Single replication Experiments งานทดลองที่ทำเพียงซ้ำเดียว

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เอกสารประกอบคำสอน อาจารย์ ดร.ศุกรี อยู่สุข
Advertisements

ADG SOV df SS MS F Trt ** Error Total Duncan’s Number of Means (p) LSR
CFA Analysis by LISREL 1.คลิก File 2. คลิก Open 3. คลิกเลือก File
แบบแผนการวิจัยเชิงทดลอง
Practical Epidemiology
Minitab for Product Quality
แผนผังคาร์โนห์ Kanaugh Map
ทฤษฎีของพีชคณิตบูลีน (Boolean algebra laws)
A Classical Apriori Algorithm for Mining Association Rules
แบบแผนการวิจัย เชิงทดลอง
Basic Experimental Design
หลักการแปลผล สรุปผล II
Expected Means Square and random effect By Mr.Wuttigrai Boonkum Department of Animal Science, Faculty of Agriculture, KKU.
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส
การทดลองสุ่มและแซมเปิ้ลสเปซ
LAB 2. การเขียนวงจรลอจิกจากสมการลอจิก
Euclidean’s Geomery.
การตรวจสอบข้อกำหนดของการวิเคราะห์ความแปรปรวน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 9 เส้นขนาน เรื่อง เส้นขนานและการนำไปใช้
พื้นฐานความน่าจะเป็น Basic Probability
Repeated Measurement Experiments
Repeated Measurement Experiments
หลักการแปลผล สรุปผล.
หน่วยการเรียนรู้ที่ 9 เส้นขนาน เรื่อง เส้นขนานและการนำไปใช้
Nested design and Expected Means Square and random effect
การวิเคราะห์ข้อมูลสูญหาย และข้อมูลที่มีซ้ำไม่เท่ากัน ด้วย GLM
ครูปพิชญา คนยืน. ทักษะ กระบวนการ ทาง คณิตศาสตร์ หน่วยการ เรียนรู้ที่ 8.
การวางแผนการทดลองทางสัตว์
Page : Stability and Statdy-State Error Chapter 3 Design of Discrete-Time control systems Stability and Steady-State Error.
รูปสามเหลี่ยมคล้ายกัน (ง่าย ๆ)
Collecting / Grouping / Sorting Data
โครงการผ่าตัดต้อกระจก ขจัดตาบอดจากต้อกระจก
การวิจัยปฏิบัติการ ในชั้นเรียน
บทที่ 10 การออกแบบรายงาน Output Design
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 7 : TCP/IP และอินเทอร์เน็ต Part3 สธ313 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทางธุรกิจ อาจารย์อภิพงศ์
สถิติอ้างอิง: ไร้พารามิเตอร์ (Inferential Statistics: Nonparametric)
บทที่ 5 การออกแบบการวิจัย
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทางการตลาด
Graph Lecturer : Kritawan Siriboon, Boontee Kruatrachue Room no. 913
วิชา ระเบียบวิธีวิจัย Research Methodology บทที่ 4 ประชาการและการสุ่มตัวอย่าง อ.สุรินทร์ทิพ ศักดิ์ภูวดล สำนักวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร.
MATRIX จัดทำโดย น.ส. ปิยะนุช เจริญพืช เลขที่ 9
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับสถิติและโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติ
Advanced Topics on Total Quality Management
ตัวแปรและสมมติฐานการวิจัย
กระบวนการปรับบรรทัดฐาน Normalization Process
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทางการจัดการโลจิสติกส์
JSON API Pentaho User Manual.
หลักเกณฑ์และวิธีการจัดเตรียมคำขอรับ สิทธิบัตร/อนุสิทธิบัตร
Problem Solving ขั้นตอนวิธีและการแก้ปัญหาสำหรับวิทยาการคอมพิวเตอร์
แนวทางการดำเนินงานเสริมสร้างและพัฒนาศักยภาพองค์กรเกษตรกร ปี 2559
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๔ อิศรญาณภาษิต By Pratchanee P. 2/2015.
ลำดับ A B C D CD AB.
JavaScript&CSS&DOM.
สถิติกับดัชนีการวัด... ในงานระบาดวิทยา
ปฏิบัติการที่ 05 การดำเนินการกับเมทริกซ์
Timing diagram ปรับปรุง 19 มีนาคม
ติว ม. 6 วันที่ 15 ก.ค 2558.
บทที่ 2 การวัด.
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
Chapter 8: Analysis of Variance : ANOVA
บทที่ 6 : อัตราส่วนตรีโกณมิติ
บทที่ 5 : ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทางการจัดการ โลจิสติกส์
การสรุปผลข้อมูล และ Action Query
ขั้นตอนการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
นางสาวกฤษฎาวรรณ ศิวิวงศ์ วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
Work Smart Award 2017 โครงการชลประทานมุกดาหาร
ระเบียบวิธีวิจัยทางการบัญชีบริหาร
งานวิจัย.
เส้นขนาน.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Single replication Experiments งานทดลองที่ทำเพียงซ้ำเดียว

Single replication Experiments Definition ใช้ในกรณีที่ผู้วิจัยมีปัจจัยที่ต้องศึกษาหลายปัจจัยพร้อมกัน มีหน่วยทดลองจำกัด โดยสามารถทำงานทดลองได้เพียง 1 ซ้ำ เช่น มีงบประมาณจำกัด / หน่วยทดลองที่ต้องการหาได้ยาก ผู้วิจัยต้องยอมสูญเสียบางอิทธิพลเพื่อใช้เป็นส่วนของ error ส่วนใหญ่จะเลือกสูญเสียอิทธิพลร่วมในระดับสูง

Single replication Experiments Statistical model และ ANOVA เขียนเหมือนงาน ทดลองแบบ factorial แต่จะไม่เขียนอิทธิพลที่ต้องสูญเสียไป เพื่อใช้เป็นส่วนของ error เช่น SOV Df Trt 10 A 1 B C D AB AC AD BC BD CD Error 5 Total 15 อิทธิพลที่สูญเสียไปได้แก่ ABC, ABD, ACD, BCD, ABCD

Single replication Experiments 22 a (1) ab b abc ac c bc 23 Rep 1 Lay Out

Single replication Experiments Data; Input A B C D observe; Cards; 0 0 0 0 135 1 0 0 0 139 0 1 0 0 135 1 1 0 0 157 0 0 1 0 133 1 0 1 0 141 0 1 1 0 103 1 1 1 0 163 0 0 0 1 206 1 0 0 1 216 0 1 0 1 207 1 1 0 1 235 0 0 1 1 207 1 0 1 1 200 0 1 1 1 209 1 1 1 1 231 Proc GLM; class A B C D; model observe = A B C D A*B A*C B*C B*D C*D; Run;

Single replication Experiments

Single replication Experiments ข้อสังเกต 1. error ที่ได้จะมีคุณสมบัติ (non-homogeneity) เนื่องจากสามารถ เลือกอิทธิพลใดๆเป็น error ได้ 2. หาก interaction มีนัยสำคัญแต่ผู้วิจัยกลับจัดเป็น error จะทำให้งานทดลอง ผิดพลาด

Fractional replication Experiments งานทดลองที่ทำเพียงบางส่วนของซ้ำ

Fractional replication Experiments Definition บางครั้งเรียกว่า fractional factorial experiments ใช้ในกรณีที่ผู้วิจัยมีปัจจัยที่ต้องศึกษาหลายปัจจัยพร้อมกัน มีหน่วยทดลองจำกัดมากๆ การศึกษาครบทุกทรีทเมนต์ทำไม่ได้ เช่น มีงบประมาณจำกัด / หน่วยทดลองที่ต้องการหาได้ยาก ผู้วิจัยต้องยอมสูญเสียบางอิทธิพลเพื่อใช้เป็นส่วนของ error ผู้วิจัยสามารถทำได้เพียง ½ , ¼ หรือ 1/8 ของซ้ำ ส่งผลให้อิทธิพลแต่ละอิทธิพลพัวพันซึ่งกันและกัน

Fractional replication Experiments Example. หากผู้วิจัย มี 16 trt แต่มี blocksize เพียง 8 16  8 จะสามารถทำได้เพียง ½ ซ้ำ 16  8  4 จะสามารถทำได้เพียง ¼ ซ้ำ 16  8  4 2 จะสามารถทำได้เพียง 1/8 ซ้ำ ต้องหา defining contrast (I) 1 ตัว ต้องหา defining contrast (I) 2 ตัวและจะต้องมี 1 GI ต้องหา defining contrast (I) 3 ตัวและจะต้องมี 3 GI

Fractional replication Experiments ในลำดับต่อมาต้องหา Defining contrast (I) คือ อิทธิพลที่ confound ซึ่งไม่สามารถทำการทดสอบได้ Alias effects อิทธิพลอื่นๆที่ต้องการทดสอบแต่พัวพันธ์ซึ่งกันและกัน

Fractional replication Experiments Example สมมุติว่ากำหนดให้ ABCD เป็น defining contrast (I) ในการหา alias effects สามารถหาได้จาก นำเอา defining contrast (I) มาคูณเข้ากับอิทธิพลต่างๆโดยใช้หลักการ modulus 2 เช่น I * A = ABCD*A = A2BCD = BCD I * B = ABCD*B = AB2CD = ACD I * C = ABCD*C = ABC2D = ABD I * AB = ABCD*AB = A2B2CD = CD

Fractional replication Experiments SOV Df A (=BCD) 1 B (=ACD) C (=ABD) D (=ABC) Error residuals Total n-1 นิยมศึกษา เฉพาะอิทธิพลหลัก alias effect จากตัวอย่างหน้า 241 ใน SAS book ผู้วิจัยต้องยอมเสียอิทธิพลบ้างตัวเพื่อใช้เป็น error

Fractional replication Experiments

แผนการทดลองแบบแลททิซ Lattice design แผนการทดลองแบบแลททิซ

Lattice Design จัดเป็นแผนการทดลองแบบบล็อกไม่สมบูรณ์ประเภทหนึ่ง มีข้อกำหนดว่า t = k2 (t = treatment, k = block size) นิยมทำมากกว่า BIB เนื่องจากเขียน layout ได้ง่ายกว่า

ประเภทของแผนการทดลองแบบ Lattice Balanced Lattice Design แผนการทดลองแบบแลททิซสมดุล Balanced Lattice Square Design แผนการทดลองแบบจัตุรัสแลททิซสมดุล 3. Rectangular Lattice Design แผนการทดลองแบบเรคแทนกูลาร์แลททิซ

1. Balanced Lattice Design  บางครั้งเรียกว่า Balanced Simple Lattice Design  เป็นแผนการทดลองแบบ BIB ที่มีจำนวน t = k2  และสามารถจัดกลุ่มของบล็อกเป็นซ้ำได้ (Replicated Groups) การปรากฏร่วมของคู่ทรีทเมนต์จะมีเพียงครั้งเดียว ( = 1)  การสร้างผังการทดลอง 1. สร้างผังการทดลองแบบจัตุรัสเกรโค ที่มีขนาด k x k (สมมุติให้ k = 3) จากนั้นระบุหมายเลขทรีทเมนต์เรียงลำดับจาก 1,2,…,t ลงในแต่ละ เซลล์ (ในที่นี้ t = 9 เนื่องจาก t = k2) ได้ผลดังตาราง

1. Balanced Lattice Design Col1 Col2 Col3 Row1 A 1 α B 2 β C 3 γ Row2 4 5 6 Row3 7 8 9 Row = Column = Trt = Greek

1. Balanced Lattice Design 2. จัดทรีทเมนต์ลงในแต่ละบล็อกสำหรับแต่ละซ้ำ แยกตามแถว, คอลัมน์, และชนิดตัวอักษร Rep Blk Trt Note 1 2 3 Row1 4 5 6 Row2 7 8 9 Row3 Col1 Col2 Col3 Letter A Letter B Letter C 10 Letter α 11 Letter β 12 Letter γ

Layout Rep1 Rep2 Rep3 Rep4 blk1 1 2 3 4 5 6 7 8 9 blk2 blk3 blk4 blk5

1. Balanced Lattice Design จำนวนซ้ำสามารถคำนวณได้จาก k+1 จำนวนกลุ่มอักษร (letter) คำนวณได้จาก k-1 TRT 9 16 25 49 64 Block Size 3 4 5 6 7 Rep 8 Letter 2

1. Balanced Lattice Design ANOVA SOV Df Replication r-1 Treatment k2-1 Block(rep) r(b-1) Error residuals Total n-1 Statistical model

2. Balanced Lattice Square Design มีลักษณะคล้ายกับ balanced lattice design (t=k2) สามารถจัดกลุ่มบล็อกเป็นซ้ำได้และการปรากฏร่วมของคู่ทรีทเมนต์จะมีเพียงครั้งเดียว (=1) แต่ใช้ในกรณีที่ผู้วิจัยสามารถแยกความผันแปรของหน่วยทดลองภายในบล็อกเพิ่มขึ้นได้อีก 1 ทาง หลักการสร้างผังการทดลองมีดังนี้ วางผังการทดลองแบบจตุรัสเกรโค

2. Balanced Lattice Square Design Col1 Col2 Col3 Row1 A 1 α B 2 β C 3 γ Row2 4 5 6 Row3 7 8 9 Row = Column = Trt = Greek

2. Balanced Lattice Square Design 2. จัดทรีทเมนต์ลงในแต่ละบล็อกสำหรับแต่ละซ้ำ แยกตามแถว, คอลัมน์, และชนิดตัวอักษร Rep Blk Trt Note 1 2 3 Row1 4 5 6 Row2 7 8 9 Row3 Col1 Col2 Col3 1 (Aα) 6 (Aβ) 8 (Aγ) Letter A 9 (Bα) 2 (Bβ) 4 (Bγ) Letter B 5 (Cα) 7 (Cβ) 3 (Cγ) Letter C 10 1 (αA) 9 (αB) 5 (αC) Letter α 11 6 (βA) 2 (βB) 7 (βC) Letter β 12 8 (γA) 4 (γB) 3 (γC) Letter γ Order by greek letter Order by eng letter

2. Balanced Lattice Square Design ANOVA SOV Df Replication r-1 Treatment k2-1 row(rep) Column(rep) r(r-1) r(c-1) Error residuals Total n-1 Statistical model

3. Rectangular Lattice Design เป็นแผนการทดลองแบบ BIB ที่มีจำนวน trt = k(k+1) สามารถจัดกลุ่มบล็อกเป็นซ้ำได้และการปรากฏร่วมของคู่ทรีทเมนต์จะมีเพียงครั้งเดียว (=1) หลักการสร้างผังการทดลองมีดังนี้ สร้างผังการทดลองแบบจตุรัสลาตินขนาด (k+1)x(k+1)

3. Rectangular Lattice Design Col1 Col2 Col3 Col4 Row1 A B 1 C 2 D 3 Row2 4 5 6 Row3 7 8 9 Row4 10 11 12 A C D B

3. Rectangular Lattice Design Rep Blk Trt Note Group 1 2 3 Row1 X 4 5 6 Row2 7 8 9 Row3 10 11 12 Row4 Col1 Y Col2 Col3 Col4 Letter A Z Letter B Letter C Letter D

ข้อสังเกต ผู้วิจัยไม่สามารถจัดให้ทุกทรีทเมนต์สมดุลได้ โดยแต่ละชุดของทรีทเมนต์จะมีลักษณะอิสระต่อกัน ดังนั้นผู้วิจัยสามารถเลือกวิเคราห์เพียง 2 ซ้ำ หรือ 3 ซ้ำก็ได้ หากเลือกทำเพียง 2 ซ้ำจะเรียกว่า simple rectangular lattice หากเลือกทำเพียง 3 ซ้ำจะเรียกว่า tripple rectangular lattice

3. Rectangular Lattice Design ANOVA SOV Df Replication r-1 Treatment k2-1 block(rep) r(b-1) Error residuals Total n-1 Statistical model

สรุป งานทดลองแบบ BIB, Latiice, Confounding, Single replication และ Fractional เป็นงานทดลองที่พบได้น้อยมาก แต่จะช่วยในผู้วิจัยสามารถทำงานทดลองต่อไปได้ หากไม่จำเป็นไม่ควรเลือกใช้เพราะผู้วิจัยต้องสูญเสียบางอิทธิพลไป หากอิทธิพลที่สูญเสียไปเป็นอิทธิพลที่สำคัญจะทำให้งานทดลองขาดความน่าเชื่อถือได้

สวัสดี