การใช้ทฤษฎีในงานวิจัย

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ประชากร (Population) จำนวน N สุ่ม (Random) กลุ่มตัวอย่าง (Sample)
Advertisements

การตั้งสมมติฐานและตัวแปร
Chapter 7: Point Estimation
การออกแบบการสุ่มตัวอย่าง (sampling design)
Practical Epidemiology
สถิติ Statistics โดย น.ท.อนุรักษ์ โชติดิลก
สถิติในการวัดและประเมินผล
วิจัย (Research) คือ อะไร
Synthetic Analytic (การมองภาพรวม / ใหญ่ โดยเกิดจากการที่เรา (การมองภาพย่อย เกิดจากการที่เราเริ่มรู้สาเหตุ
ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตร วิชาชีพ ชั้นปีที่ 2 สาขางานการขาย รวมพร ประพฤติธรรม ผู้วิจัย วิทยาลัยเทคโนโลยีตั้งตรงจิตรพณิชย การ.
ระเบียบวิธีวิจัยทางการบัญชีบริหาร
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทางการเงิน
การวิจัยปฏิบัติการ ในชั้นเรียน
การวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติ เพื่อการทำวิจัยอย่างง่าย
สถิติอ้างอิง: ไร้พารามิเตอร์ (Inferential Statistics: Nonparametric)
บทที่ 5 การออกแบบการวิจัย
การออกแบบปัญหาการวิจัย
บทที่ 9 การกำหนดขนาดของตัวอย่าง
สถิติในชีวิตประจำวัน : Statistics in Everyday life
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ คุณภาพของเครื่องมือวัด
การวัดและประเมินผลการศึกษา
การวิจัยเชิงปริมาณ ดร.บรินดา สัณหฉวี.
รายวิชาชีวสถิติ (Biostatistics)
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทางการตลาด
การสร้างเครื่องมือในการวิจัย (Instrument)
ระเบียบวิธีวิจัยทางธุรกิจโรงแรม และท่องเที่ยว
การวิเคราะห์เชิงปริมาณเบื้องต้น
บทที่ 3 ตัวแปรและสมมติฐาน.
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทางธุรกิจระหว่างประเทศ
วิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Research)
บทที่ 7 การสุ่มตัวอย่าง.
การวิจัยเชิงทดลอง (Experimental Research)
ประเภทของการวิจัย อาจารย์พุทธิวัฒน์ ไวยวุฒิธนาภูมิ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับสถิติและโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติ
สถิติเพื่อการวิจัยและ วิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ
บทที่ 10 สถิติเชิงบรรยาย
ระเบียบวิธีวิจัยทางการบัญชีบริหาร
บทที่ 5 หลักการประมาณค่าและการทดสอบสมมติฐาน
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทางการตลาด
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทางการเงิน
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทางการจัดการโลจิสติกส์
ขั้นตอนการทำโครงงานวิจัย
วิจัยทางการพยาบาล ดร.อัญชลี จันทาโภ.
ระเบียบวิธีวิจัยทางธุรกิจโรงแรมและท่องเที่ยว
การรวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูลสถิติ
ข้อมูล และ เครื่องมือเก็บข้อมูลเชิงปริมาณ
บทที่ 4 ตัวแปรและสมมติฐานการวิจัย
ระเบียบวิธีวิจัยทางการบัญชีบริหาร
วิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ ครั้งที่ 4
ระเบียบวิธีวิจัยทางการบัญชี
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทางการตลาด
ระเบียบวิธีวิจัยทางธุรกิจโรงแรมและท่องเที่ยว
บทที่ 4. ผศ.ดร.จันทร์เพ็ญ มีนคร
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทางธุรกิจ
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทางการจัดการโลจิสติกส์
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทางการจัดการ โลจิสติกส์
การเลือกใช้สถิติเพื่อการวิจัย
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทางธุรกิจระหว่างประเทศ
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทางธุรกิจ
บทที่ 4 การกำหนดกรอบแนวคิดตัวแปร และสมมติฐานของการวิจัย
ผู้วิจัย : สุภาพร อภิพันธุ์
การนำเสนอผลงานการวิจัยครั้งที่ ๘
ระเบียบวิธีวิจัยทางการบัญชีบริหาร
ระเบียบวิธีวิจัยทางรัฐประศาสนศาสตร์3
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทางการเงิน
งานวิจัย.
ระเบียบวิธีวิจัยทางการบัญชีบริหาร
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทางธุรกิจ
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทางการตลาด
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การใช้ทฤษฎีในงานวิจัย รองศาสตราจารย์บรรพต พรประเสริฐ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎยะลา

+ Research Design Controlling Qualitative Quantitative Conceptual Framework Sampling technique Variables Population Sample Probability Sampling Non Probability Sampling Independent Dependent Instrumental Parameter Statistic Confounding Research Design Intervening Extraneous Statistic Parameter Non parameter Qualitative Quantitative Controlling Validity Descriptive Inferential -Historical -Descriptive -Experimental Measurement *Nominal *Ordinal *Interval *Ratio Threats of External Validity + Estimate Test Measurement Error -Random -Bias Threats of Internal Validity

อะไรคือกรอบแนวความคิดในการวิจัย ความคิดของผู้วิจัยเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรต่าง ๆ ที่ผู้วิจัยได้กำหนดไว้เป็นข้อสมมติฐานในการศึกษาและวิจัยแต่ละครั้ง

กรอบแนวความคิดไม่ใช่ขอบเขตการวิจัย !! เพราะขอบเขตการวิจัย หมายถึง การระบุสาระหรือวัตถุประสงค์หรือประเด็นต่าง ๆ ที่ผู้ที่จะทำการวิจัยไม่ต้องการจะศึกษาหรือการจำกัดลักษณะของประชากรที่เป็นเป้าหมายของการศึกษา

ความหมายทางสังคมศาสตร์ กรอบของการวิจัยในด้านเนื้อหาสาระที่ผู้วิจัยต้องการศึกษาในเรื่องนั้น ๆ ซึ่งประกอบด้วยตัวแปรและความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร

กรอบแนวความคิดเชิงอธิบาย กรอบแนวความคิดนอกเหนือจากจะระบุว่ามีตัวแปรอะไรบ้างที่จะต้องใช้ในการวิจัยแล้ว ยังต้องระบุด้วยว่าตัวแปรเหล่านี้มีความสัมพันธ์กันอย่างไร

ปัจจัยที่มีผลต่อการออกจากงาน ความเป็นมืออาชีพ ความพอใจในงาน ความผูกพันต่อองค์การ การออกจากงาน รางวัลสิ่งตอบแทน

แบบพรรณนาความ เป็นลักษณะการเขียนแบบบรรยายความเพื่อแสดงให้เห็นว่า (ก) ในการวิจัยนี้มีตัวแปรอะไรบ้างที่สำคัญเกี่ยวข้องกับปัญหาหรือประเด็นการวิจัย (ข) ตัวแปรเหล่านี้มีความสัมพันธ์กับตัวแปรตามอย่างไร และ (ค) มีเหตุผลหรือทฤษฎีใดมาสนับสนุน

แบบจำลอง V = a + b1I + b2E + b3O ส่วนใหญ่มักใช้สัญลักษณ์หรือสมการระบุความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรอิสระกับตัวแปรตาม V = a + b1I + b2E + b3O โดยที่ V = การลงคะแนนเสียง I = รายได้ E = การศึกษา O = อาชีพ

แบบแผนภาพ รายได้ การศึกษา การลงคะแนนเสียง อาชีพ

ที่มาของกรอบแนวความคิดในการวิจัย ทฤษฎีต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง ผลงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง แนวความคิดของผู้วิจัยเอง

เกิดอะไรกับการไม่มีทฤษฎีในงานวิจัย ?? การไม่อ่านงานวิจัยหรือทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับงานวิจัยที่กำลังศึกษาอยู่นั้น นับว่าเป็นการ “ทรยศ” ต่อคำว่า “Research” ซึ่งแปลว่าการแสวงหาครั้งใหม่ในเรื่องที่มีผู้ค้นคว้าล่วงหน้ามาแล้ว การอัญเชิญแนวคิด/ทฤษฎี/งานวิจัยที่เกี่ยวข้องมาประดับไว้โดยไม่ได้ใช้งานเลย ก็เท่ากับว่าเป็นการลบหลู่ทฤษฎีงานวิจัยที่ล่วงหน้ามาก่อนโดยแท้

ทฤษฎีคืออะไร ในขณะที่สรรพสิ่งต่าง ๆ ในโลกล้วนถูกวางไว้อย่างสะเปะสะปะ เช่นการขึ้นลงของน้ำในแม่น้ำ การเว้าแหว่ง/เต็มดวงของดวงจันทร์ ฯลฯ...ทฤษฎีคือคำอธิบายที่จะแสดงให้เห็นว่ามีอะไรบ้างที่เชื่อมโยง/สัมพันธ์กัน สัมพันธ์ได้อย่างไรและทำไม เช่นทฤษฎีแรงดึงดูดของโลกที่อธิบายความสัมพันธ์ระหว่างการขึ้นลงของแม่น้ำและการเว้าแหว่งของดวงจันทร์เป็นต้น

ความสัมพันธ์(Relation) ความสัมพันธ์เป็นสิ่งที่สำคัญที่สุดในงานวิจัย โดยที่ความสัมพันธ์นั้น อาจมองเห็นได้(Visible Relation) เช่น การต่อสายโทรศัพท์ที่มีความสัมพันธ์อย่างชัดเจน หากสายสัมพันธ์ขาดหายก็จะเห็นได้ในทันที ความสัมพันธ์อีกประเภทมองไม่เห็น (Invisible Relation) ความสัมพันธ์แบบนี้ เมื่อแปรเปลี่ยนไปจะมองไม่เห็นด้วยตา แต่อาจมองเห็นได้ด้วยตาแห่งปัญญา คือการวิเคราะห์ สังเคราะห์

ลำดับความสำคัญของทฤษฎี รัก เธอ จน ตาย รัก จน เธอ ตาย

ทฤษฎีทำหน้าที่อะไร ไฟฉายส่องความจริงให้เห็นภาพแห่งความเป็นจริง เลนซ์มองปรากฏการณ์ที่กำลังเกิดขึ้น

ตัวอย่าง หน้าจอ/การรับรู้ ฐานคิด 1.ผู้ชายเป็นช้างเท้าหน้า หญิงเป็นช้างเท้าหลัง Leadership 2.ผู้ชาย/ผู้หญิงเป็นล้อทั้ง สองข้างของเกวียน Equality 3.ชายเป็นแห หญิงเป็นข้อง ชายก่อ หญิงสาน Complementary 4.ผู้ชายคือผู้หญิงที่มีวิวัฒนาการมาสู่วัฒนธรรมที่สูงกว่า Evolutionism

คำถาม ?? วิทยานิพนธ์ที่นักศึกษากำลังศึกษา มีฐานความคิดทฤษฏีอะไร ใครเป็นผู้คิดขึ้น ความเชื่อเบื้องต้นของทฤษฎีนี้คืออะไร หลักการสำคัญของทฤษฎีคืออะไร การนำทฤษฎีนี้มาใช้ ใช้อย่างไร ส่วนไหนที่นำมาใช้ในงานวิจัย

สิ่งที่จะต้องทบทวนเบื้องต้น ทฤษฎีที่จะนำมาใช้ในการวิจัยครั้งนี้ มีทฤษฎีอะไรบ้าง รายละเอียดเกี่ยวกับข้อสมมติเบื้องต้นและหลักการสำคัญของทฤษฎี การนำทฤษฎีไปใช้ในการปฏิบัติงานจริง ทำได้อย่างไรบ้าง

งานที่มอบหมาย ศึกษางานวิจัยด้านการศึกษาปฐมวัย 1 เล่ม ค้นหาว่างานวิจัยเล่มนี้ ใช้ทฤษฎีอะไรเป็นพื้นฐานในการคิด จากทฤษฎีดังกล่าว ผู้วิจัยนำมาประยุกต์ใช้ในงานวิจัยอย่างไร (สร้างเป็นเครื่องมือ/ชุดการสอน/นวัตกรรม) ผู้วิจัยมีข้อสรุปอย่างไรกับทฤษฎีที่นำมาใช้ในงานวิจัยนั้น

รายงานที่นำส่ง รายการ รายละเอียดในรายงาน 1. ทฤษฎีที่นำมาใช้ (แสดงทุกทฤษฎี) รายละเอียดของทฤษฎี 1.ชื่อเจ้าของ 2.ประวัติความเป็นมา 3.สาระสำคัญของทฤษฎี 2.สิ่งที่นำมาปรับใช้ในงานวิจัย 2.รายละเอียดของงาน (นวัตกรรม,ชุดการสอน,แผนการสอน,อุปกรณ์การสอน ฯลฯ)---นำมาแสดงให้เห็นทั้งหมด 3.วิธีการการตรวจสอบทฤษฎี 3.วิธีการที่ผู้วิจัยนำทฤษฎีดังกล่าวมาประยุกต์ใช้และทำการตรวจสอบว่าได้ผลตามที่ระบุไว้ในทฤษฎีหรือไม่ 4.ผลที่ได้รับจากการวิจัย 4.สรุปผลที่ได้จากการวิจัย สรุปจากทฤษฎีว่าเป็นอย่างไร 5.สรุปผลจากการศึกษา 5.ให้นักศึกษาสรุปความจากการศึกษางานวิจัยดังกล่าวนี้ ในประเด็นของการนำทฤษฎีมาปรับใช้ว่าสามารถแก้ปัญหาได้มากน้อยเพียงใด และนักศึกษาจะนำทฤษฎีดังกล่าวนี้ไปประยุกต์ใช้อย่างไร

ลักษณะรายงาน เป็นรายงานเดี่ยว 1 คน 1 เรื่อง พิมพ์ด้วยกระดาษ A4 จัดทำเป็นรูปเล่มมีปกรายงาน