อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ apipong.ping@gmail.com บทที่ 4 : สื่อกลางส่งข้อมูลและการมัลติเพล็กซ์ (Transmission Media and Multiplexing) Part3 สธ313 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทางธุรกิจ.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
บทที่ 5 การดำรงชีวิตของพืช
Advertisements

การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อความได้เปรียบทางการแข่งขัน
บทที่ 3 การบริหารพนักงานขาย
เรื่อง เทคโนโลยีบอรดแบนด์ไร้สาย
 เครือข่ายคอมพิวเตอร์  การที่ระบบเครือข่ายมีบทบาทและ ความสำคัญเพิ่มขึ้น เพราะไมโครคอมพิวเตอร์ได้รับ การใช้งานอย่างแพร่หลาย จึงเกิดความต้องการที่จะ.
จัดทำโดย ด. ญ. ศศิปภา มณีขัติย์ ชั้น 2/6 เลขที่ 4.
จัดทำโดย น. ส. ดวงกมล งามอยู่เจริญ เลขที่ 8 น. ส. ณัชชา เชื้อตา เลขที่ 6 เตรียมบริหารธุรกิจปี 1.
การสื่อสารข้อมูลทางคอมพิวเตอร์
เทคโนโลยีไร้สาย Department of Informatics, Phuket Rajabhat University. THAILAND.
ข้อดีและข้อเสียของสื่อกลางใน การสื่อสารข้อมูล โดย นาย กิตติพิชญ์ เครือสุวรรณ.
การสื่อสารข้อมูล (D ATA C OMMUNICATIONS ) หมายถึง กระบวนการถ่ายโอนหรือ แลกเปลี่ยนข้อมูลกันระหว่างผู้ส่งและผู้รับ โดยผ่านช่องทางสื่อสาร เช่น อุปกรณ์ อิเล็กทรอนิกส์
เรื่อง ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ จัดทำโดย ด. ญ
สื่อการสอนด้วยโปรมแกรม “Microsoft Multipoint”
การสื่อสารข้อมูล การสื่อสารข้อมูล หมายถึง การรับส่งข้อมูลจากที่หนึ่งไปยังอีกที่ หนึ่งโดยผ่านสื่อกลาง เช่น สายโทรศัพท์ สายเคเบิลไฟเบอร์ออพติก, คลื่นไมโครเวฟ,
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
การสื่อสารข้อมูลเบื้องต้น Data Communication
เทคโนโลยี 3G คืออะไร 3G คือ โทรศัพท์เคลื่อนที่ยุคที่สาม หรือมาตรฐาน IMT-2000 นั้นนิยามสั้นๆ เพื่อให้เข้าใจ ตรงกันว่า “ ต้องมี แพลทฟอร์ม (Platform) สำหรับการหลอมรวมของบริการต่างๆ.
รูปร่างของเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายแลน จัดทำโดย ด. ช. สิทธิชัย นินประพันธ์ เลขที่ 17 ชันมัธยมศึกษาปีที่ 2/6 ครูผู้สอน อ. สายฝน เอกกันทา โรงเรียนจักรคำคณาทรจังหวัด ลำพูน.
การสื่อสารข้อมูล.
การรักษาความปลอดภัยข้อมูลขั้นพื้นฐาน
การกำหนด คุณลักษณะครุภัณฑ์ นาตอนงค์ จันทร์แจ่มแจ้ง นักวิชาการพัสดุชำนาญการพิเศษ.
หน่วยที่ 2 สัญญาประกันภัย
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ (Computer network)
การจัดการโปรเซส T.Kunlaya Charoenmongkonvilai
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 3 : รูปแบบการเชื่อมต่อเครือข่ายและส่วนประกอบของเครือข่ายท้องถิ่น (Topologies and LAN Components) Part3.
การสื่อสารข้อมูลทางคอมพิวเตอร์
stack #2 ผู้สอน อาจารย์ ยืนยง กันทะเนตร
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 8 : TCP/IP และอินเทอร์เน็ต Part1 สธ313 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทางธุรกิจ อาจารย์อภิพงศ์
องค์ประกอบและเทคนิคการทำงาน
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 7 : เครือข่ายแลนไร้สาย (Wireless LANs) Part1 สธ313 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทางธุรกิจ อาจารย์อภิพงศ์
Content Team: คู่มือการป้องกันสินค้าลอกเลียนแบบ 9 July 2015
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 2 : แบบจำลองเครือข่าย (Network Models) part1 สธ313 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทางธุรกิจ อาจารย์อภิพงศ์
บทที่ 1 สถาปัตยกรรมของระบบฐานข้อมูล (Database Architecture)
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการสื่อสารข้อมูล
การพัฒนาการใช้งานในระบบเว็บ
ประเภทของระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 3 : รูปแบบการเชื่อมต่อเครือข่ายและส่วนประกอบของเครือข่ายท้องถิ่น (Topologies and LAN Components) Part3.
แนวทางการออกแบบโปสเตอร์
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 7 : TCP/IP และอินเทอร์เน็ต Part1 สธ313 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทางธุรกิจ อาจารย์อภิพงศ์
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 5 : การตรวจจับข้อผิดพลาด การควบคุมการไหลของข้อมูล และการควบคุมข้อผิดพลาด Part1 สธ313 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทางธุรกิจ.
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 4 : Cryptography & Steganography Part1 สธ412 ความมั่นคงของระบบสารสนเทศ อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ
เซอร์กิตสวิตชิงและแพ๊คเก็ตสวิตชิง (Circuit Switching and Packet Switching ) อ.ธนากร อุยพานิชย์
โครงสร้างภาษา C Arduino
การบัญชีต้นทุนช่วง (Process Costing).
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 3 : รูปแบบการเชื่อมต่อเครือข่ายและส่วนประกอบของเครือข่ายท้องถิ่น (Topologies and LAN Components) Part2.
1.เครื่องทวนสัญญาณ (Repeater)
ความหมายของเลเซอร์ เลเซอร์ คือการแผ่รังสีของแสงโดยการกระตุ้นด้วยการขยายสัญญาณแสง คำว่า Laser ย่อมาจาก Light Amplification by Stimulated Emission of Radiation.
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 10 : การบีบอัดข้อมูล (Data Compression) สธ212 ระบบสื่อประสมสำหรับธุรกิจ อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 11 : การบีบอัดข้อมูล (Data Compression) สธ212 ระบบสื่อประสมสำหรับธุรกิจ อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 1 : Introduction to Data Communication and Computer Network Part3 สธ313 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทางธุรกิจ.
บทที่ 7 การเขียนโปรแกรม แบบวนรอบทำซ้ำ (Loop)
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 3 : รูปแบบการเชื่อมต่อเครือข่ายและส่วนประกอบของเครือข่ายท้องถิ่น (Topologies and LAN Components) Part2.
สแกนเนอร์ (Scanner) สแกนเนอร์ คืออุปกรณ์จับภาพและเปลี่ยนแปลงรูปแบบของแอนาลอกเป็นดิจิตอล ซึ่งคอมพิวเตอร์ สามารถแสดง, เรียบเรียง, เก็บรักษาและผลิตออกมาได้
SMS News Distribute Service
1. ความหมายของการสื่อสารข้อมูล
บทที่ 3 : รูปแบบการเชื่อมต่อเครือข่ายและส่วนประกอบของเครือข่ายท้องถิ่น (Topologies and LAN Components) Part1.
รายวิชา งานไฟฟ้าเบื้องต้นสำหรับครูอุตสาหกรรมศิลป์
Multimedia และระบบความจริงเสมือน Virtual Reality, VR
หลักเกณฑ์การเก็บรักษาข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์ ของผู้ให้บริการ
พื้นฐานเครือข่ายคอมพิวเตอร์
การจัดทำแผนการสอบบัญชีโดยรวม
รูปนิสิต บทคัดย่อ ผลการทดลอง วัตถุประสงค์ วิธีการที่นำเสนอ บทนำ
บทที่ 5 พัลส์เทคนิค
การกระจายอายุของบุคลากร วิทยาลัยดุริยางคศิลป์
บทที่ 5 เครือข่ายคอมพิวเตอร์ และการสื่อสาร
ปรากฏการณ์ดอปเพลอร์ของเสียง Doppler Effect of Sound
ใบสำเนางานนำเสนอ:

อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ apipong.ping@gmail.com บทที่ 4 : สื่อกลางส่งข้อมูลและการมัลติเพล็กซ์ (Transmission Media and Multiplexing) Part3 สธ313 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทางธุรกิจ อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ apipong.ping@gmail.com

Outline การมัลติเพล็กซ์ (Multiplexing) การมัลติเพล็กซ์แบบแบ่งความถี่ (Frequency-Division Multiplexing : FDM) การมัลติเพล็กซ์แบบแบ่งความยาวคลื่น (Wavelength-Division Multiplexing : WDM) การมัลติเพล็กซ์แบบแบ่งเวลา (Time-Division Multiplexing : TDM)

การมัลติเพล็กซ์ (Multiplexing) เป็นเทคนิคที่ใช้แชร์สายนำสัญญาณเพียงเส้นเดียว ให้สามารถใช้งานร่วมกันได้จากหลายๆแหล่ง ข้อดีคือการประหยัดสายนำสัญญาณ อุปกรณ์ที่เรียกว่า “มัลติเพล็กเซอร์” (MUX) จะ ทำหน้าที่รวมสัญญาณ แล้วส่งผ่านลิงก์ที่เชื่อมต่อ ระหว่าง MUX กับอุปกรณ์ “ดีมัลติเพล็กเซอร์” (DEMUX) เพื่อทำการแยกสัญญาณที่รับเข้ามา แล้วส่งไปยังอุปกรณ์ปลายทาง

หลักการทำงานของการมัลติเพล็กซ์

ประเภทของการมัลติเพล็กซ์

การมัลติเพล็กซ์แบบแบ่งความถี่ (Frequency-Division Multiplexing : FDM) เป็นเทคนิคแบบอนาล็อกที่ใช้ในการรวมสัญญาณ อนาล็อกที่มีความถี่แตกต่างกัน แบนด์วิดธ์ของลิงก์จะมีการแบ่งส่วนเป็นย่านความถี่ ย่อย (Sub Channel) ให้เพียงพอกับแบนด์วิดธ์ที่ มีอยู่ ตัวอย่างการมัลติเพล็กซ์แบบ FDM เช่น การส่ง สัญญาณวิทยุ AM/FM ระบบกระจายสัญญาณ โทรทัศน์ ระบบเคเบิลทีวี และระบบ โทรศัพท์เคลื่อนที่แบบอนาล็อก

FDM Process MUX

สัญญาณวิทยุแบบ FM

FDM Process DEMUX

ตัวอย่างที่ 1 Question กำหนดให้มีช่องสัญญาณอยู่ 5 ช่องสัญญาณ ช่องสัญญาณแต่ละช่องใช้แบนด์วิดธ์ขนาด 100 kHz และต้องการมัลติเพล็กซ์ช่องสัญญาณทั้งหมด เข้าด้วยกัน ถ้า กำหนดให้ Guard Band ที่ใช้ในการป้องกัน สัญญาณแต่ละช่องเข้าแทรกแซงกัน เท่ากับ 10 kHz ลิงก์ที่ใช้ส่งสัญญาณจะต้องมีแบนด์วิดธ์อย่าง น้อยเท่าไร Solution สำหรับช่องสัญญาณจำนวน 5 ช่อง จะต้องใช้ Guard Band อย่างน้อย 4 ช่อง ดังนั้นลิงก์ส่งสัญญาณจะใช้ แบนด์วิดธ์อย่างน้อย (5 × 100) + (4 × 10) = 540 kHz,

รูปประกอบตัวอย่างที่ 1

การมัลติเพล็กซ์แบบแบ่งความยาวคลื่น (Wavelength-Division Multiplexing : WDM) เป็นเทคนิคการมัลติเพล็กซ์สัญญาณอนาล็อก ออกแบบเพื่อนำมาใช้กับสายไฟเบอร์ออปติกที่ส่ง สัญญาณในรูปแบบคลื่นแสง MUX และ DEMUX จะใช้ปริซึมในการรวมแสง และหักเหแสง

การใช้ปริซึมเป็น MUX และ DEMUX ของ WDM

การมัลติเพล็กซ์แบบแบ่งเวลา (Time-Division Multiplexing : TDM) เป็นเทคนิคการมัลติเพล็กซ์แบบดิจิตอล เนื่องจาก สัญญาณดิจิตอลจะมีช่วงเวลาที่แน่นอนของบิตแต่ละ บิต จึงสามารถมัลติเพล็กซ์แบบแบ่งเวลาให้มีความ สอดคล้องกับเวลาของบิตได้ เป็นการนำสัญญาณดิจิตอลที่มีอัตราความเร็วต่ำ หลายๆแชนแนล มามัลติเพล็กซ์รวมกันเป็น สัญญาณที่มีอัตราเร็วสูงขึ้น

TDM

การมัลติเพล็กซ์แบบแบ่งเวลา (Time-Division Multiplexing : TDM) แบ่งย่อยออกเป็น 2 วิธี คือ การมัลติเพล็กซ์แบบแบ่งเวลาในรูปแบบ ซิงโครนัส (Synchronous TDM : Sync TDM) การมัลติเพล็กซ์แบบแบ่งเวลาในรูปแบบสถิติ (Statistic TDM : Stat TDM)

การมัลติเพล็กซ์แบบแบ่งเวลาในรูปแบบซิงโครนัส (Synchronous TDM : Sync TDM) ใช้หลักการที่เรียกว่า Round Robin ในการส่ง ข้อมูล กล่าวคือเป็นการส่งส่วนของข้อมูลจากทีละ อุปกรณ์อินพุตหมุนเวียนกันไปเรื่อยๆ ในแต่ละ หน่วยเวลา

Interleaving คือการจัดกลุ่มของบิตจากแต่ละอินพุตเพื่อส่งไปบนลิงก์

การมัลติเพล็กซ์แบบแบ่งเวลาในรูปแบบซิงโครนัส (Synchronous TDM : Sync TDM) ข้อเสียคือ หากมีสถานีที่ไม่ต้องการส่งข้อมูลใน ช่วงเวลาขณะนั้น (ซึ่งเป็นไปตามสภาพการใช้งาน จริง) การส่งข้อมูลแบบนี้ Time Slot จะถูกกำหนด ไว้คงที่ ดังนั้นอุปกรณ์ MUX จะทำการส่งสล็อตว่าง (Empty Slot) ของสถานีนั้นผ่านสายส่งข้อมูล ออกไป เพื่อให้ลำดับข้อมูลคงที่ ผลกระทบคือ สิ้นเปลืองแบนด์วิดธ์ไปกับสล็อตว่าง โดยใช่เหตุ ทำให้ใช้แบนด์วิดธ์ของลิงก์ได้ไม่เต็ม ประสิทธิภาพ

Empty Slots A B C D

การมัลติเพล็กซ์แบบแบ่งเวลาในรูปแบบสถิติ (Statistic TDM : Stat TDM) เป็นการแก้ปัญหาสล็อตว่างในการส่งแบบ Sync TDM เรียก Stat TDM อีกชื่อหนึ่งว่า Asynchronous TDM เป็นการมัลติเพล็กซ์แบบแบ่งเวลาตามความต้องการ (On-Demand) ออกแบบมาเพื่อหลีกเลี่ยงการสูญเสีย สล็อตว่างของสถานีที่ไม่มีการส่งข้อมูล ดังนั้นในลิงก์ จะมีแต่ข้อมูลจริงเท่านั้น วิธีนี้จะต้องมีการบรรจุแอดเดรสของอุปกรณ์ที่ส่งเข้าไป พร้อมกับข้อมูลด้วย เพื่อให้ฝั่งรับทราบว่าข้อมูลที่ส่งมา จากอุปกรณ์ใด จึงจะสามารถส่งข้อมูลไปยังสถานี ปลายทางได้อย่างถูกต้อง

การเปรียบเทียบการมัลติเพล็กซ์ข้อมูลแบบ Sync TDM กับ Stat TDM