compression จะตัดข้อมูล บางส่วนออกไปเพื่อลดขนาดของไฟล์ โดยข้อมูลที่ซ้ำซ้อนจะถูกตัดทิ้งอย่าง ถาวร ข้อดีคือขนาดข้อมูลจะลดลง มาก แต่ข้อเสียคือข้อมูลจะไม่ ละเอียดเหมือนต้นฉบับ

Lossless vs Lossy Compression

วิธีการบีบอัดข้อมูลภาพนิ่งและวิดีโอ Intraframe Compression นิยมใช้ กับภาพนิ่ง โดยการลดความซ้ำซ้อน เชิงพื้นที่ (Spatial Redundancy) ที่มี คุณสมบัติใกล้เคียงกัน เช่น พิกเซล ในรูปที่มีค่าสีเหมือนกัน เป็นต้น Interframe Compression นิยมใช้ กับไฟล์วิดีโอ ใช้วิธีการคำนวณ ความซ้ำซ้อนของข้อมูลระหว่างเฟรม ที่อยู่ติดกัน ที่เรียกว่าความซ้ำซ้อน เชิงเวลา (Temporal Redundancy)

Intraframe vs Interframe Compression

เทคนิคการบีบอัดข้อมูล Lossless Compression Entropy ใช้แบบจำลองความน่าจะเป็น ในทางสถิติคาดเดาว่าเหตุการณ์ถัดไป คืออะไร โดยใช้อัลกอริทึม Shannon’s Law of Entropy RLE (Run Length Encoding) Huffman Coding Arithmetic Coding LZW (Lempel-Ziv-Welsh Coding) Etc…

เทคนิคการบีบอัดข้อมูล [2] Lossy Transform Coding Psycho-Analysis เข้ารหัสเสียงตาม การได้ยินของมนุษย์ Interframe Correlation จะใช้ อัลกอริทึม JPEG Compression มาทำการบีบอัดวิดีโอ Fractal

มาตรฐานการบีบอัดข้อมูลแบบ JPEG JPEG (Joint Photographers Expert Group) เป็นมาตรฐานการบีบ อัดภาพที่ใช้เทคนิคหลายรูปแบบมา ผสมผสานกัน เช่น RLE และ Huffman Coding เป็นต้น รองรับการบีบอัดทั้งแบบ Lossless และ Lossy ภาพที่ได้จากการบีบอัดจะเป็นภาพ แบบ Lossy

ผังการทำงานของการบีบอัดข้อมูลแบบ JPEG

มาตรฐานการบีบอัดข้อมูลแบบ MPEG MPEG (Motion Picture Expert Group) เป็นมาตรฐานการบีบอัดข้อมูล เสียงและวิดีโอ วิธีการคือจะหาข้อมูลที่ ซ้ำซ้อนเพื่อนำมาคำนวณและแทนค่าจุด สีต่างๆ ประกอบไปด้วย MPEG-1 Audio (MP1, MP2, MP3) และ MPEG-1 Video MPEG-2 Audio และ MPEG-2 Video MPEG-4 จะมีกระบวนการนำเสียงหรือ วิดีโอมากกว่าหนึ่งออบเจ็กต์มารวมกันเป็น ออบเจ็กต์ใหม่ (คล้ายการซ้อน Layer ในโปรแกรมตัดต่อรูปภาพ) เรียกแต่ละ ออบเจ็กต์ว่า Video Object Plane (VOP)

MPEG-4 Encoder Multiplexer เข้ารหัส VOP0 Raw Data เข้ารหัส VOP1 Scene Descriptor and Object Descriptor Multiplexer เข้ารหัส VOP0 Raw Data (VDO) กำหนด VOP เข้ารหัส VOP1 Storage เข้ารหัส VOP2 Raw Data (Audio) เข้ารหัสเสียง

ซอฟต์แวร์สำหรับบีบอัดวิดีโอ