แนวทางการกำกับดูแลสุขภาพเด็กปฐมวัย ตรวจระดับ Hb/Hct ช่วงอายุ 6-12เดือน 1
วิธีการตรวจกรอง วัดระดับ hemoglobin (Hb) และ/หรือ Hematocrit (Hct) เพื่อดูภาวะซีดโดยใช้ค่า Hb < 11 g/dL Hct < 33% ซักประวัติ นิสัยการบริโภค โรคพยาธิ โรคธาลัสซีเมียในครอบครัว
แนวทางการคัดกรองภาวะซีด และการให้ยาเสริมธาตุเหล็ก ในคลินิกเด็กดี จังหวัดเชียงใหม่
ขั้นตอนของการตรวจกรอง เจาะเลือดตรวจระดับ Hb หรือ Hct โดยแยกตาม กลุ่มอายุดังนี้ อายุขวบปี แรก - ทารกปกติ ให้ตรวจกรอง 2 ครั้ง ที่อายุ 6 เดือน และ 1 ปี - ทารกคลอดก่อนกำหนดหรือน้ำหนักตัวน้อย ควรตรวจกรองที่ 1. อายุ 3, 6, 12 เดือน กรณีที่ไม่ได้ธาตุเหล็กเสริม 2. อายุ 6 เดือนและ 1 ปี กรณีที่ได้ธาตุเหล็กเสริม
ขั้นตอนของการตรวจกรอง อายุ 1-3 ปี เด็กในกลุ่มเสี่ยง เช่น มีนิสัยบริโภคไม่เหมาะสม ที่อายุ 15-18 เดือน และ 24 เดือน
การให้ธาตุเหล็กรักษาภาวะซีด ผลคัดกรอง : Hb < 11 g/dL หรือ Hct < 33% ให้กินยาบำรุงเลือด (ธาตุเหล็ก) ขนาด 4-6 mg of elemental iron/kg/day (therapeutic trial of iron) นาน 1 เดือน แล้วตรวจเลือดซ้ำ
การให้ธาตุเหล็กรักษาภาวะซีด ถ้า Hb เพิ่มขึ้น 1 g/dl หรือ Hct เพิ่มขึ้น 3% ให้การวินิจฉัยว่าขาดธาตุเหล็ก และให้กินธาตุเหล็กต่ออีก 2 เดือน ถ้าไม่มีการเปลี่ยนแปลง หรือ Hb/Hct เพิ่มขึ้นน้อยกว่าเกณฑ์ ให้ตรวจหาภาวะซีดจากสาเหตุอื่น เช่น โรคธาลัสซีเมีย
รายชื่อยาเสริมธาตุเหล็กที่มีในประเทศไทย กลุ่มยาเสริมธาตุเหล็ก ยี่ห้อ (รูปแบบ) บริษัท Elemental Iron ยาน้ำเสริมธาตุเหล็ก Eurofer-Iron (oral liquid) โอสถ อินเตอร์ แลบบอราทอรีส์ จำกัด 50 mg / 5 ml 1ขวด มี 120 ml 95.65 บาท/ขวด Ferium Emcurephama (Alliancepharma) 50 มิลลิกรัมต่อช้อนชา Ferdek drop (Syrup) Ranbaxy; Diethelm Keller; Olic Thailand 15 mg / 0.6 ml 1 ขวด มี 15 ml 28.89 บาท/ขวด Kidiron Thaipharmed 18 มิลลิกรัมต่อช้อนชา Pediron (oral drop) ST Pharma 15 มิลลิกรัมต่อ 0.6ซีซี Eurofer-Iron (oral liquid) : หลังเปิดใช้มีความคงตัว 4 เดือนที่อุณหภูมิห้อง Ferdek drop (Syrup) : หลังเปิดใช้มีความคงตัว 6 เดือนที่อุณหภูมิห้อง
รายชื่อยาเสริมธาตุเหล็กที่มีในประเทศไทย กลุ่มยาเสริมธาตุเหล็ก ยี่ห้อ (รูปแบบ) บริษัท Elemental Iron ยาเม็ดเสริมธาตุเหล็ก Eurofer (Tab) Eurodrug (Berli-Jucker) 100 mg/tab Femarate Pharmasant Lab 65 mg/tab Ferrotabs Thaipharmed 60 mg/tab Ferrous fumarate (200 mg/tab) Medicine product 0.12บาท/เม็ด
การป้องกันภาวะขาดธาตุเหล็ก (primary prevention) ให้ยาธาตุเหล็กเสริม (iron supplement) ตามข้อกำหนดการเสริมธาตุเหล็กในเชิงสาธารณสุข ขององค์การอนามัยโลก ( WHO, Guideline for intermittent IS for children 2011 ) และ นโยบายกระทรวงสาธารณสุข ดังนี้ .
การป้องกันภาวะขาดธาตุเหล็ก อายุ 6-24 เดือน 1 mg of elemental iron/kg/day หรือ 12.5 mg of elemental iron/wk อายุ 25-60 เดือน 2 mg of elemental iron/kg/ day หรือ 25 mg of elemental iron/wk เด็กนักเรียน (อายุ 6-12 ปี) ยาเม็ดเสริมธาตุเหล็ก 60 mg สัปดาห์ละครั้ง .
การป้องกันภาวะขาดธาตุเหล็ก อายุ Ferdek drop (Syrup) Eurofer -Iron (oral liquid) Ferrous fumarate (200 mg/tab ) 6-24 เดือน 0.5 ml /wk 1.3 ml /wk - 25-60 เดือน 1 ml /wk 2.5 ml /wk 6-12 ปี 2.4 ml /wk 6 ml /wk 1 tab /wk
การเสริมธาตุเหล็กในผู้ที่เป็นธาลัสซีเมีย ผู้ป่วยธาลัสซีเมีย มักมีภาวะธาตุเหล็กเกิน ซึ่งเกิดจากการดูดซึมธาตุเหล็กที่เพิ่มขึ้นที่ลำไส้ และจากเลือดที่ได้รับ ดังนั้นจึงเป็นข้อห้ามในการได้รับยาเสริมธาตุเหล็ก ผู้ป่วยที่เป็นพาหะของธาลัสซีเมีย ยังสามารถได้รับยาเสริมธาตุเหล็กได้ตามปกติ
การให้ยาน้ำเสริมธาตุเหล็กในผู้ที่มี โรคพร่องเอ็นไซม์ G6PD ในภาวะปกติที่เม็ดเลือดแดงไม่แตก ยังสามารถให้ยาเสริมธาตุเหล็กได้ตามปกติ
วิธีกินยาธาตุเหล็ก กินยาตามวิธีที่ระบุบนฉลากยา ไม่ควรใช้ยาในขนาดที่มากหรือน้อยกว่าที่ระบุ และหากมีข้อสงสัยให้สอบถามแพทย์หรือเภสัชกร ยาน้ำเชื่อม รับประทานยาโดยตรง หรือผสมกับน้ำเปล่า/น้ำผลไม้ได้ เมื่อยาสัมผัสกับฟันจะทำให้ฟันมีสีเข้มขึ้น ควรหลีกเลี่ยงโดยผสมยากับน้ำและใช้หลอดดูด
วิธีกินยาธาตุเหล็ก กินยาขณะท้องว่างจะดูดซึมได้ดี กินก่อนอาหารอย่างน้อย 1 ชั่วโมง หรือหลังอาหารอย่างน้อย 2 ชั่วโมง ถ้ามีอาการคลื่นไส้ มวนท้อง (พบเพียง 2%) ให้กินพร้อมอาหาร กินพร้อมวิตามินซี (ผลไม้รสเปรี้ยว) จะช่วยเพิ่มการดูดซึม
วิธีกินยาธาตุเหล็ก ไม่ควรพร้อมกินนม/น้ำเต้าหู้ เพราะแคลเซียมในนม/น้ำเต้าหู้จะขัดขวางการดูดซึม กินแล้วอุจจาระจะมีสีดำ ซึ่งเป็นอาการปกติ หากลืมกินยาแบบสัปดาห์ละ 1ครั้ง ให้กินวัน ต่อมาที่นึกได้ภายในสัปดาห์นั้น
อาการอันไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา อาการอันไม่พึงประสงค์ที่ ต้องแจ้งแพทย์หรือเภสัชกร ทันที ริมฝีปาก เล็บ หรือฝ่ามือ เปลี่ยนเป็นสีเขียว ง่วงซึม ผิวเย็น ซีด ชัก ปวดท้อง รู้สึกเหนื่อยผิดปกติ หัวใจเต้นไม่ปกติ อาการอันไม่พึงประสงค์อื่นที่ อาจเกิดระหว่างใช้ยา หาก เป็นต่อเนื่องหรือรบกวน ชีวิตประจำวันให้แจ้งแพทย์ หรือเภสัชกรทราบ ท้องเสีย หรือท้องผูก อาหารไม่ย่อย คลื่นไส้ อาเจียน 18
การเก็บรักษายา เก็บยาในภาชนะบรรจุเดิมที่บรรจุมา ปิดภาชนะให้สนิท เก็บให้พ้นมือเด็ก หากพบว่าลักษณะของยามีการเปลี่ยนแปลงไปจากเดิมก่อนวันหมดอายุ เช่น สี กลิ่น รสชาติ การตกตะกอน ซึ่งอาจเกิดจากการเก็บยาไม่เหมาะสม ทำให้ยาสูญเสียความคงตัว ควรทิ้งยาไป
อาหารที่มีธาตุเหล็กสูง อาหารที่มีธาตุเหล็กสูงที่มีในธรรมชาติ จากสัตว์ เช่น ตับสัตว์ เนื้อสัตว์ ไข่ นม เลือดหมู/เป็ด/ไก่ จากพืช เช่น ถั่ว ลูกเดือย จากผักใบเขียวเข้ม เช่น คะน้า กวางตุ้ง ผักบุ้ง ตำลึง ผักโขม แต่ร่างกายดูดซึมได้น้อยกว่า ผักและผลไม้สดที่มีวิตามินซีสูง ซึ่งจะช่วยให้ธาตุเหล็กถูกดูดซึมเข้าสู่ร่างกายได้ดีขึ้น
21
ร้อยละของภาวะโลหิตจางในหญิงตั้งครรภ์ ( เป้าหมายไม่เกินร้อยละ 18) ( ร้อยละ) แหล่งข้อมูล : จากรายงานการนิเทศงานรอบ 1 สำนักตรวจประเมินผล สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ปี พ.ศ.2559 22
ภาวะโลหิตจาง ; ไม่เกินร้อยละ 10 2556 ครั้งแรก ครั้งที่2 2557 2558 2559 (6M) เชียงใหม่ 19.45 15.11 18.40 11.96 17.86 15.65 12.99 11.36 เชียงราย 17.11 9.23 18.49 8.28 16.83 10.53 12.66 7.44 ลำปาง 17.38 7.61 17.99 8.85 15.23 9.38 11.72 7.71 น่าน 12.55 13.91 9.11 9.93 9.49 11.41 8.56 9.55 พะเยา 8.57 5.95 9.0 8.38 7.36 6.24 5.25 แม่ฮ่องสอน 10.82 11.05 9.84 10.14 13.36 14.33 13.28 17.60 ลำพูน 15.35 12.31 15.19 17.01 16.95 20.34 16.54 21.51 แพร่ 21.88 23.90 18.46 18.57 23.87 21.38 23.91 23.09 เขต 17.12 12.60 16.36 10.95 16.37 13.63 13.08 11.31 31/12/61 23