ตําแหนงของไฮโดรเจนในตารางธาตุ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Chapter 3 Data Representation (การแทนข้อมูล)
Advertisements

ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชา การสอนภาษาอังกฤษเพื่อ วิชาการและงานอาชีพ
ศูนย์เรียนรู้ชุมชนเศรษฐกิจ พอเพียงบ้านซ่อง อ.พนมสารคาม จ.ฉะเชิงเทรา
สาระที่ ๒ การเขียน.
การบริหารจัดการโครงการ และการเบิกจ่ายงบประมาณ
ศึกษาข้อมูลท้องถิ่นบ้านสนาม
ยินดีต้อนรับ คณะกรรมการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน “สำนักส่งเสริมวิชาการและงานทะเบียน” วันอังคารที่ 23 สิงหาคม พ.ศ
Application of Electron Paramagnetic Resonance (EPR)
Lubna Shamshad (Ph.D Student) Supervisor Dr.GulRooh
Q n° R n°.
อาคารสำนักงานเขต พื้นที่การศึกษา (สพป./สพม.)
Chapter 3 Design of Discrete-Time control systems Frequency Response
ยินดีต้อนรับ นสต. ภ.๙.
การส่งเสริมจริยธรรมและคุณธรรม เพื่อการป้องกันการทุจริต
พอช.องค์การมหาชนของชุมชนไทย
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
หน่วยที่ 2 การประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
หลักสูตรการศึกษานอกระบบ ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
Multiple Input Multiple Output (MIMO)
บทที่ 7 TAS 17 (ปรับปรุง 2558): สัญญาเช่า (Leases)
หลักการสร้างมาตรวัดทางจิตวิทยา
โครงการส่งเสริมการพัฒนาคุณภาพงาน คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
แผนการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
แนวการตรวจสอบภายใน การตรวจสอบรถราชการ
ทะเบียนราษฎร.
นายธนวิทย์ โพธิ์พฤกษ์ เลขที่ 8 นายอนุสรณ์ ขำหลง เลขที่ 29
เรื่อง การบริหารการศึกษาตาม พ.ร.บ ระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ
เอกสารประกอบการบรรยายครั้ง ๒ วิชาซื้อขาย - เช่าทรัพย์ - เช่าซื้อ
ระเบียบกระทรวงมหาดไทย
บทที่ 12 การวิเคราะห์สหสัมพันธ์และการถดถอย
DATA STRUCTURES AND ALGORITHMS
ขั้นตอนการจัดตั้งกลุ่มส่งเสริมอาชีพ จังหวัดนครราชสีมา ปี ๒๕๕๘/๕๙
หลักการจัดกิจกรรมนันทนาการ
การประชุมผู้บริหารระดับสูงกระทรวงวัฒนธรรม ครั้งที่ ๔/๒๕๖๐
การเบิกจ่ายเงินเกี่ยวกับค่าใช้จ่าย ในการบริหารงานของส่วนราชการ
การแก้ไขปัญหา สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยนคลองจั่น จำกัด
ขั้นตอนของกิจกรรม : ปฏิบัติเป็นประจำ เพื่อให้เกิดการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง
ตอนที่ 2.๒ บทบาทหน้าที่ของเจ้าหน้าที่ส่งเสริมการเกษตรระดับอำเภอ
บทที่ 4 การกระจาย อำนาจด้านการคลัง
งานเงินสมทบและการตรวจสอบ
ยินดีต้อนรับเข้าสู่บทเรียนคอมพิวเตอร์ วัยรุ่นไทยใส่ใจวัฒนธรรม เรื่อง
การพัฒนาระบบบริหารจัดการกำลังคนด้านสุขภาพ “การพัฒนาบุคลากร”
ค่าใช้จ่ายต่างๆ ในโครงการฯ
วันเสาร์ที่ 2 กรกฎาคม 2559 วิทยาลัยเทคโนโลยีอักษรพัทยา
วิชาสังคมศึกษา ม.3 สาระที่ 1 ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม.
มหาวิยาลัยราชภัฏนครราชสีมา
โครงการสนับสนุนสินเชื่อเกษตรกรชาวสวนยาง รายย่อยเพื่อประกอบอาชีพเสริม
ความหมายของหนี้สาธารณะ
การจัดการชั้นเรียน.
การบริหารการเงิน ในสถานศึกษา
องค์ประกอบและผลกระทบของธุรกิจไมซ์
โคลง ร่าย และ โดยครูธาริตา นพสุวรรณ
Matrix 1.Thamonaporn intasuwan no.7 2.Wannisa chawlaw no.13 3.Sunita taoklang no.17 4.Aungkhana mueagjinda no.20.
สมาชิกโต๊ะ 1 นายสุรวินทร์ รีเรียง นายภาณุวิชญ์ อนุศรี
นำเสนอ วัดเกาะชัน ด.ช.ปกรณ์ ร้อยจันทร์ ม.2/7 เลขที่ 19
รศ.ดร.อนันต์ จันทรโอภากร
การเขียนวิจารณ์วรรณกรรม ๒
การยืมเงิน จากแหล่งเงินงบประมาณรายได้
วิชา หลักการตลาด บทที่ 7 การออกแบบกลยุทธ์ราคา
ผังมโนทัศน์สาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑
สาระสำคัญพ.ร.บ.การทวงถามหนี้ พ.ศ.๒๕๕๘ สาระสำคัญพ.ร.บ.การทวงถามหนี้ พ.ศ.๒๕๕๘.
การบัญชีตามความรับผิดชอบและ การประเมินผลการปฏิบัติงาน
ตำบลหนองพลับ ประวัติความเป็นมา
แบบทดสอบ เรื่อง ความน่าจะเป็น.
การปฏิรูประบบศาลยุติธรรม หลังรัฐประหาร 2557
ธาตุ สารประกอบ และปฏิกิริยาเคมี
ข้อกำหนด/มาตรฐาน ด้านสุขาภิบาลอาหาร
การบริหารหลักสูตร ความหมาย : การดำเนินงานที่เกี่ยวข้องกับการทำหลักสูตร และเอกสารประกอบหลักสูตร ไปสู่การปฏิบัติในสถานการณ์จริงหรือกิจกรรมการเรียนการสอนให้เป็นไปตามเป้าหมายที่กำหนดไว้ในหลักสูตรโดยอาศัยการสนับสนุนและร่วมมือจากบุคคลที่เกี่ยวข้องกับการใช้หลักส
PHYSICS by P’Tum LINE
การพิจารณาสัญชาติของบุคคล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ตําแหนงของไฮโดรเจนในตารางธาตุ

ดังนั้น จึงจัด H ไว้ต่างหาก คาบเกี่ยวระหว่าง หมู่ IA และหมู่ VIIA ตําแหนงของไฮโดรเจนในตารางธาตุ สมบัติบางประการของไฮโดรเจนเทียบกับธาตุหมู IA และหมูVIIA ดังนั้น จึงจัด H ไว้ต่างหาก คาบเกี่ยวระหว่าง หมู่ IA และหมู่ VIIA

ธาตุกึ่งโลหะ (Metalliods)

ภาพ : ธาตุกึ่งโลหะในตารางธาตุ Metalloids ภาพ : ธาตุกึ่งโลหะในตารางธาตุ ที่มาภาพ : https://goo.gl/FChsQa

Metalloids สมบัติธาตุ B Si Ge As Sb Te Po At สถานะ solid mp. (oC) 2,030 1,410 937.4 358 631 450 254 302 bp. (oC) 2,550 2,680 2,830 313 1,380 990 962 337 ค่า EN 2.04 1.90 2.01 2.18 2.05 2.10 2.00 2.20 ค่า EA (kJ/mol) -26.7 -134 -119 -78.2 -103 -190 -183 -270 IE1 (kJ/mol) 807 793 768 953 840 876 818 926 การนำไฟฟ้า นำ นำน้อย -

ธาตุแทรนซิชัน (Transition elements)

ที่มาภาพ : https://goo.gl/HxKypq Transition elements ภาพ : ธาตุแทรนซิชัน ที่มาภาพ : https://goo.gl/HxKypq

เป็นโลหะ มีความแข็งแรง แวววาว สามารตีเป็นแผ่นได้ Transition elements ธาตุแทรนซิชันในคาบที่ 4 เป็นโลหะ มีความแข็งแรง แวววาว สามารตีเป็นแผ่นได้

รัศมี อะตอม ในโลหะ (pm) ตารางแสดงสมบัติบางประการของโพแทสเซียม แคลเซียม และ ธาตุแทรนซิชันในคาบที่ 4 ธา ตุ เลข อะตอ ม รัศมี อะตอม ในโลหะ (pm) จุด หลอมเห ลว (oC) จุด เดือ ด (oC) ความ หนาแน่น (g/cm3) IE1 (kJ/m ol) อิเล็กโต ร เนกาติ วิตี K 19 227 64 760 0.86 425 0.82 Ca 20 197 839 1490 1.54 596 1.00 Sc 21 160 1540 2730 3.0 632 1.36 Ti 22 150 1680 3260 4.5 661 V 23 140 1900 3400 6.1 648 1.63 Cr 24 130 1890 2480 7.2 653 1.66 Mn 25 1240 2100 7.4 716 1.55 Fe 26 1535 2750 7.9 762 1.83 Co 27 1500 2900 8.9 757 1.88 Ni 28 1450 736 1.91 Cu 29 1080 2600 908 1.90 Zn 30 420 910 7.1 577 1.65

1 Transition elements สมบัติทางกายภาพของธาตุแทรนซิชัน 1. ธาตุแทรนซิชันทั้งหมด มีสมบัติเป็นโลหะ - เป็นตัวนำไฟฟ้าและความร้อนที่ดี m.p. และ b.p. สูง, มีความหนาแน่นสูง, ผิวเป็นมันวาว - สมบัติต่าง ๆ เกิดจากธาตุแทรนซิชันมีขนาดอะตอมเล็กและยึดเหนี่ยวกันด้วยพันธะโลหะ จึงทำให้อะตอมยึดกันอย่างแข็งแรง, นำไฟฟ้าและความร้อนได้ดี 1

Transition elements สมบัติทางกายภาพของธาตุแทรนซิชัน เช่น ธาตุ Cu นำไฟฟ้าดีที่สุดในบรรดาธาตุแทรนซิชันแถวที่ 1 → นิยมทำลวดนำไฟฟ้า ธาตุ Fe พบปริมาณมากบนพื้นโลก → ใช้เป็นวัสดุ โครงสร้างเพื่อความแข็งแรง

2 Transition elements สมบัติทางกายภาพของธาตุแทรนซิชัน 3. เวเลนตอิเล็กตรอน - มีเวเลนตอิเล็กตรอนเทากับ 2 (ยกเวน Cr, และ Cu มีเวเลนตอิเล็กตรอนเทากับ 1) 2

Transition elements สมบัติทางกายภาพของธาตุแทรนซิชัน

3 Transition elements สมบัติทางกายภาพของธาตุแทรนซิชัน 4. ขนาดอะตอมของธาตุทรานซิชัน - ตามหมู่ ไม่ได้มีขนาดอะตอมใหญ่ขึ้นจากบนลงล่างมาก เท่าที่ควร - ตามคาบ ขนาดอะตอมลดลงจากซ้ายไปขวาเช่นเดียวกับธาตุ เรพรีเซนเททีฟ 3

ภาพ : ขนาดอะตอมธาตุแทรนซิชัน Transition elements สมบัติทางกายภาพของธาตุแทรนซิชัน ภาพ : ขนาดอะตอมธาตุแทรนซิชัน ที่มาภาพ : https://goo.gl/oW5b1g

1 Transition elements สมบัติทางเคมีของธาตุแทรนซิชัน 2. ธาตุแทรนซิชันส่วนใหญ่ เมื่อเกิดสารประกอบมี เลขออกซิเดชันได้ > 1 ค่าเนื่องจาก การเสียอิเล็กตรอน จึงเสียได้ทั้ง (n-1)d-orbital และ ns-orbital 1

Transition elements ให้พิจารณาตัวอย่างการจัดเรียงอิเล็กตรอนของโครเมียมและโครเมียมไอออนในตาราง

ภาพ : เลขออกซิเดชันของธาตุแทรนซิชัน Transition elements สมบัติทางเคมีของธาตุแทรนซิชัน ภาพ : เลขออกซิเดชันของธาตุแทรนซิชัน

สารประกอบของธาตุแทรนซิชัน

สารประกอบของธาตุแทรนซิชัน Transition elements สารประกอบของธาตุแทรนซิชัน ลักษณะการเกิดและสมบัติของสารประกอบของธาตุแทรนซิชัน 2. มีเลขออกซิเดชันหลายค่าเกิดสารประกอบได้มากมายหลายชนิด 3. สารประกอบและไอออนของธาตุแทรนซิชันส่วนใหญ่จะมีสีซึ่ง แตกต่างกันขึ้นอยู่กับเลขออกซิเดชันของธาตุแทรนซิชัน 1 2

สีของสาร ประ กอบและไอออนของธาตุ แทรน สูตร ชื่อ สี Cr2+ โครเมียม (II) ไอออน น้ำเงิน Cr3+ โครเมียม (III) ไอออน เขียว CrO42- โครเมตไอออน เหลือง Cr2O72- ไดโครเมตไอออน ส้ม Mn2+ แมงกานีส (II) ไอออน ชมพูอ่อน Mn(OH)3 * แมงกานีส (III) ไฮดรอกไซด์ น้ำตาล MnO2 * แมงกานีส (IV) ออกไซด์ ดำ MnO42- แมงกาเนตไอออน MnO4- เปอร์แมงกาเนตไอออน ม่วงแดง Fe2+ ไอร์ออน (II) ไอออน เขียวอ่อน Fe3+ ไอร์ออน (III) ไอออน Co2+ โคบอลต์ (II) ไอออน ชมพู Ni2+ นิกเกิล (II) ไอออน Cu2+ คอปเปอร์ (II) ไอออน สีของสาร ประ กอบและไอออนของธาตุ แทรน ซิชัน * ไม่ละลายน้ำ

1A 1B 1C 1D 1E 1F 2A 2B 2C 2D 2E 2F 3A 3B 3C 3D 3E 3F 4A 4B 4C 4D 4E 4F 5A 5B 5C 5D 5E 5F 6A 6B 6C 6D 6E 6F 7A 7B 7C 7D 7E 7F

1A 1B 1C 1D 1E 1F 2A 2B 2C 2D 2E 2F 3A 3B 3C 3D 3E 3F 4A 4B 4C 4D 4E 4F 5A 5B 5C 5D 5E 5F 6A 6B 6C 6D 6E 6F 7A 7B 7C 7D 7E 7F

1A 1B 1C 1D 2A 2B 2C 2D 3A 3B 3C 3D 4A 4B 4C 4D 5A 5B 5C 5D 6A 6B 6C 6D 7A 7B 7C 7D

1A 1B 1C 1D 1E 1F 2A 2B 2C 2D 2E 2F 3A 3B 3C 3D 3E 3F 4A 4B 4C 4D 4E 4F 5A 5B 5C 5D 5E 5F 6A 6B 6C 6D 6E 6F 7A 7B 7C 7D 7E 7F

สารประกอบเชิงซ้อนของธาตุแทรนซิชัน

สารประกอบเชิงซ้อนของธาตุแทรนซิชัน โลหะแทรนซิชันเกิดเปนสารประกอบเชิงซอน (Complex compounds) หรือ coordination compounds โดยมีอะตอมหรือกลุมของอะตอมที่เรียกวาลิแกนด (Ligands) ลอมรอบโลหะแทรนซิชันอยู่

Complex compounds Complex compounds [Co Cl (NH3)5] Cl2 Free anions complex ion Free anions [Co Cl (NH3)5] Cl2 Central ion Coordination number Ligands Complex compounds

Complex compounds ไอออนเชิงซอน (complex ion) คือ สารที่เกิดจากไอออนลบ (anions) หรือโมเลกุลที่เปนกลางไมมีประจุจํานวนหนึ่ง หรือมากกวานั้นมาสรางพันธะเคมีกับไอออนกลางของโลหะ ไอออนเชิงซอนมี 2 ชนิดคือ ไอออนเชิงซอนที่เปน ไอออนบวก [Cu(NH3)4 ]2+ และไอออนลบ [FeCl4]-

Complex compounds ลิแกนด (Ligand) คือ ไอออนหรือโมเลกุลที่ลอมรอบอะตอมกลางเชน F- , Br- , OH- , SCN- , S2- , CO, NH3, H2O เปนตน อะตอมกลางหรือไอออนกลาง (Central ion ) คือ อะตอมของธาตุที่อยูแกนกลางของสารเชิงซอนสวนมาก ไดแก โลหะแทรนซิชัน

Complex compounds โครงสร้างของสารประกอบเชิงซ้อน

สารประกอบเชิงซ้อนบางชนิดและไอออนองคประกอบ Complex compounds สารประกอบเชิงซ้อนบางชนิดและไอออนองคประกอบ สารประกอบเชิงซ้อน ไอออนบวก ไอออนลบ 𝐊𝐌𝐧𝐎 𝟒 𝐊 + [ 𝐌𝐧𝐎 𝟒 ] − 𝐊 𝟐 𝐌𝐧𝐎 𝟒 [ 𝐌𝐧𝐎 𝟒 ] 𝟐− 𝐏𝐛𝐂𝐫𝐎 𝟒 𝐏𝐛 𝟐+ [ 𝐂𝐫𝐎 𝟒 ] 𝟐− 𝐊 𝟑 [𝐅𝐞(𝐂𝐍) 𝟔 ] [ 𝐅𝐞(𝐂𝐍) 𝟒 ] 𝟑− 𝐊 𝟒 [𝐅𝐞(𝐂𝐍) 𝟔 ] 𝐅𝐞(𝐂𝐍) 𝟒 ] 𝟒− 𝐂𝐮[ (𝐍𝐇 𝟑 ) 𝟒 ]𝐒𝐎 𝟒 [𝐂𝐮[ (𝐍𝐇 𝟑 ) 𝟒 ] 𝟐+ [𝐒𝐎 𝟒 ] 𝟐−

อ่านว่า fluoro อ่านว่า bromo อ่านว่า hydroxo Complex compounds การเรียกชื่อสารประกอบเชิงซ้อน การเรียกชื่อลิแกนด์ 1. ไอออนลบที่ลงท้ายด้วย -ide → - O 1 𝐅 − อ่านว่า fluoro 𝐁𝐫 − อ่านว่า bromo 𝐎 𝟐− 𝐂𝐍 − อ่านว่า oxo อ่านว่า cyano 𝐎𝐇− อ่านว่า hydroxo

อ่านว่า nitro Complex compounds การเรียกชื่อลิแกนด์ อ่านว่า carbonato 2. ไอออลบที่ลงท้ายด้วย -ite หรือ -ate → -ito หรือ -ato 2 𝐂𝐎 𝟑 𝟐− อ่านว่า carbonato 𝐒𝐂𝐍 − อ่านว่า thiocyanato 𝐍 𝐎 𝟐 − อ่านว่า nitro S 𝐎 𝟒 𝟐− อ่านว่า sulfato

อ่านว่า ethylene อ่านว่า phenyl Complex compounds การเรียกชื่อลิแกนด์ 3. ลิแกนด์ที่ไม่มีประจุหรือเป็นกลาง เรียกเหมือนโมเลกุล ที่เป็นกลาง 3 𝐂 𝟐 𝐇 𝟒 อ่านว่า ethylene 𝐂 𝟔 𝐇 𝟓 อ่านว่า phenyl ยกเว้น 𝐍𝐇 𝟑 อ่านว่า ammine 𝐇 𝟐 𝐎 อ่านว่า aqua 𝐂 𝐎 อ่านว่า carbonyl

4. มีลิแกนด์ชนิดเดียวกันมากกว่า 1 ให้บอกจำนวนที่ซ้ำไว้ Complex compounds การเรียกชื่อลิแกนด์ 4. มีลิแกนด์ชนิดเดียวกันมากกว่า 1 ให้บอกจำนวนที่ซ้ำไว้ หน้าชื่อลิแกนด์ด้วย 4 จํานวนลิแกนด์ที่ซ้ำ เรียก 2 di 3 tri 4 tetra 5 penta 6 hexa

การเรียกชื่ออะตอมกลาง ไอออนเชิงซ้อนทีมีประจุบวกและในสารเชิงซ้อนที่ไม่มีประจุ เรียกชื่อโลหะตามชื่อของธาตุนั้น และใส่เลขออกซิเดชันไว้ในวงเล็บต่อจากชื่อโลหะด้วยเลขโรมัน 1 ตัวอย่าง [Co(H2O)6]2+ = hexaaquacobalt(II) ion

การเรียกชื่ออะตอมกลาง Complex compounds การเรียกชื่ออะตอมกลาง 1. ไอออนเชิงซ้อนที่เป็นไอออนลบ เปลี่ยนคำลงท้ายเป็น -ate ตามด้วยวงเล็บเลขโรมันที่แสดงเลขออกซิเดชัน เช่น 2

การเรียกชื่ออะตอมกลาง Complex compounds การเรียกชื่ออะตอมกลาง 2. โลหะบางชนิดในไอออนเชิงซ้อนทีมีประจุลบให้เรียกชื่อเป็นภาษาละติน ลงท้ายด้วย -ate 2

ถ้าไอออนเชิงซ้อนเป็นไอออนลบ Complex compounds ตัวอย่าง ถ้าไอออนเชิงซ้อนเป็นไอออนลบ [Ni(CN)4 ]2- = tetracyanonickelate(II) ion [Ag(CN)2 ] - = dicyanoargentate(I) ion

potassium hexacyanoferrate(III) diamminesilver(I) chloride เพิ่มเติม K+ K 3 [Fe(CN) 6 ] [Fe(CN) 6 ]− potassium hexacyanoferrate(III) Cl− [Ag NH 3 ) 2 Cl [Ag NH 3 ) 2 + diamminesilver(I) chloride

เพิ่มเติม ในกรณีทีสารประกอบเชิงซ้อนมีลิแกนด์หลายชนิด ให้ เรียกชื่อลิแกนด์เรียงตามตัวอักษรภาษาอังกฤษ (a→z) ตามระบบ IUPAC การเขียน space ระหว่าง cation และ anion เท่านั้น (นอกนั้นไม่ต้องมี space) ต้องเขียนเป็นอักษรตัวเล็กทั้งหมด

โจทย์ [Co( H 2 O ) 6 ] 2+ อ่านว่า hexaaquacobalt II ion [Co Cl 6 ] 3− อ่านว่า hexachlorocobaltate III ion [C𝑜 (NH 3 ) 4 Cl 2 ] + อ่านว่า tetraamminedichlorocobalt III ion [Ag NH 3 ) 2 Cl อ่านว่า diamminesilver(I) chloride [Ag NH 3 ) + อ่านว่า amminesilver(I) ion [Ag CN )2 − อ่านว่า dicyanoargentate(I) ion Na3[Cr NO2 6] อ่านว่า sodium hexanitrochromate(III)

Na2[NiCl4] K4[Fe(CN)6] โจทย์ potassium hexacyanoferrate(II) sodium tetrachloronickelate(II) K4[Fe(CN)6] potassium hexacyanoferrate(II) Na3[FeCl(CN)5] sodium chloropentacyanoferrate(III) K3[CoF6] potassium hexafluorocobaltate(III) [Zn(NH3)4]SO4 Tetraamminezinc(II) sulfate

จบจ้า