BC320 Introduction to Computer Programming

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
BC320 Introduction to Computer Programming
Advertisements

บทที่ 3 ตัวดำเนินการ และ นิพจน์
อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
โปรแกรม Microsoft Excel มี ความสามารถเด่นในด้านการคำนวณ ซึ่งมี ลักษณะการคำนวณ 2 รูปแบบใหญ่ๆ ได้แก่ การคำนวณด้วยสูตร (Formula) การคำนวณด้วยฟังก์ชันสำเร็จรูป.
การเขียนคำสั่งควบคุม การทำงานขั้นพื้นฐาน
โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ เตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ
บทที่ 6 บทที่ 6 คำสั่งแก้ไขปัญหาแบบ เลือก (CONDITION)
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
Chapter 10 Arrays Dept of Computer Engineering Khon Kaen University.
บทที่ 1 Probability.
ชนิดของข้อมูล และการคำนวณทางคณิตศาสตร์
การเขียนโปรแกรมภาษาปาสคาล โดยใช้โครงสร้างหลักทั้ง 3 โครงสร้าง
กาญจนา ทองบุญนาค สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หน่วยที่ 6 แถวลำดับ (Array)
การใช้งาน Microsoft Excel
ตัวแปร และชนิด ข้อมูล. ตัวแปร การกำหนดตัวแปรเป็นการใช้ ชื่อตัวแปรแทน ตำแหน่งบนหน่วยความจำ สำหรับเก็บ ข้อมูลระหว่างการ ประมวลผล ซึ่งอาจเป็นข้อมูลนำเข้า.
ครั้งที่ 7 รีจิสเตอร์ (REGISTER). รีจิสเตอร์ (Register) รีจิสเตอร์เป็นวงจรความจำที่ใช้ในการเก็บค่า ทางไบนารี่ ใช้ในการเก็บค่าในระหว่างการ ประมวลผลโดยใช้ฟลิป.
MEE 231 Computer Programming สัปดาห์ที่ 6 ภาษา C หลักการของโปรแกรม ชนิดของตัวแปร การดำเนินการ คำสั่งการรับค่าตัวแปร และการแสดงผล.
Intro Excel 2010 ข้อมูลจาก... ellession1.htm.
การเลือกข้อมูลจาก List การกำหนดเงื่อนไขการป้อนข้อมูลด้วย Data Validation การใส่ Comment / แสดง / แก้ไข / ลบ.
LOGO ภาษาซี 1.1 อ. กฤติเดช จินดาภัทร์. LOGO ตัวอย่างโค้ดภาษาซี
คำสั่งควบคุมการทำงาน
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ Lab 05 : Microsoft Excel (Part3) พท 260 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารทางการท่องเที่ยว อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ.
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ (Personal Computer : PC)
เกม คณิตคิดเร็ว.
Microsoft Access 2007 การสร้างฟอร์ม
stack #2 ผู้สอน อาจารย์ ยืนยง กันทะเนตร
ข้อมูลและการดำเนินการกับข้อมูล
หลักการลดรูปฟังก์ชันตรรกให้ง่าย
IP-Addressing and Subneting
Number system (Review)
หน่วยการเรียนที่ 6 เรื่อง การจัดการฐานข้อมูลด้วย PHP Function
IP-Addressing and Subneting
การประยุกต์ Logic Gates ภาค 2
Principles of Problem Solving and Basic Programming หลักการแก้ปัญหาและการเขียนโปรแกรมเบื้องต้น2(1-2-3) สัปดาห์ที่ 4 เครื่องหมาย ตรรกะศาสตร์ และการดำเนินการทางตรรกะศาสตร์
บทที่ 1 สถาปัตยกรรมของระบบฐานข้อมูล (Database Architecture)
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ (Personal Computer : PC)
รายการ(List) [3] ผู้สอน อาจารย์ ยืนยง กันทะเนตร
Serial Communication.
STACK สแตก(stack) เป็นโครงสร้างข้อมูลแบบเชิงเส้น ที่มีการใส่ข้อมูลเข้า และนำข้อมูลออกเพียงด้านเดียว ดังนั้น ข้อมูลที่เข้าไปอยู่ใน stack ก่อนจะออกจาก stack.
โครงสร้างภาษา C Arduino
QUEUE คิวจะมีโครงสร้างแบบเชิงเส้นเหมือน stack แต่แตกต่างตรงที่ queue มีตัวชี้ 2 ตัวคือ หัว(Head) และหาง(Tail) โดยการใส่ข้อมูลเข้าและนำข้อมูลออก จะมีลักษณะ.
บทที่ 7 การเขียนโปรแกรม แบบวนรอบทำซ้ำ (Loop)
เซต (SET) ประวัติย่อของวิชาเซต ความหมายของเซต การเขียนแทนเซต
ขั้นตอนการออกแบบ ผังงาน (Flow Chart)
รายวิชา ไมโครโปรเซสเซอร์ในงานอุตสาหกรรม
Data storage II Introduction to Computer Science ( )
บริษัท พัฒนาวิชาการ (2535) จำกัด
Week 5 C Programming.
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ Lab 06 : Microsoft Excel (Part2) ทท101 เทคโนโลยีสารสนเทศและนวัตกรรมการสื่อสารทางการท่องเที่ยว อาจารย์อภิพงศ์
โครงสร้างข้อมูลแบบสแตก (stack)
กิตติกรรมประกาศ งานวิจัยนี้สำเร็จได้ด้วยความอนุเคราะห์ของบุคคลหลายท่านซึ่งไม่สามารถกล่าวไว้ในที่นี้ได้ทั้งหมดทุกท่าน ซึ่งท่านแรก ผู้จัดทำต้องขอขอบคุณ.
การสร้างแบบสอบถาม และ การกำหนดเงื่อนไข.
ตัวอย่างการจัดทำรายงานการผลิต และงบการเงิน
Data storage II Introduction to Computer Science ( )
หน่วยที่ 6 อะเรย์ของอักขระ
บทที่ 9 การเรียงลำดับข้อมูล (Sorting)
บทที่ 7 การประมวลผลอาร์เรย์
OPERATOR ภาษาปาสคาล (Pascal)
ตัวแบบมาร์คอฟ (Markov Model)
2 โครงสร้างข้อมูลแบบสแตก (STACK).
บทที่ 2 โครงสร้างข้อมูลแบบแถวลำดับหรืออาร์เรย์ (Array)
Chapter 3 : Array.
กลุ่มส่งเสริมอาชีพการเกษตร
Array Sanchai Yeewiyom
Array: One Dimension Programming I 9.
การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาไพทอน การเขียนโปรแกรมแบบทางเลือก
Decision: Single and Double Selection (if and if-else statement)
Computer Game Programming
ใบสำเนางานนำเสนอ:

BC320 Introduction to Computer Programming บทที่ 3 นิพจน์ (Expression) BC320 Introduction to Computer Programming

BC320 Introduction to Computer Programming 3.1 ความหมายของนิพจน์ นิพจน์ (Expression) หมายถึง การนำกลุ่มข้อมูล (ค่าคงที่ ตัวแปร ฟังก์ชัน) มากระทำหรือดำเนินการ โดยใช้ตัวดำเนินการต่างๆ เพื่อให้เกิดเป็นชนิดของข้อมูลที่แน่นอน เช่น เลขจำนวนเต็ม ค่าบูลีน อักษร หรือสตริง เป็นต้น BC320 Introduction to Computer Programming

ตัวอย่างนิพจน์ X+Y 10 > X+Y “นิพจน์คณิตศาสตร์” “นิพจน์บูลีน” กระทำด้วยตัวดำเนินการ + “นิพจน์คณิตศาสตร์” 10 > X+Y ข้อมูลชนิดตัวแปร X และ Y และข้อมูลชนิดค่าคงที่ กระทำด้วยตัวดำเนินการ + และ > “นิพจน์บูลีน” BC320 Introduction to Computer Programming

3.2 ประเภทของตัวดำเนินการ (operator) ตัวดำเนินการทางคณิตศาสตร์ (Arithmetic Operators) ตัวดำเนินการในระดับบิตหรือตัวดำเนินการตรรกะ (Bitwise and Logical Operators) ตัวดำเนินการเปรียบเทียบ (Relational Operations) ตัวดำเนินการบูลีน (Boolean Operators) ตัวดำเนินการแอดเดรส (Address Operators) ตัวดำเนินการเซต (Set Operators) ตัวดำเนินการข้อความ (String Operators) BC320 Introduction to Computer Programming

3.2.1. ตัวดำเนินการทางคณิตศาสตร์ (Arithmetic Operators) เป็นตัวคำนวณที่ใช้ในการคำนวณต่างๆ โดยกระทำกับข้อมูลที่เป็นตัวเลข เมื่อคำนวณเสร็จแล้วผลลัพธ์ที่ได้จะเป็นข้อมูลตัวเลข บวก (+), ลบ (-), คูณ (*) และหาร (/) เช่น 10+20 Age-3 BC320 Introduction to Computer Programming

3.2.2. ตัวดำเนินการในระดับบิต (Bitwise and Logical Operators) เป็นตัวดำเนินการที่ดำเนินการกับข้อมูลในระดับบิต โดยต้องกระทำกับข้อมูลที่เป็นเลขจำนวนเต็ม ตัวดำเนินการในระดับบิตมีดังนี้ AND OR ข้อควรจำ 1 AND 1 ได้ 1 ที่เหลือ ได้ 0 0 OR 0 ได้ 0 ที่เหลือ ได้ 1 BC320 Introduction to Computer Programming

BC320 Introduction to Computer Programming ตัวอย่างการ AND 12 AND 22 = ? BC320 Introduction to Computer Programming

BC320 Introduction to Computer Programming ตัวอย่างการ OR 30 OR 16 = ? BC320 Introduction to Computer Programming

BC320 Introduction to Computer Programming Ex 10 AND 3 =? 10 OR 3 = ? ? OR AND 1010 0011 0010 ตอบ 2 1010 0011 1011 ตอบ 11 BC320 Introduction to Computer Programming

3.2.3. ตัวดำเนินการเปรียบเทียบ (Relational Operators) เป็นตัวดำเนินการที่ใช้ในการเปรียบเทียบค่าสองค่าว่าเป็นจริงหรือเท็จ (TRUE or FALSE) ซึ่งตัวดำเนินการที่ใช้ในการเปรียบเทียบมีดังนี้ > มากกว่า > = มากกว่าหรือเท่ากับ < น้อยกว่า < = น้อยกว่าหรือเท่ากับ < > ไม่เท่ากับ in เป็นสมาชิกของ BC320 Introduction to Computer Programming

ตัวอย่างการเปรียบเทียบ นิพจน์ ค่าของนิพจน์ 2>3 FALSE ‘B’<‘F’ TRUE 2=0 BC320 Introduction to Computer Programming

3.2.4. ตัวดำเนินการบูลีน (Boolean Operators) เป็นตัวดำเนินการที่เหมือนตัวดำเนินการในระดับบิต แต่แตกต่างกันตรงที่ข้อมูลที่ถูกกระทำ ต้องเป็นชนิดข้อมูลแบบบูลีน ไม่ใช่เลขจำนวนเต็ม มีตัวดำเนินการ 4 ตัว AND, OR, XOR, NOT BC320 Introduction to Computer Programming

ตารางแสดงผลจากการใช้ตัวดำเนินการบูลีน A B A AND B A OR B A XOR B NOT A T F BC320 Introduction to Computer Programming

ตัวอย่างการหาผลลัพธ์ของนิพจน์บูลีน นิพจน์ (A>18) AND (A<21) โดย A มีค่าเป็น 15 มีผลลัพธ์ เป็น?  A>18?  FALSE A<21? TRUE FALSE AND TRUE ?  FALSE BC320 Introduction to Computer Programming

Ex (‘F’<‘M’) OR NOT(3^2=4*2) BC320 Introduction to Computer Programming

3.2.5. ตัวดำเนินการแอดเดรส (Address Operators) เป็นตัวดำเนินการที่ใช้ร่วมกับตัวแปรชนิดข้อมูลแบบพอยน์เตอร์ ตัวดำเนินการแบบนี้มีอยู่ด้วยกัน 2 แบบ คือ @ และ ^ @ ทำหน้าที่ ให้ค่าตำแหน่งในหน่วยความจำของตัวแปรที่ระบุ เช่น Sum ตัวแปร Integer @Sum  ตำแหน่งของตัวแปร Sum ^ ใช้กับข้อมูลแบบพอยน์เตอร์ เช่น pt  ตัวชี้ข้อมูลของ Integer pt^ ตัวเลขที่ pt ชี้อยู่ BC320 Introduction to Computer Programming

3.2.6. ตัวดำเนินการเซ็ต (Set Operators) เป็นตัวดำเนินการเซต มีด้วยกัน 3 ตัว คือ + - และ * + (Union) ใช้เพื่อรวมสมาชิกข้อมูลแบบเซตเข้าด้วยกัน - (Difference) ใช้เพื่อหาสมาชิกที่มีเฉพาะเซตใดเซตหนึ่ง * (Intersection) ใช้เพื่อหาสมาชิกร่วมของเซต BC320 Introduction to Computer Programming

3.2.7. ตัวดำเนินการข้อความ (String Operators) มีตัวดำเนินการเพียงตัวเดียวคือ + ใช้ได้เฉพาะใน เทอร์โบปาสคาลโดยมีหน้าที่นำข้อมูลแบบสตริง 2 ค่ามาต่อกัน เช่น ‘Hello’ + ‘BC320’ Hello BC320 BC320 Introduction to Computer Programming

3.3 นิพจน์คณิตศาสตร์ (Arithmetic Expression) ประกอบด้วย 2 ส่วน  Operand (ตัวเลข,ค่าคงที่)  Operator (เครื่องหมายต่างๆ) เครื่องหมาย ลำดับการประมวลผล ( ) - (เครื่องหมายลบหน้าตัวเลข) * / + - 1 2 3 4 BC320 Introduction to Computer Programming

ตัวอย่างการลำดับในการประมวลผลในนิพจน์คณิตศาสตร์ นิพจน์ ผลลัพธ์ คำอธิบาย 10 + 8 * 2 26 1. 8*2 = 16 2. 10+16 = 26 10 + 8 * 2   BC320 Introduction to Computer Programming

ตัวอย่างการลำดับในการประมวลผลในนิพจน์คณิตศาสตร์ นิพจน์ ผลลัพธ์ คำอธิบาย -1*(5.5+2)/5 -1.5 1. (5.5+2) = 7.5 2. -1*7.5 = -7.5 3. -7.5/5 = - 1.5 -1*(5.5+2)/5    BC320 Introduction to Computer Programming

BC320 Introduction to Computer Programming Ex (8/2*3)+4^2 ( 8 / 2 * 3 ) + 4 ^ 2 =4 =16 =12  =28 BC320 Introduction to Computer Programming

3.3 นิพจน์บูลีน (Boolean Expression) ให้ผลลัพธ์ 2 ค่า คือ TRUE หรือ FALSE นิพจน์บูลีนนี้ ตัวดำเนินการ ลำดับการประมวลผล NOT AND OR XOR 1 2 3 BC320 Introduction to Computer Programming

ตัวอย่างเกี่ยวกับนิพจน์บูลีน NOT ((X<0) OR (X > 25)) = ? Ex1. ถ้า X = 1 ผลลัพธ์ที่ได้เป็น TRUE Ex2. ถ้า X = 30 ผลลัพธ์ที่ได้เป็น ??? BC320 Introduction to Computer Programming

BC320 Introduction to Computer Programming บทสรุป นิพจน์ (Expression) ประกอบด้วยกลุ่มข้อมูลที่ถูกกระทำ (Operands) ด้วยตัวดำเนินการ (Operator) ผลลัพธ์ที่ได้จะเป็นชนิดข้อมูลที่แน่นอน เช่น ตัวเลข หรือ TRUE หรือ FALSE ตัวอย่างประเภทนิพจน์ ได้แก่ นิพจน์คณิตศาสตร์ นิพจน์บูลีน BC320 Introduction to Computer Programming

BC320 Introduction to Computer Programming QUESTIONS??? การบ้านท้ายบทที่ 3 ข้อ 3,4 (ใหญ่) BC320 Introduction to Computer Programming