17 มิถุนายน 2559 โรงแรมเชียงใหม่ออร์คิด อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การกำหนดค่าเบื้องต้นเพื่อการใช้งาน และส่งออก 43 แฟ้ม
Advertisements

ยุทธศาสตร์ที่ 1 พัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
43 แฟ้ม HDC Datacenter ข้อมูลและรายงาน EPI.
1. แนวทางการดำเนินงาน OPPP individual ในปี 2559  ระยะเวลาการรับข้อมูล การดำเนินงาน ปีงบประมาณ 2559  มาตรฐานโครงสร้างแฟ้มข้อมูล และแฟ้มที่จะรับ  รูปแบบ.
นางสาวสรัญญา ชื่นเย็น (พี่ออย) เจ้าหน้าที่ศูนย์นวัตกรรมการจัดการ อ.ก้องภู นิมานันท์ อาจารย์ที่ปรึกษา 1.น.ส.นพรัตน์ ปฏิกรณ์ (คุ๊กกี้) นายบุรินทร์
รายงานและการบันทึกข้อมูล Functional + SpecialPP
OPPP Individual Data ปีงบฯ 2559
การใช้เครื่องมือในระบบการบริการผู้ป่วยโรคซึมเศร้า ในการอบรมการบริการผู้ป่วยระวังโรคซึมเศร้าสำหรับผู้ปฏิบัติ หลักสูตรกรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข.
สำนักวิจัยและพัฒนาระบบงานบุคคล สำนักงาน ก.พ.
ประชุมเชิงปฏิบัติการ การพัฒนาระบบบริการอนามัยแม่และเด็ก
ภาพรวมของระบบ. ระบบสารสนเทศสนับสนุนโครงการ รากฟันเทียมพระราชทานฯ DentIIS- Dental Implant Information System.
(P7S10P1G2) การประชุมถ่ายทอดนโยบายและตัวชี้วัดด้านสาธารณสุข
การพัฒนาระบบการจัดเก็บฐานข้อมูล สุขภาพจิต
พัฒนาการที่ต้องติดตามเฝ้าระวัง (Red Flags in Child Development)
โดย ... ทีมนิเทศงานสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดน่าน
นิเทศและประเมินผลสัญจร โซนนาคราชซ้าย
นิเทศและประเมินผลสัญจร โซนนาคราชซ้าย
ดร.ฐิตวันต์ หงษ์กิตติยานนท์ ภาควิชาการพยาบาลจิตเวช
นายแพทย์อภิชาติ รอดสม สาธารณสุขนิเทศก์ เขตสุขภาพที 6
โครงการสนับสนุนและพัฒนาเครือข่ายระบบสุขภาพอำเภอ (District Health System) เขตเมืองและเขตชนบท ใน 7 จังหวัดภาคใต้ตอนล่าง ดร.นพ.วรสิทธิ์ ศรศรีวิชัย เลขาธิการ.
การบริการงานอาชีวเวช ภายนอกโรงพยาบาล
Mental Health Crisis Assessment and Treatment Team (MCATT)
การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ
มโนทัศน์เกี่ยวกับการพยาบาลเด็กและวัยรุ่น
การดำเนินงานป้องกันและ แก้ไขปัญหาโรคมะเร็ง
โครงการ มหัศจรรย์ 1,000 วันแรกของชีวิต
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. สุคนธา ศิริ คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
การนำผลการปฏิบัติงานลงสู่แฟ้ม HDC (43 แฟ้ม)
สำหรับธุรกิจบริหารจัดการเรือ
สรุปผลการดำเนินงานข้อมูลสุขภาพ Health Data Center: HDC เขตสุขภาพที่ 12
ภาวะโภชนาการในเด็กวัยเรียน และการจัดการ
INHOMESS นพ.นนท์ โสวัณณะ ภาควิชาเวชศาสตร์ชุมชน
NUTRITION ในเด็ก 0-5 ปี เดือนแรก NUTRITION ในเด็กนักเรียน 6-14 ปี เดือน สุดท้าย SERVICENUTRITION COMMUNITY_SERVICE 0-5 ปี = 1E ปี = 1H300 ไม่ต้องมี
1.ตรวจสอบการตั้งค่าใน system setting
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสระแก้ว
การบันทึกโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อมการคัดกรองสารเคมีในเกษตรกร
(แผนบูรณาการขยะและสิ่งแวดล้อม)
ทิศทางการขับเคลื่อนหลักสูตรส่งเสริมและพัฒนาเด็กอายุต่ำกว่า 3 ปี
ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ฉบับที่ 4 (พ. ศ
โรคทางเดินหายใจตะวันออกกลาง (Middle East Respiratory Syndrome; MERS)
เทคนิคการวิเคราะห์ความเหมาะสมของโครงการ และแนวทางการติดตามประเมินผลสำเร็จของ ชุดโครงการส่งเสริมการมีส่วนร่วมของชุมชนในการคัดแยกขยะ ที่ต้นทาง ชุดที่ ๓ ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น.
ดร. ฐิตวันต์ หงษ์กิตติยานนท์
ลูกรัก เก่ง ฉลาด ด้วย 3 ดี
สรุปผลการนิเทศ คปสอ.เมืองอ่างทอง รอบที่ 1 ปี วันที่ 11 มกราคม 2561
HDC CVD Risk.
กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น เทพสุริยา(เทพสุริยา)
ปัญหาสุขภาพจิตกับการใช้สุรา: แนวโน้มกับการป้องกัน
การบันทึกข้อมูล Social Risk ใน HDC
ความรู้พื้นฐานการให้รหัสโรค BASIC ICD-10
ด้านระบบสารสนเทศสุขภาพ
การพัฒนาระบบการจัดเก็บฐานข้อมูล ผู้พิการ
Scholarships Chayooth Theeravithayangkura
ปรับแนวทาง ตามมติคณะทำงานฯ ณ 16 ก.พ. 61
HDC Ncd PLus ธันวาคม 2560.
วิชากฎหมายอาญาภาคทั่วไป (177181)
การขับเคลื่อนงานด้านสุขภาพ
การจัดตั้งหน่วยทะเบียนมะเร็ง และการควบคุมคุณภาพ
การประชุมเชิงปฏิบัติการ ณ ห้องประชุมโรงแรมฮอลิเดย์การ์เด้น
มีอะไรใหม่? ในโครงสร้างมาตรฐานข้อมูลสุขภาพ (43แฟ้ม) Version 2.3
การดำเนินงานอนามัยแม่และเด็ก
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดตรัง
HDC แผนแพทย์ไทย.
งานคุ้มครองผู้บริโภค กับการเฝ้าระวังสื่ออย่างชาญฉลาด
แผนการดำเนินงาน คปสอ. (DPAC)
อำเภอสอยดาว จังหวัดจันทบุรี
การใช้ควัน ๏ ควัน…ไม่ถือเป็นอำนาจกำลังรบ เพราะไม่-
PA Mother & Child Health
บทที่ 9 ความสัมพันธ์ระหว่างงานโภชนาการ กับการสาธารณสุข
การจัดการคุณภาพข้อมูลบริการป่วยนอก
ศูนย์บริการคนพิการองค์การบริหารส่วนตำบลโจดหนองแก
ใบสำเนางานนำเสนอ:

17 มิถุนายน 2559 โรงแรมเชียงใหม่ออร์คิด อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ การประชุมเชิงปฏิบัติการการพัฒนาคุณภาพระบบข้อมูลงานส่งเสริมสุขภาพ จังหวัดเชียงใหม่ 17 มิถุนายน 2559 โรงแรมเชียงใหม่ออร์คิด อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่

หัวข้อการพัฒนาระบบการจัดเก็บฐานข้อมูล พัฒนาการเด็ก ผู้พิการ สุขภาพจิต อนามัยโรงเรียน

การพัฒนาระบบการจัดเก็บฐานข้อมูล พัฒนาการเด็ก

ตรวจพัฒนาการเด็ก แฟ้มที่เกี่ยวข้อง รายละเอียด Person Typearea 1,3 อายุ 9,18,30,42 เดือน (สำหรับประเมิน KPI) อายุ 0-5 ปี (สำหรับ Itemize) diagnosis_opd Z00.1 Routine child health examination nutrition Field Child develop เป็น 1,2,3 อย่างใดอย่างหนึ่ง specialpp 1B200 - 1B262 1B260 ผลการตรวจคัดกรองพัฒนาการสมวัยโดยเครื่องมือ DSPM ผลปกติ 1B261 ผลการตรวจคัดกรองพัฒนาการสมวัยโดยเครื่องมือ DSPM สงสัยล่าช้า ส่งเสริมพัฒนาการใน 1 เดือน 1B262 ผลการตรวจคัดกรองพัฒนาการสมวัยโดยเครื่องมือ DSPM สงสัยล่าช้า ส่งต่อทันที

การพัฒนาระบบการจัดเก็บฐานข้อมูล ผู้พิการ

KPI ร้อยละของคนพิการเข้าถึงบริการด้านสุขภาพ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 บูรณาการระบบดูแลสุขภาพคนพิการ กรรมการ คณะทำงาน แผนการดูแล ระบบค้นหา สำรวจ ส่งต่อ กำกับติดตาม ประเมินผล มีการปรับสภาพแวดล้อมมีสิ่งอำนวยความสะดวก 5 ด้าน ห้องน้ำ ทางลาด ที่จอดรถ ป้ายและสัญลักษณ์ การให้บริการข้อมูล การเข้าถึงบริการด้านสุขภาพ ได้รับการวินิจฉัย การรักษา การฟื้นฟูสมรรถภาพ การเยี่ยมบ้าน หรือส่งต่อบริการสุขภาพอื่นๆ

ผู้พิการ แฟ้มที่เกี่ยวข้อง รายละเอียด Person Typearea 1,3 disability ลงทะเบียนผู้พิการ 7 ประเภท diagnosis_opd Z09.9 Follow-up examination after unspecified treatment for other conditions (เยี่ยมบ้าน) community_service 1A30 เยี่ยมผู้พิการทางการมองเห็น 1A31 เยี่ยมผู้พิการทางการได้ยินหรือสื่อความหมาย 1A32 เยี่ยมผู้พิการทางการเคลื่อนไหวหรือทางร่างกาย 1A33 เยี่ยมผู้พิการทางจิตใจหรือพฤติกรรม หรือออทิสติก 1A34 เยี่ยมผู้พิการทางสติปัญญา 1A35 เยี่ยมผู้พิการทางการเรียนรู้ 1A39 เยี่ยมผู้ที่ความพิการยังไม่ได้รับการวินิจฉัยยืนยัน

การพัฒนาระบบการจัดเก็บฐานข้อมูล สุขภาพจิต

ร้อยละผู้ป่วยเข้าถึงบริการ ประเภทผู้ป่วย รหัส ICD 10 ความชุก กลุ่มอายุ เป้าหมาย % โรคซึมเศร้า F32,F33,F34.1,F38,F39 2.3 15 ปีขึ้นไป 43 โรคจิต F20-F29 0.8 55 ผู้ป่วยที่เกิดจากการดื่มสุรา F10.0-F10.9 10.9 10 จิตเวชเด็ก Autistic F84 0.006 2-5 ปี 5 จิตเวชเด็กสมาธิสั้น ADHD F90 0.07 6-15 ปี

เยี่ยมบ้านผู้ป่วยสุขภาพจิต แฟ้มที่เกี่ยวข้อง รายละเอียด Person Typearea 1,3 diagnosis_opd Z09.9 Follow-up examination after unspecified treatment for other conditions (เยี่ยมบ้าน) community_service 1A020 เยี่ยมผู้ป่วยโรคจิต 1A021 เยี่ยมผู้ป่วยโรควิตกกังวล 1A022 เยี่ยมผู้ป่วยโรคซึมเศร้า 1A023 เยี่ยมผู้ป่วยโรคปัญญาอ่อน 1A024 เยี่ยมผู้ป่วยโรคลมชัก 1A025 เยี่ยมผู้พยายามฆ่าตัวตาย 1A028 เยี่ยมผู้ป่วยโรคจิตและปัญหาสุขภาพจิตอื่นๆ 1A029 เยี่ยมผู้ป่วยโรคจิตและปัญหาสุขภาพจิต ไม่ระบุรายละเอียด

การคัดกรองจิตเวช แฟ้มที่เกี่ยวข้อง รายละเอียด Person Typearea 1,3 diagnosis_opd Z13.3 Special screening examination for mental and behavioural disorders specialpp ประเมินภาวะซึมเศร้า 2Q ประเมินภาวะซึมเศร้า 9Q ประเมินการฆ่าตัวตาย 8Q ประเมินความเครียด

การคัดกรอง 2Q 1B0280 การตรวจคัดกรองโรคซึมเศร้าในผู้สูงอายุด้วยแบบคัดกรอง 2Q พบว่าผลปกติ 1B0281 การตรวจคัดกรองโรคซึมเศร้าในผู้สูงอายุด้วยแบบคัดกรอง 2Q พบว่าผลผิดปกติ 1B130 การตรวจคัดกรองโรคซึมเศร้าในผู้ป่วยโรคเรื้อรังด้วยแบบคัดกรอง 2Q พบว่าผลปกติ 1B131 การตรวจคัดกรองโรคซึมเศร้าในผู้ป่วยโรคเรื้อรังด้วยแบบคัดกรอง 2Q พบว่าผลผิดปกติ 1B140 การตรวจคัดกรองโรคซึมเศร้าในหญิงตั้งครรภ์/หลังคลอดด้วยแบบคัดกรอง 2Q พบว่าผลปกติ 1B141 การตรวจคัดกรองโรคซึมเศร้าในหญิงตั้งครรภ์/หลังคลอดด้วยแบบคัดกรอง 2Q พบว่าผลผิดปกติ 1B150 การตรวจคัดกรองโรคซึมเศร้าในผู้มีปัญหาสุรา/สารเสพติดด้วยแบบคัดกรอง 2Q พบว่าผลปกติ 1B151 การตรวจคัดกรองโรคซึมเศร้าในผู้มีปัญหาสุรา/สารเสพติดด้วยแบบคัดกรอง 2Q พบว่าผลผิดปกติ 1B160 การตรวจคัดกรองโรคซึมเศร้าในกลุ่มที่มีอาการซึมเศร้าชัดเจนด้วยแบบคัดกรอง 2Q พบว่าผลปกติ 1B161 การตรวจคัดกรองโรคซึมเศร้าในกลุ่มที่มีอาการซึมเศร้าชัดเจนด้วยแบบคัดกรอง 2Q พบว่าผลผิดปกติ 1B170 การตรวจคัดกรองโรคซึมเศร้าในผู้ที่มีอาการทางกายเรื้อรังหลายอาการที่หาสาเหตุไม่ได้ด้วยแบบคัดกรอง 2Q พบว่าผลปกติ 1B171 การตรวจคัดกรองโรคซึมเศร้าในผู้ที่มีอาการทางกายเรื้อรังหลายอาการที่หาสาเหตุไม่ได้ด้วยแบบคัดกรอง 2Q พบว่าผลผิดปกติ 1B180 การตรวจคัดกรองโรคซึมเศร้าในกลุ่มที่มีการสูญเสีย ด้วยแบบคัดกรอง 2Q พบว่าผลปกติ 1B181 การตรวจคัดกรองโรคซึมเศร้าในกลุ่มที่มีการสูญเสีย ด้วยแบบคัดกรอง 2Q พบว่าผลผิดปกติ

การคัดกรอง 9Q 1B0260 การประเมินภาวะซึมเศร้าด้วยแบบประเมิน 9Q พบว่าผลปกติ 1B0261 การประเมินภาวะซึมเศร้าด้วยแบบประเมิน 9Q พบว่าซึมเศร้าน้อย (คะแนน 7-12) 1B0262 การประเมินภาวะซึมเศร้าด้วยแบบประเมิน 9Q พบว่าซึมเศร้าปานกลาง (คะแนน 13-18) 1B0263 การประเมินภาวะซึมเศร้าด้วยแบบประเมิน 9Q พบว่าซึมเศร้ารุนแรง (คะแนน≥19) 1B0269 การประเมินภาวะซึมเศร้าด้วยแบบประเมิน 9Q ไม่ระบุรายละเอียด 1B0282 การตรวจคัดกรองโรคซึมเศร้าในผู้สูงอายุด้วยแบบคัดกรอง 9Q พบว่าผลปกติ 1B0283 การตรวจคัดกรองโรคซึมเศร้าในผู้สูงอายุด้วยแบบคัดกรอง 9Q พบว่าซึมเศร้าน้อย (คะแนน 7-12) 1B0284 การตรวจคัดกรองโรคซึมเศร้าในผู้สูงอายุด้วยแบบคัดกรอง 9Q พบว่าซึมเศร้าปานกลาง (คะแนน 13-18) 1B0285 การตรวจคัดกรองโรคซึมเศร้าในผู้สูงอายุด้วยแบบคัดกรอง 9Q พบว่าซึมเศร้ารุนแรง (คะแนน ≥19)

การคัดกรอง 8Q 1B0270 การประเมินการฆ่าตัวตายด้วยแบบประเมิน 8Q พบว่าไม่มีแนวโน้มการฆ่าตัวตาย 1B0271 การประเมินการฆ่าตัวตายด้วยแบบประเมิน 8Q พบว่ามีแนวโน้มที่จะฆ่าตัวตายระดับน้อย (คะแนน 1-8) 1B0272 การประเมินการฆ่าตัวตายด้วยแบบประเมิน 8Q พบว่ามีแนวโน้มที่จะฆ่าตัวตายระดับปานกลาง (คะแนน 9-16) 1B0273 การประเมินการฆ่าตัวตายด้วยแบบประเมิน 8Q พบว่ามีแนวโน้มที่จะฆ่าตัวตายระดับรุนแรง (คะแนน ≥17) 1B0279 การประเมินการฆ่าตัวตายด้วยแบบประเมิน 8Q ไม่ระบุรายละเอียด

การพัฒนาระบบการจัดเก็บฐานข้อมูล งานอนามัยโรงเรียน จำนวนเด็ก 5-14 ปี ที่พบภาวะเริ่มอ้วน+อ้วน การคัดกรองสายตาและการแก้ไขปัญหาสายตาผิดปกติ

เด็ก 5-14 ปี ที่พบภาวะเริ่มอ้วน+อ้วน แฟ้มที่เกี่ยวข้อง รายละเอียด Person Typearea 1,3 อายุ 5 ปีเต็ม – 14 ปี 11 เดือน 29 วัน diagnosis_opd Z10.8 Routine general health check-up of other defined subpopulations nutrition เทอม 1 ( พฤษภาคม-กรกฎาคม ) เทอม 2 ( พฤศจิกายน-มกราคม )

การคัดกรองสายตาและการแก้ไขปัญหาสายตาผิดปกติ แฟ้มที่เกี่ยวข้อง รายละเอียด Person Typearea 1,3 นักเรียนชั้นประถม 1 diagnosis_opd Z01.0 Examination of eyes and vision community_service 1H210 ตรวจตาในนักเรียนชั้นประถมศึกษา 1H212 แก้ไขโรคตาในนักเรียนชั้นประถมศึกษา 1H214 ตรวจสายตาในนักเรียนชั้นประถมศึกษา 1H216 แก้ไขอาการสายตาผิดปกติในนักเรียนชั้นประถมศึกษา

กิจกรรมเสริมท้ายบท .........................................