ความร้อน ความร้อน คือ รูปหนึ่งของพลังงาน เกิดจากการ ความร้อน คือ รูปหนึ่งของพลังงาน เกิดจากการ เคลื่อนไหว หรือการสั่นสะเทือนของโมเลกุลโดย
ความร้อน จะถ่ายเทจากเทหวัตถุหนึ่งไปยังเทหวัตถุ ด้วยวิธีดังต่อไปนี้ การถ่ายเทความร้อน ความร้อน จะถ่ายเทจากเทหวัตถุหนึ่งไปยังเทหวัตถุ ด้วยวิธีดังต่อไปนี้ ก. การนำความร้อน – การไหลของความร้อนจากวัตถุหนึ่งไปยังวัตถุอื่น ด้วยการสัมผัสกันโดยตรง ข. การพาความร้อน – การเคลื่อนที่ของความร้อนจากที่หนึ่งไปยังอีกที่ หนึ่ง โดยการพาของของไหลหรืออากาศ ค. การแผ่รังสี – การถ่ายเทความร้อนในรูปของการเคลื่อนไหวของ คลื่น
ความร้อน
1.2.3 หน่วยของความร้อน ระบบอังกฤษ : บีทียู (BTU) ระบบ SI : จูล (Joule) ระบบเมตริก : แคลอรี่ (Calory) ระบบอังกฤษ : บีทียู (BTU) ระบบ SI : จูล (Joule) 1 แคลลอรี = 4.186 จูล 1 แคลลอรี = 3.968 x 103 BTU 1 BTU = 1.055 x 103 จูล
อุณหภูมิ คือ ตัววัดระดับความร้อนของสสาร อุณหภูมิ คือ ตัววัดระดับความร้อนของสสาร
5 9 1.2.7 หน่วยของอุณหภูมิ ระบบเมตริก เซนติเกรด 0C ระบบอังกฤษ ฟาเรนไฮด์ 0F ระบบ SI เซนติเกรด 0K สมการที่ใช้แปลงหน่วย C = F - 32 5 9
อุณหภูมิ ตัวอย่าง: อุณหภูมิของร่างกายมนุษย์ 98.6°F คิดเป็นองศาเซลเซียส และเคลวิน ได้เท่าไร
ตัวอย่าง: วัตถุอุณหภูมิ 323 เคลวิน คิดเป็นกี่องศาฟาเรนไฮด์ คือ ตัวอย่าง: วัตถุอุณหภูมิ 323 เคลวิน คิดเป็นกี่องศาฟาเรนไฮด์ คือ
ความร้อนสัมผัส และความร้อนแฝง ความร้อนสัมผัส คือ ความร้อนที่ทำให้อุณหภูมิของสสารเปลี่ยน แปลง ความร้อนแฝง คือ ความร้อนที่ทำให้สสารเปลี่ยนแปลงสถานะ โดยไม่มีการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิ
หรือ เมื่อ ความจุความร้อน คือปริมาณพลังงานความร้อน คือความจุความร้อนจำเพาะ ผลต่างอุณหภูมิ
ความจุความร้อนจำเพาะ เมื่อ คือมวลของวัตถุ คาความจุความรอนจําเพาะของสารบางชนิด
ความจุความร้อน ตัวอย่าง ต้องให้ความร้อนกับน้ำ 250 กรัม เท่าไร เพื่อจะทำให้น้ำนี้มีอุณหภูมิเปลี่ยนจาก ไปเป็น ตัวอย่าง ต้องให้ความร้อนกับน้ำ 250 มิลลิลิตร เท่าไร เพื่อจะทำให้น้ำนี้มีอุณหภูมิลดลง
ความร้อนแฝงของการหลอมเหลว = 80 cal/g หรือ 334 kJ/kg น้ำแข็ง 1 ก.ก. น้ำ 1 ก.ก. ไอน้ำ 1 ก.ก. ความร้อนแฝงของน้ำ ความร้อนแฝงของการหลอมเหลว = 80 cal/g หรือ 334 kJ/kg ความร้อนแฝงของการกลายเป็นไอ = 540 cal/g หรือ 2256 kJ/kg
ความร้อนแฝง ตัวอย่าง ต้องใช้ความร้อนเท่าไรในการทำให้น้ำ กรัม อุณหภูมิ เปลี่ยนไปเป็นไอน้ำที่ น้ำ 20 น้ำ 100 ไอน้ำ 100
ปริมาณความร้อนเพิ่ม = ปริมาณความร้อนลด การถ่ายเทความร้อน ปริมาณความร้อนเพิ่ม = ปริมาณความร้อนลด
การถ่ายเทความร้อน ตัวอย่าง น้ำอุณหภูมิ มวล 15 กรัม บรรจุในขวดฉนวนกันความร้อน เมื่อนำโลหะหนัก 90 กรัม อุณหภูมิ สุดท้ายทั้งน้ำและโลหะมีอุณหภูมิ จงหาค่าความร้อนจำเพาะของโลหะ ตัวอย่าง หย่อนน้ำแข็ง กรัม อุณหภูมิ ลงในน้ำ กรัม อุณหภูมิ จงหาอุณหภูมิสุดท้ายของของผสม
...GOOD LUCK...