วาระประชุมเดือนกันยายน 2559

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การจัดหาและกระจายวัคซีน MMR เพื่อการป้องกัน/ควบคุมโรคหัด
Advertisements

สถานการณ์โรคโรคที่ต้องเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา
การคิดจัดสรรงบ PPE ปี 2556 การคิดจัดสรรงบ PPE ปี 2556 รายการงบ วงเงิน
การตั้งค่าวัคซีน.
“การขยายโรงงานผลิตวัคซีนวัณโรค สู่มาตรฐานสากล”
นโยบายการดำเนินงาน สร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคด้วยวัคซีน
การจัดทำรายงาน โครงการนำร่องการให้บริการ วัคซีน LAJE ใน 8 จังหวัด ภาคเหนือตอนบน พอพิศ วรินทร์เสถียร กลุ่มโรคติดต่อที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีนฯ สำนักโรคติดต่อทั่วไป.
Live Attenuated JE Vaccine
การประเมินมาตรฐานด้าน การบริหารจัดการวัคซีนและ
การตรวจสอบข้อมูลการให้วัคซีน แฟ้ม EPI
งานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค ปี 2555
มาตรฐานการบันทึกข้อมูล
การสร้างเสริม ภูมิคุ้มกันโรค
ศุภวัฒน์ อิ่มเจริญ ภม.(การจัดการเภสัชกรรม) 15 กุมภาพันธ์ 2555
ทิศทาง..... งานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค ปี 2558
นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ
โครงการกวาดล้างโปลิโอและโรคหัด Polio and Measles Eradication Projects
วัคซีนป้องกันโรคหัด.
พญ. ปิยนิตย์ ธรรมาภรณ์พิลาศ
 รอบ 3 เดือน,พัฒนาบุคลากร เครือข่ายคณะกรรมการในระดับจังหวัด อำเภอ ตำบล วางแนวทางการ ดำเนินงาน  รอบ 6 เดือน ดำเนินงานตามมาตรฐาน การเฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรคไข้หวัด.
แผนงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค กระทรวงสาธารณสุข
การประเมินคุณภาพการให้รหัสโรค
ความคืบหน้าการจัดทำ ร่าง-ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ นพ.ยงยศ ธรรมวุฒิ ที่ปรึกษาระดับกระทรวง นายแพทย์ทรงคุณวุฒิ
Flow chart การบริการคลินิกสุขภาพเด็กดี รพ.สต อ.เมือง จ.ขอนแก่น
ความเป็นมาของโครงการนำร่องวัคซีน JE ชนิดเชื้อเป็นอ่อนฤทธิ์ SA
Direction of EPI vaccine in AEC era
วัคซีนไข้หวัดใหญ่ Seasonal Flu Vaccine.
มาตรฐานที่ ๒ การให้บริการวัคซีน
มาตรฐานการดำเนินงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค
การบริหารจัดการคลังวัคซีน และระบบลูกโซ่ความเย็น
แนวทางการให้บริการวัคซีน Rota
การให้บริการวัคซีนไวรัสโรต้า ในแผนงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค
27 ปี งานกวาดล้างโปลิโอ รณรงค์ OPV ประจำปี
ขอต้อนรับ อธิบดีกรมควบคุมโรค
แนวทาง การให้บริการวัคซีนโปลิโอ
แนวทางการบริหารจัดการวัคซีน ไข้สมองอักเสบเจอีชนิดเชื้อเป็นอ่อน ฤทธิ์ สายพันธุ์ SA Lived Attenuated Japanese Encephalitis SA
เมื่อเข้าสู่โปรแกรมจะแสดงหน้าจอสำหรับตรวจสอบสิทธิผู้ปฏิบัติงาน รหัสที่ใช้ต้องเป็นรหัสนายทะเบียนหรือผู้ช่วยนายทะเบียน และต้องมีสิทธิในการใช้งานฐานข้อมูลทะเบียนราษฎร.
เอมอร ราษฎร์จำเริญสุข
การปรับรหัสวัคซีนในงาน EPI
กลุ่มที่ 3 : Scenario 3.
วิชา วิทยาศาสตร์เพื่อคุณภาพชีวิต
การสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค (Expanded Program on Immunization)
โรคไข้เลือดออก เห็ดพิษ รณรงค์วัคซีนไข้หวัดใหญ่ คลีนิกวัคซีนผู้ใหญ่
PM4 งานคุ้มครองผู้บริโภค สิ่งแวดล้อม และควบคุมโรค
เป้าหมายการพัฒนางานวัยรุ่น ปี 2560
แนวทางการให้บริการวัคซีนโปลิโอ
โดย ภญ. ปิยะนาถ เชื้อนาค สำนักโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค
แนวทางการดำเนินงานให้วัคซีน
กลุ่มงานควบคุมโรค (งานโรคติดต่อ).
เพื่อการพัฒนาการเกษตรอย่างยั่งยืน
การเก็บกลับและทำลาย Trivalent OPV
แบบมาตรฐานระบบบำบัดน้ำเสียแบบได้ก๊าซชีวภาพ สำหรับฟาร์มสุกร
การเฝ้าระวังอาการภายหลังได้รับการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค
การพัฒนาคุณภาพข้อมูลสุขภาพ จังหวัดสระแก้ว
การขับเคลื่อนการกวาดล้างโรคโปลิโอ ในฉากสุดท้ายของประเทศไทย
ตัวชี้วัด (KPI EPI Template))
สาขาการพัฒนาเครือข่าย สุขภาพอำเภอและบริการปฐมภูมิ เขตสุขภาพที่ 2
แนวทางการดำเนินงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค ปี 2560
การบริหารระบบลูกโซ่ความเย็น ในระบบยา
การบริหารจัดการวัคซีนป้องกันโรคโปลิโอ และระบบลูกโซ่ความเย็น
การเก็บกลับและทำลาย Trivalent OPV
แนวทางการดำเนินงานให้วัคซีน ชนิดเชื้อเป็นอ่อนฤทธิ์สายพันธุ์ SA
แนวทางปฏิบัติด้านการเงินของ ศบท. ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2562
การปรับเปลี่ยน การใช้วัคซีนโปลิโอ
เอมอร ราษฎร์จำเริญสุข
โครงการพัฒนารูปแบบการให้วัคซีนในผู้ใหญ่ (Adult Vaccination Clinic)
การปฏิบัติงานด้านสาธารณสุข ปี ๒๕๖๑ จังหวัดสกลนคร ครั้งที่ ๑
ข้อมูล EPI จาก HDC ณ วันที่ 23 กุมภาพันธ์ 2560
กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสระแก้ว
งบบริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค (P&P) ปี 2562
ใบสำเนางานนำเสนอ:

วาระประชุมเดือนกันยายน 2559 งานควบคุมโรค

ตารางสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคของประเทศไทย อายุ ชนิดวัคซีน แรกเกิด BCG, HB1 2 เดือน OPV1, DTP-HB1 4 เดือน IPV1, OPV2, DTP-HB2 6 เดือน OPV3, DTP-HB3 9 เดือน MMR1 1 ปี JE1-2 (เชื้อตาย) หรือ LAJE1 (เชื้อเป็น) 18 เดือน OPV4, DTP4 2 ปี 6 เดือน MMR2 , JE3 (เชื้อตาย) หรือ LAJE2 (เชื้อเป็น) 4 ปี OPV5, DTP5 7 ปี (นร.ป.1) BCG, dT, OPV, MR เฉพาะรายที่รับไม่ครบ 12 ปี (นร.ป.6) dT หญิงตั้งครรภ์ dT (ตามประวัติการได้รับวัคซีนในอดีต) เจ้าหน้าที่, กลุ่มเสี่ยง Influenza (ประจำฤดูกาล, ประจำปี)

กลุ่มเป้าหมายการให้วัคซีนโปลิโอ ให้ IPV 1 ครั้ง แก่เด็กอายุ 4 เดือน ทุกคน ครั้งที่ อายุ ชนิดของวัคซีนโปลิโอ 1 2 เดือน OPV1 และ DTP-HB1 2 4 เดือน IPV , OPV2 และ DTP-HB2 3 6 เดือน OPV3 และ DTP-HB3 4 1 ปี 6 เดือน OPV4 และ DTP4 5 4 ปี OPV5 และ DTP5 + กลุ่มเป้าหมายในการให้วัคซีน IPV เด็กที่มีอายุตั้งแต่ 4 เดือน ขึ้นไป ทุกคน ทั้งที่อยู่ในและนอกพื้นที่ที่รับผิดชอบตามกำหนดการให้วัคซีน กรณีที่เด็กมารับวัคซีน OPV ครั้งแรกล่าช้าหลังอายุ 4 เดือน เป็นต้นไป ขอให้ฉีดวัคซีน IPV พร้อมกับหยอดวัคซีน OPV ในครั้งแรกที่พบ และหยอดวัคซีน OPV ต่ออีก 4 ครั้งตามกำหนดการเดิม ถ้าเด็กมารับวัคซีน OPV ครั้งแรกล่าช้าหลัง 4 เดือน ให้ฉีด IPV ในครั้งแรก และ ให้วัคซีนอื่นๆ ต่อตามกำหนดการเดิม กรณีเด็กอายุเกิน 4 เดือน ได้รับ OPV มาแล้วอย่างน้อย 2 ครั้ง ไม่ต้องฉีด IPV

ฉีดเข้าชั้นกล้ามเนื้อ การให้บริการ IPV OPV ฉีดเข้าชั้นกล้ามเนื้อ ขนาดครั้งละ 0.5 มล. หยอดวัคซีน ครั้งละ 2 – 3 หยด + การให้บริการ 1 ให้วัคซีน IPV โดยการฉีดเข้าชั้นกล้ามเนื้อ ขนาดครั้งละ 0.5 มล. 2. ให้วัคซีน OPV ให้หยอดวัคซีน 2 – 3 หยดขึ้นกับ เอกสารกำกับยา ทั้งนี้ กำหนดให้ทุกสถานบริการทั่วประเทศให้บริการวัคซีน Trivalent OPV ครั้งสุดท้ายภายในวันที่ 22 เมษายน 2559 และเริ่มให้วัคซีน Bivalent OPV ตั้งแต่วันที่ 29 เมษายน 2559 เป็นต้นไป

การคาดประมาณกลุ่มเป้าหมาย คาดประมาณการจำนวนเด็กที่ให้บริการแต่ละครั้งจาก 1. รายชื่อเด็กที่นัด ทั้งเด็กที่อยู่ในและนอกพื้นที่ที่รับผิดชอบ 2. เด็กที่ไม่ได้มาตามนัดในครั้งที่ผ่านมา 3. เด็กที่ไม่ได้นัดที่อาจเข้ามาขอรับวัคซีน เพื่อคำนวณ ปริมาณวัคซีน IPV และ OPV ที่ต้องใช้ทั้งหมด การคาดประมาณปริมาณการใช้วัคซีน ให้เจ้าหน้าที่ประมาณการจำนวนเด็กที่ให้บริการในแต่ละครั้งจาก รายชื่อเด็กที่นัดทั้งเด็กที่อยู่ในและนอกพื้นที่ที่รับผิดชอบ เด็กที่ไม่ได้มาตามนัดในครั้งที่ผ่านมา เด็กที่ไม่ได้นัดที่อาจเข้ามาขอรับวัคซีน เพื่อคำนวณปริมาณวัคซีน IPV และ OPV ที่ต้องใช้ทั้งหมด แล้วประมาณการวัคซีนตามที่กล่าวในหัวข้อ “แนวทางการบริหารจัดการวัคซีนและระบบลูกโซ่ความเย็น”

หลังการให้บริการ สังเกตอาการภายหลังได้รับวัคซีนอย่างน้อย 30 นาที เก็บขวดวัคซีนที่เปิดใช้แล้วในตู้เย็นอย่างน้อย 7 วัน 3. สังเกตอาการภายหลังได้รับวัคซีนอย่างน้อย 30 นาที 4. ทิ้งวัสดุอุปกรณ์ที่ใช้แล้ว - ไม่ควรดึงเข็มจากไซริงค์ ควรนำไซริงค์ที่มีเข็มติดอยู่ทิ้งลงในภาชนะพลาสติกหนาที่เข็มไม่สามารถแทงทะลุได้ รวมทั้งอุปกรณ์อื่น ที่ใช้ในการให้วัคซีน ให้เก็บรวบรวมไว้แล้วทำลายแบบขยะติดเชื้อ เนื่องจากกระบวนการปรับเปลี่ยนการใช้วัคซีนโปลิโอในครั้งนี้ จะต้องทำลายวัคซีน tOPV ให้หมดไปภายในวันที่ 28 เม.ย. 2559 วันที่ 1 ถึง 22 เม.ย. เมื่อให้บริการฉีดวัคซีนแล้ว ขอให้รวบรวม tOPV ส่งคลังวัคซีน ภายในวันที่ 25 เม.ย. 59 เพื่อนำส่งต่อไป สสจ เพื่อทำลายให้เสร็จสิ้นภายในวันที่ 28 เม.ย. 59

การบันทึกข้อมูล 1. บันทึกข้อมูลการให้วัคซีนรายบุคคล รวมทั้งเลขที่วัคซีน (lot.no.) และ ลำดับขวดวัคซีน เพื่อตรวจสอบกรณีเกิด AEFI 2. บันทึกการได้รับวัคซีน IPV และ OPV ในสมุดบันทึกสุขภาพแม่และเด็ก 3. บันทึกการให้บริการวัคซีน IPV และ OPV เป็นรายบุคคลผ่านฐานข้อมูล 43 แฟ้ม

บันทึกการได้รับวัคซีน บันทึกการได้รับวัคซีน IPV ในสมุดสีชมพู การบันทึกข้อมูล 16 สค 58 16 สค 58 บันทึกการได้รับวัคซีน IPV และ OPV ในสมุดบันทึก สุขภาพแม่และเด็ก 22 ตค 58 24 ธค 58 IPV 4 เดือน 24 ธค 58 บันทึกการได้รับวัคซีน IPV ในสมุดสีชมพู

รหัสที่ใช้บันทึก (มาตรฐาน สนย.) ชื่อวัคซีนภาษาอังกฤษ การบันทึกข้อมูล รหัสวัคซีน IPV-P ครั้งที่ 1 ใช้เลขรหัสวัคซีน 401 OPV ครั้งที่ 1 ใช้เลขรหัสวัคซีน 081 OPV ครั้งที่ 2 ใช้เลขรหัสวัคซีน 082 OPV ครั้งที่ 3 ใช้เลขรหัสวัคซีน 083 OPV ครั้งที่ 4 ใช้เลขรหัสวัคซีน 084 OPV ครั้งที่ 5 ใช้เลขรหัสวัคซีน 085 ICD-10-TM ใช้รหัส Z24.0 รหัสที่ใช้บันทึก (มาตรฐาน สนย.) รหัสวัคซีน ชื่อวัคซีนภาษาอังกฤษ ชื่อวัคซีนภาษาไทย ประเภท อายุ(เดือน) ชื่อโรคที่ป้องกัน รหัส ICD_10 _TM 401 IPV-P ไอพีวี-พี ฉีด 4 เดือน โปลิโอ Z24.0

การจัดทำรายงาน 1. กลุ่มอายุครบ 1 ปี ประเมินการได้รับ OPV3 เด็กกลุ่มเป้าหมายต้องได้รับวัคซีนโปลิโอ ครอบคลุมไม่ต่ำกว่าร้อยละ 90 ทุกพื้นที่ (หมู่บ้าน/ตำบล/อำเภอ/จังหวัด) 1. กลุ่มอายุครบ 1 ปี ประเมินการได้รับ OPV3 การจัดทำรายงาน ขอให้สถานบริการจัดทำรายงานความครอบคลุมการได้รับวัคซีนโปลิโอเป็นรายไตรมาสเพื่อประเมินผลการป้องกันควบคุมโรคในพื้นที่ ซึ่งกำหนดให้เด็กกลุ่มเป้าหมายต้องได้รับวัคซีนโปลิโอ ครอบคลุมไม่ต่ำกว่าร้อยละ 90 ทุกพื้นที่ (หมู่บ้าน/ตำบล/อำเภอ/จังหวัด) กลุ่มอายุครบ 1 ปี ประเมินการได้รับวัคซีนโปลิโอครบ 3 ครั้ง กลุ่มอายุครบ 2 ปี ประเมินการได้รับวัคซีนโปลิโอครั้งที่ 4 กลุ่มอายุครบ 5 ปี ประเมินการได้รับวัคซีนโปลิโอครั้งที่ 5 2. กลุ่มอายุครบ 2 ปี ประเมินการได้รับ OPV4 3. กลุ่มอายุครบ 5 ปี ประเมินการได้รับ OPV5

แนวทางการดำเนินงานให้วัคซีน ชนิดเชื้อเป็นอ่อนฤทธิ์สายพันธุ์ SA 14-14-2 โรคไข้สมองอักเสบเจอี ชนิดเชื้อเป็นอ่อนฤทธิ์สายพันธุ์ SA 14-14-2 (LAJE)

กลุ่มเป้าหมาย เข็มที่ 1 เด็กอายุ 1 ปี เข็มที่ 2 เด็กอายุ 2 ปี 6 เดือน ให้ LAJE แก่เด็กอายุครบ 1 ปี(เกิดตั้งแต่วันที่ 1 พ.ค. 2558) เข็มที่ 1 เด็กอายุ 1 ปี เข็มที่ 2 เด็กอายุ 2 ปี 6 เดือน (พร้อมวัคซีน MMR เข็มที่ 2)

การให้ LAJE แก่เด็กอายุเกิน 1 ปี เกิดก่อนวันที่ 1 พ.ค. 2558 ประวัติการได้รับวัคซีนเจอีชนิดเชื้อตาย กำหนดการให้วัคซีนเจอี SA 14-14-2 ครั้งต่อไป ไม่เคยหรือเคยได้รับ 1 เข็ม ฉีด 2 เข็ม ห่างกัน 3-12 เดือน (ขึ้นอยู่กับบริษัทที่ผลิตวัคซีน) เคยได้รับ 2 เข็ม ฉีด 1 เข็ม ห่างจากเข็มที่ 2 เป็นเวลา 12 เดือน เคยได้รับ 3 เข็ม ไม่ต้องให้

การให้ LAJE แก่เด็กอายุเกิน 1 ปี จำง่ายๆ ตาย 1 ได้เป็น 2 ตาย 2 ได้เป็น 1

การให้วัคซีน LAJE ขนาดที่ใช้ ครั้งละ 0.5 มล. ฉีดเข้าใต้ผิวหนัง

การคาดประมาณกลุ่มเป้าหมาย วัคซีน LAJE ที่ใช้ เป็นชนิด single dose คิดอัตราสูญเสียร้อยละ 1 = จำนวนเด็กกลุ่มเป้าหมายในแต่ละเดือน x 1.01 จำนวนวัคซีน LAJE ที่ใช้ (dose) วัคซีน LAJE ที่ใช้ เป็นชนิด 4 dose คิดอัตราสูญเสียร้อยละ 20 = จำนวนเด็กกลุ่มเป้าหมายในแต่ละเดือน x 1.25 จำนวนวัคซีน LAJE ที่ใช้ (dose)

รหัสวัคซีน ครั้งที่ฉีด รหัสวัคซีน LAJE ครั้งที่ 1 J11 LAJE ครั้งที่ 2

การจัดทำรายงานความครอบคลุมการได้รับวัคซีน เกณฑ์การพิจารณาความครบถ้วนของการได้รับวัคซีนเจอีในเด็กที่อายุครบ 2 ปี ประวัติการได้รับวัคซีนเจอี ความครบถ้วน เจอีเชื้อตาย 2 ครั้ง ผ่านเกณฑ์ ได้เจอีเชื้อตาย 1 ครั้งและตามด้วย (LAJE) 1 ครั้ง เจอีเชื้อตาย 1 ครั้ง ไม่ผ่านเกณฑ์ ได้รับเจอีเชื้อเป็น (LAJE) 1 ครั้ง ได้รับ (LAJE) 1 ครั้ง ต่อด้วยเจอีเชื้อตาย 1 ครั้ง ไม่เคยได้รับทั้งชนิดเชื้อตายและเชื้อเป็น (LAJE)

การจัดทำรายงานความครอบคลุมการได้รับวัคซีน เด็ก 2 ปี ได้ตาย 2 หรือ เป็น 1 ตาย 1 + เป็น 1 เป็น 1 + ตาย 1 >>>> OK

การจัดทำรายงานความครอบคลุมการได้รับวัคซีน เกณฑ์การพิจารณาความครบถ้วนของการได้รับวัคซีนเจอีในเด็กที่อายุครบ 3 ปี ประวัติการได้รับวัคซีนเจอี ความครบถ้วน เจอีเชื้อตาย 3 ครั้ง ผ่านเกณฑ์ เจอีเชื้อตาย 2 ครั้ง ต่อด้วย LAJE 1 ครั้ง เจอีเชื้อตาย 1 ครั้ง ต่อด้วย LAJE 2 ครั้ง เจอีเชื้อตาย 1 ครั้ง ต่อด้วย LAJE 1 ครั้ง ไม่ผ่านเกณฑ์ LAJE 2 ครั้ง เจอีเชื้อเป็น LAJE 1 ครั้ง ต่อด้วยเจอีเชื้อตาย 1 ครั้ง ไม่เคยได้รับวัคซีนทั้งชนิดเชื้อตายและเชื้อเป็น (LAJE)

การจัดทำรายงานความครอบคลุมการได้รับวัคซีน เด็ก 3 ปี ได้ตาย 3 หรือ เป็น 2 ตาย 1 + เป็น 2 ตาย 2 + เป็น 1 เป็น 1 + ตาย 1 >>>> OK

สรุป เริ่มให้ LAJE เด็ก1 ปี ตั้งแต่วันที่ 1 พ.ค. 2559 ขนาดที่ใช้ ครั้งละ 0.5 มล. ฉีดเข้าใต้ผิวหนัง ให้ LAJE เข็ม 1 ในเด็ก 1 ปี, เข็ม 2 ในเด็ก 2 ปี 6 เดือน เด็กอายุเกิน 1 ปี >>ตาย 1 ได้เป็นอีก 2 >> ตาย 2 ได้เป็นอีก 1

สรุป เบิก LAJE ตามปกติ เก็บที่อุณหภูมิ +2 ถึง +8 องศาเซลเซียส LAJE ขนาด 1 โด๊ส อัตราสูญเสีย 1% (X 1.01) LAJE ขนาด 4 โด๊ส อัตราสูญเสีย 20% (X 1.25) เก็บที่อุณหภูมิ +2 ถึง +8 องศาเซลเซียส

สรุป ความครอบคลุม >>>> OK >>>> OK เด็ก 2 ปี ได้ตาย 2 หรือเป็น 1 ตาย 1 + เป็น 1 เป็น 1 + ตาย 1 ความครอบคลุม >>>> OK เด็ก 3 ปี ได้ตาย 3 หรือเป็น 2 ตาย 1 + เป็น 2 ตาย 2 + เป็น 1 เป็น 1 + ตาย 1 >>>> OK

ขณะนี้สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ได้กำหนดรหัสวัคซีนที่อยู่นอกแผนงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค ซึ่งรวมถึงวัคซีน LAJE โดยมีรหัสวัคซีน J11 และ J12 ดังนั้น ในการ key in ข้อมูลการให้บริการวัคซีนไข้สมองอักเสบเจอีผ่านฐานข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ตามมาตรฐานของสำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ หากเป็นการฉีดวัคซีน LAJE ครั้งที่ 1 ขอให้เจ้าหน้าที่ click ไปที่ “JE 1 : Lived attenuated” หากเป็นการฉีดวัคซีน LAJE ครั้งที่ 2 ขอให้เจ้าหน้าที่ click ไปที่ “JE 2 : Lived attenuated ” ในแต่ละวันเมื่อ key in ข้อมูลการให้บริการวัคซีนทุกชนิดในเด็กก่อนวัยเรียนเป็นที่เรียบร้อยแล้ว วิธีลงรหัสให้สอบถามต่ายก็ได้ค่ะ