ผู้อำนวยการส่วนกฎหมายและเบียบ กรมสรรพสามิต ภาษีสรรพสามิต โดย จุมพล ริมสาคร ผู้อำนวยการส่วนกฎหมายและเบียบ กรมสรรพสามิต จุมพล ริมสาคร
หลักการจัดเก็บภาษีสรรพสามิต เป็นอันตรายต่อสุขภาพ
หลักการจัดเก็บภาษีสรรพสามิต ขัดต่อศีลธรรมอันดี
หลักการจัดเก็บภาษีสรรพสามิต เกินความจำเป็นในการดำรงชีพ
หลักการจัดเก็บภาษีสรรพสามิต ได้รับประโยชน์พิเศษจากรัฐ
หลักการจัดเก็บภาษีสรรพสามิต ทำลายสิ่งแวดล้อม
กฎหมายที่ใช้จัดเก็บภาษีสรรพสามิต จุมพล ริมสาคร
กฎหมายที่ใช้ในการบริหารจัดเก็บภาษี พระราชบัญญัติภาษีสรรพสามิต พ.ศ.2527 พระราชบัญญัติพิกัดอัตราภาษีสรรพสามิต พ.ศ.2527 พระราชบัญญัติสุรา พ.ศ.2493 พระราชบัญญัติยาสูบ พ.ศ.2509 พระราชบัญญัติไพ่ พุทธศักราช 2486 พระราชบัญญัติจัดสรรเงินภาษีสรรพสามิต พ.ศ.2527 พระราชบัญญัติจัดสรรเงินภาษีสุรา พ.ศ.2527 จุมพล ริมสาคร
พระราชบัญญัติภาษีสรรพสามิต พ.ศ. 2527 เก็บจากอะไร ... สินค้า / บริการ เก็บที่ไหน ... แหล่งผลิต / นำเข้า เก็บจากใคร ... ผู้มีหน้าที่เสียภาษี เก็บเมื่อไร ... จุดความรับผิดของภาษี เก็บอย่างไร ... วิธีการควบคุมการจัดเก็บภาษี สิทธิในการยกเว้น คืน ลดอัตรา ลดหย่อนภาษี อำนาจของพนักงานเจ้าหน้าที่ สิทธิการคัดค้านการประเมิน การอุทธรณ์ การขอทุเลา จุมพล ริมสาคร
พระราชบัญญัติพิกัดอัตราภาษีสรรพสามิต พ.ศ. 2527 กำหนดประเภทสินค้า / บริการ - ความหมายของสินค้า / บริการ - ประเภทของสินค้า / บริการ ที่จัดเก็บภาษี - การขยายฐานภาษี กำหนดเพดานอัตราภาษี การตีความพิกัดอัตราภาษีสรรพสามิต จุมพล ริมสาคร
พระราชบัญญัติภาษีสรรพสามิต พ. ศ พระราชบัญญัติภาษีสรรพสามิต พ.ศ.2527 และพระราชกำหนดแก้ไขเพิ่มเติมพระราชบัญญัติภาษีสรรพสามิต พ.ศ.2527 พ.ศ.2546 - “บริการ” หมายความว่าการให้บริการในทางธุรกิจในสถานบริการ ตามที่ระบุไว้ในกฎหมายว่าด้วยพิกัดอัตราภาษีสรรพสามิต - “สถานบริการ” หมายความว่า สถานที่สำหรับประกอบกิจการในด้านบริการ และให้หมายความรวมถึงสำนักงานใหญ่ที่จัดตั้งขึ้นในการประกอบกิจการ ในกรณีที่ไม่อาจกำหนดสถานที่ให้บริการได้แน่นอน จุมพล ริมสาคร
พระราชบัญญัติพิกัดอัตราภาษีสรรพสามิต พ. ศ พระราชบัญญัติพิกัดอัตราภาษีสรรพสามิต พ.ศ.2527 และพระราชกำหนดแก้ไขเพิ่มเติมพระราชบัญญัติพิกัดอัตราภาษีสรรพสามิต พ.ศ.2527 (ฉบับที่ 4) พ.ศ.2546 - ยกเลิกความในตอนที่ 9 สถานบริการ เดิม - กำหนดพิกัดฯ ตอนที่ 9 – ตอนที่ 13 ใหม่ จุมพล ริมสาคร
พิกัดอัตราภาษีสรรพสามิต ตอนที่ 1 น้ำมันและผลิตภัณฑ์น้ำมัน ตอนที่ 2 เครื่องดื่ม ตอนที่ 3 เครื่องไฟฟ้า ตอนที่ 4 แก้วและเครื่องแก้ว ตอนที่ 5 รถยนต์ ตอนที่ 6 เรือ ตอนที่ 7 ผลิตภัณฑ์เครื่องหอมและเครื่องสำอาง ตอนที่ 8 สินค้าอื่น ๆ จุมพล ริมสาคร
ตอนที่ 1 น้ำมันและผลิตภัณฑ์น้ำมัน “น้ำมันและผลิตภัณฑ์น้ำมัน” หมายความว่า ผลิตภัณฑ์ที่ผลิตจากปิโตรเลียม ได้แก่น้ำมันเบนซิน น้ำมันก๊าด น้ำมันเชื้อเพลิงสำหรับเครื่องบินไอพ่น น้ำมันดีเซล น้ำมันเชื้อเพลิงหนัก น้ำมันเตา และน้ำมันอื่นๆ ที่คล้ายกับน้ำมันที่ได้ออกชื่อมาแล้ว น้ำมันหล่อลื่น ปิโตรเลียมปิทูเมน(แอสฟัลต์) ปิโตรเลียมโค้ก ก๊าซปิโตรเลียมชนิดต่าง ๆ ก๊าซธรรมชาติเหลว ก๊าซธรรมชาติ สารละลายหรือโซลเว้นท์ชนิดต่าง ๆ สายพลอยได้ และกากอื่น ๆ ที่ได้จากปิโตรเลียม และให้หมายความรวมถึงน้ำมันอื่นหรือผลิตภัณฑ์อื่นที่ได้จากการกลั่นหรือแยกปิโตรเลียมตามที่รัฐมนตรีประกาศในราชกิจจานุเบกษา จุมพล ริมสาคร
ตอนที่ 2 เครื่องดื่ม “เครื่องดื่ม” หมายความว่า สิ่งซึ่งตามปกติใช้เป็นเครื่องดื่มได้โดยไม่ต้องเจือปนและไม่มีแอลกอฮอล์ โดยจะมีก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์อยู่ด้วยหรือไม่ก็ตาม อันบรรจุในภาชนะและผนึกไว้ เช่น น้ำแร่ น้ำหวาน น้ำผลไม้ น้ำพืชผัก และน้ำโซดา เป็นต้น และให้หมายความรวมถึงเครื่องดื่มที่ทำหรือบรรจุหรือได้จากเครื่องขายเครื่องดื่ม ไม่ว่าจะขายด้วยวิธีใด แม้จะไม่ได้บรรจุภาชนะและผนึกไว้ แต่ไม่รวมถึง (1) น้ำหรือน้ำแร่ตามธรรมชาติ (2) น้ำกลั่นหรือน้ำกรองสำหรับดื่มโดยไม่ปรุงแต่ง (3) เครื่องดื่มซึ่งผู้ผลิตได้ผลิตขึ้นเพื่อขายปลีกเองโดยเฉพาะ อันมิได้มีก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์อยู่ด้วย ทั้งมิได้สงวนคุณภาพด้วยเครื่องเคมี (4) น้ำนมจืด น้ำนมอื่นๆ ไม่ว่าจะปรุงแต่งหรือไม่ ทั้งนี้ ตามมาตรฐานที่กำหนดไว้ในกฎหมายว่าด้วยอาหาร (5) เครื่องดื่มตามที่รัฐมนตรีประกาศกำหนดในราชกิจจานุเบกษา จุมพล ริมสาคร
ตอนที่ 3 เครื่องไฟฟ้า “เครื่องไฟฟ้า” หมายความว่า ผลิตภัณฑ์ซึ่งใช้พลังงานไฟฟ้า และให้รวมถึงสิ่งที่ใช้ประกอบกับไฟฟ้าหรือเกี่ยวกับไฟฟ้าด้วย จุมพล ริมสาคร
ตอนที่ 4 แก้วและเครื่องแก้ว “แก้วและเครื่องแก้ว” หมายความว่า สิ่งของและเครื่องใช้ที่ทำด้วยแก้ว จุมพล ริมสาคร
ตอนที่ 5 รถยนต์ “รถยนต์” หมายความว่า รถที่มีล้อตั้งแต่สามล้อ และเดินด้วยกำลังเครื่องยนต์ กำลังไฟฟ้า หรือพลังงานอื่น แต่ไม่รวมถึงรถที่เดินบนราง รถจักรยานยนต์ที่มีพ่วงข้างไม่เกินหนึ่งล้อ และรถยนต์ตามที่รัฐมนตรีประกาศกำหนดในราชกิจจานุเบกษา “รถยนต์นั่ง” หมายความว่า รถเก๋งหรือรถยนต์ที่ออกแบบสำหรับเพื่อใช้สำหรับนั่งเป็นปกติวิสัย และให้หมายความรวมถึงรถยนต์ในลักษณะทำนองเดียวกัน เช่น รถยนต์ที่มีหลักคาติดต่อเป็นเนื้อเดียวกันในลักษณะถาวร ด้านข้างและหรือด้านหลังคนขับมีประตูหรือหน้าต่างและมีที่นั่ง ทั้งนี้ ไม่ว่าจะมีที่นั่งเท่าใด “รถยนต์โดยสาร” หมายความว่า รถตู้หรือรถยนต์ที่ออกแบบเพื่อใช้ขนส่งคนโดยสารจำนวนมาก รวมทั้งรถยนต์ในลักษณะทำนองเดียวกัน “รถยนต์กระบะ” หมายความว่า รถยนต์ที่มีที่นั่งด้านหน้าตอนเดียวสำหรับคนขับ และตอนหลังเป็นกระบะบรรทุก ซึ่งเปิดโล่งจนถึงท้ายรถโดยไม่มีหลังคา จุมพล ริมสาคร
ตอนที่ 6 เรือ “เรือ” หมายความว่า ยานพาหนะทางน้ำทุกชนิด จุมพล ริมสาคร
ตอนที่ 7 ผลิตภัณฑ์เครื่องหอมและเครื่องสำอาง “ผลิตภัณฑ์เครื่องหอม” หมายความว่า น้ำหอม หัวน้ำหอม น้ำมันหอม และสิ่งที่ทำให้มีกลิ่นหอมต่าง ๆ แต่ไม่รวมถึง (1) หัวน้ำหอมที่ใช้ได้เฉพาะในการผลิตสินค้า และ (2) สินค้าตามที่รัฐมนตรีประกาศกำหนดในราชกิจจานุเบกษา “เครื่องสำอาง” หมายความว่า ผลิตภัณฑ์สิ่งปรุงแต่งเพื่อใช้บนผิวหนัง หรือส่วนใดส่วนหนึ่งของร่างกายมนุษย์ สำหรับทำความสะอาด ป้องกัน แต่งเสริมให้เกิดความงาม หรือเปลี่ยนแปลงรูปลักษณะ โดยถู ทา พ่น หรือโรย เป็นต้น แต่ไม่รวมถึง (1) เภสัชผลิตภัณฑ์ และ จุมพล ริมสาคร
ตอนที่ 8 สินค้าอื่น ๆ 08.90 สินค้าอื่น ๆ นอกจากตอนที่ 1 ถึงตอนที่ 7 ตามที่กำหนดโดยพระราชกฤษฎีกา (1) พรมและสิ่งทอปูพื้นอื่น ๆ (2) รถจักรยานยนต์ (3) หินอ่อนและหินแกรนิต (4) แบตเตอรี่ (5) สารทำลายชั้นบรรยากาศโอโซนประเภทอนุพันธ์ฮาโลเจเนเต็ดของไฮโดรคาร์บอน จุมพล ริมสาคร
ตอนที่ 9 กิจการบันเทิงหรือหย่อนใจ หมายความว่า การประกอบกิจการในด้านบันเทิงหรือหย่อนใจต่างๆ ในสถานบริการ เพื่อหารายได้เป็นธุรกิจ เช่น สถานมหรสพ สถานที่ฉายภาพยนตร์ ไนท์คลับ คาบาเรต์ ดิสโกเธค เป็นต้น - ประเภทที่ 09.01 ไนท์คลับ และดิสโกเธค อัตราภาษี 20 % - ประเภทที่ 09.02 สถานอาบน้ำหรืออบตัว และนวด 20 % - ประเภทที่ 09.90 อื่น ๆ ตามที่รัฐมนตรีประกาศกำหนด ในราชกิจจานุเบกษา อัตราภาษี 20 % จุมพล ริมสาคร
ตอนที่ 10 กิจการเสี่ยงโชค หมายความว่า การประกอบกิจการในด้านการจัดให้มีการเสี่ยงโชคโดยวิธีการใด ๆ เพื่อให้ได้รับเงิน รางวัล หรือประโยชน์อย่างอื่น เช่น สนามแข่งม้า การออกสลากกินแบ่ง เป็นต้น - ประเภทที่ 10.01 สนามแข่งม้า อัตราภาษี 20 % - ประเภทที่ 10.02 การออกสลากกินแบ่ง อัตราภาษี 20 % - ประเภทที่ 10.90 อื่น ๆ ตามที่รัฐมนตรีประกาศกำหนด ในราชกิจจานุเบกษา อัตราภาษี 20 % จุมพล ริมสาคร
ตอนที่ 11 กิจการที่มีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม หมายความว่า การประกอบกิจการที่มีผลกระทบต่อดุลยภาพของสิ่งแวดล้อม เพื่อหารายได้เป็นธุรกิจ เช่น สนามกอลฟ์ เป็นต้น - ประเภทที่ 11.01 สนามกอล์ฟ อัตราภาษี 20 % - ประเภทที่ 11.90 อื่น ๆ ตามที่รัฐมนตรีประกาศกำหนด ในราชกิจจานุเบกษา อัตราภาษี 20 % จุมพล ริมสาคร
ตอนที่ 12 กิจการที่ได้รับอนุญาตหรือสัมปทานจากรัฐ หมายความว่า การประกอบกิจการใด ๆ ในลักษณะที่เป็นการให้บริการแก่ประชาชนทั่วไป โดยได้รับอนุญาตหรือสัมปทานจากรัฐให้ดำเนินกิจการได้ - ประเภทที่ 12.01 กิจการโทรคมนาคม อัตราภาษี 50 % - ประเภทที่ 12.90 อื่น ๆ ตามที่รัฐมนตรีประกาศกำหนด ในราชกิจจานุเบกษา อัตราภาษี 50 % จุมพล ริมสาคร
ตอนที่ 13 บริการอื่น ๆ - ประเภทที่ 13.90 บริการอื่น ๆ นอกจากตอนที่ 9 ถึงตอนที่ 12 ตามที่กำหนดโดยพระราชกฤษฎีกา อัตราภาษี 50 % จุมพล ริมสาคร
ประกาศกระทรวงการคลัง เรื่อง ลดอัตราและยกเว้นภาษีสรรพสามิต (ฉบับที่ 68) ประกาศกระทรวงการคลัง เรื่อง ลดอัตราและยกเว้นภาษีสรรพสามิต (ฉบับที่ 68) ตอนที่ 9 กิจการบันเทิงหรือหย่อนใจ - ไนท์คลับ และดิสโกเธค (1) รายรับของสถานที่สำหรับดื่มกินและเต้นรำ โดยจัดให้มีการแสดงดนตรีหรือใช้เครื่องเสียง หรือการแสดงอื่นใดเพื่อการบันเทิง จัดเก็บอัตรา 10 % (2) รายรับอื่น ๆ ยกเว้นภาษี จุมพล ริมสาคร
สถานอาบน้ำหรืออบตัว และนวด (1) รายรับของการให้บริการอาบน้ำหรืออบตัว และนวด - รายรับของการให้บริการอาบน้ำหรืออบตัว และนวด โดยมีผู้ให้บริการ อัตราภาษี 10 % ในสถานศึกษาหรือในวัด หรือสถานที่สำหรับปฏิบัติ พิธีกรรมทางศาสนา ยกเว้นภาษี จุมพล ริมสาคร
(2) รายรับอื่น ๆ ยกเว้นภาษี - รายรับของการให้บริการอาบน้ำหรืออบตัว และนวด ในโรงพยาบาล หรือสถานพยาบาล ตามกฎหมายว่าด้วยสถานพยาบาล ยกเว้นภาษี - รายรับของการให้บริการอาบน้ำหรืออบตัว และนวด ในสถานบริการเสริมความงาม หรือเพื่อสุขภาพ ตามหลักเกณฑ์ และเงื่อนไขที่อธิบดีกำหนด ยกเว้นภาษี (2) รายรับอื่น ๆ ยกเว้นภาษี จุมพล ริมสาคร
กรมสรรพสามิตไม่ยกเว้นภาษีให้แก่สถานบริการประเภทอาบน้ำหรืออบตัว ประกาศกรมสรรพสามิต เรื่อง หลักเกณฑ์ และเงื่อนไขการยกเว้นภาษีสรรพสามิตให้แก่สถานบริการประเภทอาบน้ำหรืออบตัว และนวด ในสถานเสริมความงามหรือเพื่อสุขภาพ ลงวันที่ 28 มกราคม 2546 ........................................................... กรมสรรพสามิตไม่ยกเว้นภาษีให้แก่สถานบริการประเภทอาบน้ำหรืออบตัว และนวดในสถานบริการเสริมความงามหรือเพื่อสุขภาพ ที่มีลักษณะ ดังต่อไปนี้ 1. เป็นสถานบริการที่ได้รับอนุญาตให้ประกอบกิจการอาบ อบ นวด ตามมาตรา 3 (3) แห่งพระราชบัญญัติสถานบริการ พ.ศ. 2509 2. มีอ่างอาบน้ำ หรือสถานที่อาบน้ำ ในห้องเดียวกับห้องให้บริการนวด ไม่ว่าจะมีการแยกส่วนระหว่างที่มีอ่างอาบน้ำ หรือสถานที่อาบน้ำกับส่วนให้บริการนวด โดยมีประตูกั้นหรือไม่ก็ตาม 3. จัดให้มีสถานที่ รูป หรือสื่อ เพื่อให้ผู้ใช้บริการสามารถเลือกผู้ให้บริการได้ จุมพล ริมสาคร
(3) สถานอาบน้ำ นวด หรืออบตัว ซึ่งมีผู้บริการให้แก่ลูกค้า เว้นแต่ พระราชบัญญัติสถานบริการ พ.ศ.2509 แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติสถานบริการ (ฉบับที่ 4) พ.ศ.2547 “สถานบริการ” หมายความว่า สถานที่ที่ตั้งขึ้นเพื่อให้บริการโดยหวังประโยชน์ในทางการค้าดังต่อไปนี้ (1) สถานเต้นรำ รำวง หรือรองเง็ง เป็นปกติธุระประเภทที่มีและประเภทที่ไม่มีคู่บริการ (2) สถานที่ที่มีอาหาร สุรา น้ำชา หรือเครื่องดื่มอย่างอื่นจำหน่ายและบริการ โดยมีผู้บำเรอสำหรับปรนนิบัติลูกค้า (3) สถานอาบน้ำ นวด หรืออบตัว ซึ่งมีผู้บริการให้แก่ลูกค้า เว้นแต่ จุมพล ริมสาคร
(ค) สถานที่อื่นตามที่กำหนดในกฎกระทรวง (ก) สถานที่ซึ่งผู้บริการได้ขึ้นทะเบียนและรับใบอนุญาตเป็นผู้ประกอบโรคศิลปะสาขาการแพทย์แผนไทยประเภทการนวดไทยตามกฎหมายว่าด้วยการประกอบโรคศิลปะ หรือได้รับยกเว้นไม่ต้องขึ้นทะเบียนและรับใบอนุญาตเป็นผู้ประกอบโรคศิลปะ สาขาการแพทย์แผนไทย ประเภทการนวดไทยตามกฎหมายดังกล่าว หรือสถานพยาบาลตามกฎหมายว่าด้วยสถานพยาบาล (ข) สถานที่เพื่อสุขภาพหรือเพื่อเสริมสวยที่กระทรวงสาธารณสุขประกาศกำหนด โดยความเห็นชอบของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย ซึ่งจะต้องมีลักษณะของสถานที่ การบริการ หรือผู้ให้บริการเป็นไปตามมาตรฐานที่กระทรวงสาธารณสุขประกาศกำหนดโดยความเห็นชอบของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยด้วย ประกาศดังกล่าวจะกำหนดหลักเกณฑ์และวิธีการตรวจสอบเพื่อการรับรองให้เป็นไปตามมาตรฐานนั้นด้วยก็ได้ หรือ (ค) สถานที่อื่นตามที่กำหนดในกฎกระทรวง จุมพล ริมสาคร
(6) สถานที่อื่นตามที่กำหนดในกฎกระทรวง (4) สถานที่ที่มีอาหาร สุรา หรือเครื่องดื่มอย่างอื่นจำหน่ายหรือให้บริการ โดยมีรูปแบบอย่างหนึ่งอย่างใด ดังต่อไปนี้ (ก) มีดนตรี การแสดงดนตรี หรือการแสดงอื่นใดเพื่อการบันเทิงและยินยอมหรือปล่อยปละละเลยให้นักร้อง นักแสดง หรือพนักงานอื่นใดนั่งกับลูกค้า (ข) มีการจัดอุปกรณ์การร้องเพลงประกอบดนตรีให้แก่ลูกค้า โดยจัดให้มีผู้บริการขับร้องเพลงกับลูกค้า หรือยินยอมหรือปล่อยปละละเลยให้พนักงาน อื่นใดนั่งกับลูกค้า (ค) มีการเต้นหรือยินยอมให้มีการเต้น หรือจัดให้มีการแสดงเต้น เช่น การเต้นบนเวที หรือการเต้นบริเวณโต๊ะอาหารหรือเครื่องดื่ม (ง) มีลักษณะของสถานที่ การจัดแสงหรือเสียง หรืออุปกรณ์อื่นใดตามที่กำหนดในกฎกระทรวง (5) สถานที่ที่มีอาหาร สุรา หรือเครื่องดื่มอย่างอื่นจำหน่าย โดยจัดให้มีการแสดงดนตรี หรือการแสดงอื่นใดเพื่อการบันเทิง ซึ่งปิดทำการหลังเวลา 24.00 นาฬิกา (6) สถานที่อื่นตามที่กำหนดในกฎกระทรวง จุมพล ริมสาคร
ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง กำหนดสถานที่เพื่อสุขภาพหรือเพื่อเสริมสวย มาตรฐานของสถานที่ การบริการ ผู้ให้บริการ หลักเกณฑ์ และวิธีการตรวจสอบเพื่อการรับรองให้เป็นไปตามมาตรฐานสำหรับสถานที่เพื่อสุขภาพหรือเพื่อเสริมสวย ตามพระราชบัญญัติสถานบริการ พ.ศ.2509 ลงวันที่ 21 เมษายน 2547 (ประกาศในราชกิจจานุเบกษา วันที่ 26 เมษายน 2547) จุมพล ริมสาคร
ตอนที่ 12 กิจการที่ได้รับอนุญาตหรือสัมปทานจากรัฐ ตอนที่ 12 กิจการที่ได้รับอนุญาตหรือสัมปทานจากรัฐ กิจการโทรคมนาคม กิจการโทรศัพท์พื้นฐาน - รายรับจากการให้บริการโทรศัพท์ภายในประเทศ อัตรา 2 % - รายรับจากการให้บริการโทรศัพท์ระหว่างประเทศ เฉพาะใน ส่วนที่เป็นรายรับภายในประเทศ อัตรา 2 % - รายรับอื่น ๆ ยกเว้นภาษี จุมพล ริมสาคร
(2) กิจการโทรศัพท์เคลื่อนที่ หรือวิทยุคมนาคมระบบเซลลูล่า - รายรับจากการให้บริการโทรศัพท์ภายในประเทศ อัตราภาษี 10 % - รายรับจากการให้บริการโทรศัพท์ระหว่างประเทศ เฉพาะในส่วน ที่เป็นรายรับภายในประเทศ อัตราภาษี 10 % - รายรับอื่น ๆ ยกเว้นภาษี (3) อื่น ๆ ยกเว้นภาษี จุมพล ริมสาคร
เขตปลอดอากร เขตปลอดอากร ตามกฎหมายศุลกากร เขตปลอดภาษี หมายความว่า เขตปลอดภาษีสรรพสามิต ซึ่งอธิบดีกรมสรรพสามิตประกาศกำหนดโดยมีหลักเกณฑ์ คือ ตั้งอยู่บริเวณชายฝั่งทะเล หรือมีท่อขนส่งน้ำมันและผลิตภัณฑ์น้ำมันไปยังท่าเรือเพื่อให้สามารถขนส่งน้ำมันและผลิตภัณฑ์น้ำมันทางเรือได้ ประกาศกรมสรรพสามิต เรื่อง กำหนดเขตปลอดภาษีสรรพสามิต จุมพล ริมสาคร
พระราชบัญญัติสุรา พ.ศ. 2493 ต้องได้รับอนุญาตก่อนจึงทำได้ - ทำสุรา - นำเข้า - ใช้สุราทำสินค้า - ขายสุรา - ขนสุรา จุมพล ริมสาคร
พระราชบัญญัติยาสูบ พ.ศ. 2509 ต้องได้รับอนุญาตก่อนจึงทำได้ - การเพาะปลูก - การบ่ม - การอบ - การหั่น - การประกอบอุตสาหกรรมยาสูบ - การขาย จุมพล ริมสาคร
พระราชบัญญัติไพ่ พุทธศักราช 2486 พระราชบัญญัติไพ่ พุทธศักราช 2486 ต้องได้รับอนุญาตก่อนจึงทำได้ - การนำเข้า - การขาย จุมพล ริมสาคร
ข้อกำหนดใหม่ภาษีสรรพสามิต โครงสร้างภาษีสรรพสามิตรถยนต์
โครงสร้างภาษีสรรพสามิตรถยนต์ 1.รถยนต์นั่ง ประเภทรถยนต์ ขนาดเครื่องยนต์ อัตราภาษี (เดิม) (ใหม่) 1 รถยนต์นั่งเก๋ง ไม่เกิน 2,000 ซีซี และไม่เกิน 220 แรงม้า 2,001 –2,500 ซีซี และไม่เกิน 220 แรงม้า 2,501-3,000 ซีซี และไม่เกิน 220 แรงม้า เกิน 3,000 ซีซี หรือเกิน 220 แรงม้า 35 35,41 41 48 30 40 50 ใช้บังคับวันที่ 28 กรกฎาคม 2547
TOYOTA SOLUNA VIOS 1500 ซีซี 1. รถยนต์นั่งเก๋ง ไม่เกิน 2,000 ซีซี TOYOTA SOLUNA VIOS 1500 ซีซี (ผลิตในประเทศ) HONDA CITY 1500 ซีซี (ผลิตในประเทศ)
1. รถยนต์นั่งเก๋ง ไม่เกิน 2,000 ซีซี Toyota Altis 1600-1800 ซีซี (ผลิตในประเทศ) Honda Civic 1700-2000 ซีซี (ผลิตในประเทศ)
Toyota Camry 2,001-2,400 ซีซี (ผลิตในประเทศ) 1. รถยนต์นั่งเก๋ง 2,001-2,500 ซีซี Toyota Camry 2,001-2,400 ซีซี (ผลิตในประเทศ) Honda Accord 2,001-2,400 ซีซี (ผลิตในประเทศ)
Honda Accord V6 VTEC 3,000 ซีซี (ผลิตในประเทศ) 1. รถยนต์นั่งเก๋ง 2,501-3,000 ซีซี Nissan Cefiro Brougham VIP 3,000 ซีซี (ผลิตในประเทศ) Honda Accord V6 VTEC 3,000 ซีซี (ผลิตในประเทศ)
BENZ S 280 L 2,800 ซีซี (ผลิตในประเทศ) 1. รถยนต์นั่งเก๋ง 2,501-3,000 ซีซี BENZ E 240 2,600 ซีซี (ผลิตในประเทศ) BENZ S 280 L 2,800 ซีซี (ผลิตในประเทศ)
BMW 735 Li 3,600 ซีซี (ผลิตในประเทศ) 1. รถยนต์นั่งเก๋ง เกิน 3,000 ซีซี BMW 735 Li 3,600 ซีซี (ผลิตในประเทศ)
โครงสร้างภาษีสรรพสามิตรถยนต์ 2.รถยนต์โดยสาร ประเภทรถยนต์ ซีซี อัตราภาษี (เดิม) (ใหม่) 2.1 รถยนต์โดยสารที่ มีที่นั่งไม่เกิน 10 คน ตามรถยนต์นั่ง 35,41 30,35,40,50 ใช้บังคับวันที่ 28 กรกฎาคม 2547 2.2 รถยนต์โดยสารที่มี ที่นั่งไม่เกิน 10 คน ซึ่งดัดแปลงมาจากรถ ตู้ทึบ หรือรถยนต์โดยสาร ที่มีที่นั่งเกิน 10 คน คิดจากมูลค่าดัดแปลง คันละ 273,000 บาท เก็บจากมูลค่าทั้งคัน 26 กันยายน 2547
Toyota New Estima 2,362 ซีซี (นำเข้า) 2. รถยนต์โดยสารที่มีที่นั่งไม่เกิน 10 คน 2,001-2,500 ซีซี Toyota New Estima 2,362 ซีซี (นำเข้า) Back
Volk Caravelle 2,800 ซีซี (นำเข้า) 2. รถยนต์โดยสารที่มีที่นั่งไม่เกิน 10 คน 2,501-3,000 ซีซี Volk Caravelle 2,800 ซีซี (นำเข้า) Back
Toyota Alphard 2,994 ซีซี (นำเข้า) 2. รถยนต์โดยสารที่มีที่นั่งไม่เกิน 10 คน 2,501-3,000 ซีซี Toyota Alphard 2,994 ซีซี (นำเข้า) Back
Toyota New Granvia 3,378 ซีซี (นำเข้า) 2. รถยนต์โดยสารที่มีที่นั่งไม่เกิน 10 คน เกิน 3,000 ซีซี Toyota New Granvia 3,378 ซีซี (นำเข้า) Back
โครงสร้างภาษีสรรพสามิตรถยนต์ 3. รถยนต์นั่งตรวจการณ์ (OPV) ประเภทรถยนต์ ขนาดเครื่องยนต์ อัตราภาษี (เดิม) (ใหม่) 3. รถยนต์นั่งตรวจการณ์ (OPV) ไม่เกิน 2,000 ซีซี และไม่เกิน 220 แรงม้า 2,001 –2,500 ซีซี และไม่เกิน 220 แรงม้า 2,501-3,000 ซีซี และไม่เกิน 220 แรงม้า เกิน 3,000 ซีซี หรือเกิน 220 แรงม้า 29 30 35 40 50 รถยนต์นั่งตรวจการณ์ที่ผลิตในประเทศ (CKD) ใช้บังคับวันที่ 1 มกราคม 2548 รถยนต์นั่งตรวจการณ์ที่นำเข้า (CBU) ใช้บังคับวันที่ 1 มกราคม 2548
Honda CRV 2,000 ซีซี (ผลิตในประเทศ) 3. รถยนต์นั่งตรวจการณ์ OPV ไม่เกิน 2,000 ซีซี Honda CRV 2,000 ซีซี (ผลิตในประเทศ)
Suzuki Vitara 1,600 ซีซี (ผลิตในประเทศ) 3. รถยนต์นั่งตรวจการณ์ OPV ไม่เกิน 2,000 ซีซี Suzuki Vitara 1,600 ซีซี (ผลิตในประเทศ)
LANDROVER Freelander 2,500 ซีซี 3. รถยนต์นั่งตรวจการณ์ OPV 2,001-2,500 ซีซี LANDROVER Freelander 2,500 ซีซี (ผลิตในประเทศ)
Volvo XC 90 3,000 ซีซี (ผลิตในประเทศ) 3. รถยนต์นั่งตรวจการณ์ OPV 2,501-3,000 ซีซี Volvo XC 90 3,000 ซีซี (ผลิตในประเทศ)
Lexus Harrier 2,994 ซีซี (นำเข้า) 3. รถยนต์นั่งตรวจการณ์ OPV 2,501-3,000 ซีซี Lexus Harrier 2,994 ซีซี (นำเข้า)
Toyota Landcruiser VX1 4,663 ซีซี (นำเข้า) 3. รถยนต์นั่งตรวจการณ์ OPV เกิน 3,000 ซีซี Toyota Landcruiser VX1 4,663 ซีซี (นำเข้า)
โครงสร้างภาษีสรรพสามิตรถยนต์ ใช้บังคับวันที่ 28 กรกฎาคม 2547 4.รถยนต์กระบะ ประเภทรถยนต์ ซีซี อัตราภาษี (เดิม) (ใหม่) 4.1 รถกระบะบรรทุกไม่เกิน 1 ตัน 4.2 รถกระบะบรรทุกพิเศษ 4.3 รถกระบะตามข้อ 4.1-4.2 4.4 รถยนต์นั่งที่มีกระบะ (Double Cab) 4.5 รถยนต์นั่งกึ่งบรรทุก (PPV) 4.6 รถกระบะดัดแปลง (ดัดแปลงเป็นธุรกิจ) หมายเหตุ: รถยนต์ตามข้อ 4.1 – 4.6 มีคุณลักษณะตามที่ รมว.คลังประกาศกำหนด ไม่เกิน 3,250 เกิน 3,250 3 18 3,18 12 20 จากมูลค่าดัดแปลง 50 จากมูลค่าทั้งคัน ใช้บังคับวันที่ 28 กรกฎาคม 2547
ISUZU SPARK (Single Cab) 2,500-3,000 ซีซี 4.1 รถยนต์กระบะ 1 ตัน ISUZU SPARK (Single Cab) 2,500-3,000 ซีซี (ผลิตในประเทศ) Back
Toyota X-Tra Cab (Space Cab) 2,500-3,000 ซีซี 4.1 รถยนต์กระบะ 1 ตัน Toyota X-Tra Cab (Space Cab) 2,500-3,000 ซีซี (ผลิตในประเทศ) Back
Toyota Sport Cruiser 2,400-3,000 ซีซี 4.2 รถยนต์นั่งที่มีกระบะ (Double Cab) Toyota Sport Cruiser 2,400-3,000 ซีซี (ผลิตในประเทศ) Back
4.2 รถยนต์นั่งที่มีกระบะ (Double Cab) Isuzu Dmax Cab 4 2,400-3,000 ซีซี (ผลิตในประเทศ) Back
Toyota Sportrider 2,500-3,000 ซีซี 4.3 รถยนต์นั่งกึ่งบรรทุก (PPV) Toyota Sportrider 2,500-3,000 ซีซี (ผลิตในประเทศ) Back
Mitsubishi Strada G-Wagon 2,500 ซีซี 4.3 รถยนต์นั่งกึ่งบรรทุก (PPV) Ford Everest 2,500 ซีซี (ผลิตในประเทศ) Mitsubishi Strada G-Wagon 2,500 ซีซี (ผลิตในประเทศ) Back
4.4 รถยนต์กระบะดัดแปลง (ดัดแปลงเป็นธุรกิจ) TR Adventure Master 3,000 ซีซี (ดัดแปลงเป็นนั่ง 2 ตอนแวน 5 ประตู: Station Wagon) (ผลิตในประเทศ) TR Freelife 2,700-3,000 ซีซี (ดัดแปลงเป็นนั่ง 2 ตอนท้ายบรรทุก 4 ประตู) (ผลิตในประเทศ) Back
โครงสร้างภาษีสรรพสามิตรถยนต์ 5.รถยนต์ประหยัดพลังงาน ประเภทรถยนต์ อัตราภาษี (เดิม) (ใหม่) 5.1 รถยนต์นั่ง หรือรถยนต์โดยสารที่มีที่นั่งไม่เกิน 10 คน แบบผสมที่ใช้พลังงานเชื้อเพลิง และไฟฟ้า (Hybrid Electric Car) ไม่เกิน 3,000 ซีซี 5.2 รถยนต์นั่ง หรือรถยนต์โดยสารที่มีที่นั่งไม่เกิน 10 คน แบบพลังงานไฟฟ้า (Electric Powered Car) 5.3 รถยนต์นั่ง หรือรถยนต์โดยสารที่มีที่นั่งไม่เกิน 10 คน แบบเซลล์เชื้อเพลิง (Fuel Cell Powered Car) ตามรถยนต์นั่ง - 10 ใช้บังคับวันที่ 28 กรกฎาคม 2547
Honda Civic Hybrid (นำเข้า) 5.1 รถยนต์นั่งแบบผสมที่ใช้พลังงานเชื้อเพลิง และไฟฟ้า (Hybrid Electric Car) Honda Civic Hybrid (นำเข้า) Back
Toyota Estima Hybrid (นำเข้า) 5.1 รถยนต์โดยสารที่มีที่นั่งไม่เกินสิบคน แบบผสมที่ใช้พลังงาน เชื้อเพลิง และไฟฟ้า (Hybrid Electric Car) Toyota Estima Hybrid (นำเข้า) Back
5.2 รถยนต์นั่งแบบพลังงานไฟฟ้า (Electric Powered Car) Toyota Rav 4 EV (นำเข้า) Back
Honda Fuel Cell (นำเข้า) 5.3 รถยนต์นั่งแบบเซลล์เชื้อเพลิง (Fuel Cell Powered Par) Honda Fuel Cell (นำเข้า) Back
โครงสร้างภาษีสรรพสามิตรถยนต์ 6.รถยนต์นั่งที่ใช้พลังงานทดแทน ประเภทรถยนต์ ซีซี อัตราภาษี (เดิม) (ใหม่) 6.1 รถยนต์นั่ง หรือรถยนต์โดยสารที่มีที่นั่งไม่เกิน 10 คนที่ใช้เชื้อเพลิงประเภทเอทานอลเป็น ส่วนผสมกับน้ำมันเชื้อเพลิงไม่น้อยกว่าร้อยละ 20 และมีคุณลักษณะตามที่รมว. คลังประกาศกำหนด 6.2 รถยนต์นั่ง หรือรถยนต์โดยสารที่มีที่นั่งไม่เกิน 10 คน ที่ใช้ก๊าซธรรมชาติเป็นเชื้อเพลิง ไม่เกิน 3,000 ตามรถยนต์นั่ง 20 ใช้บังคับวันที่ 28 กรกฎาคม 2547
โครงสร้างภาษีสรรพสามิตรถยนต์ ใช้บังคับวันที่ 28 กรกฎาคม 2547 7.รถยนต์นั่งสามล้อ และรถยนต์นั่งที่ผลิตขึ้นโดยใช้เครื่องยนต์ของรถจักรยานยนต์ ประเภทรถยนต์ อัตราภาษี (เดิม) (ใหม่) 7.1 รถยนต์นั่งสามล้อ 7.2 รถยนต์นั่งที่ผลิตขึ้นโดยใช้เครื่องยนต์ ของรถจักรยานยนต์ขนาดไม่เกิน 250 ซีซี ตามรถยนต์นั่ง 5 ใช้บังคับวันที่ 28 กรกฎาคม 2547
7.รถยนต์นั่งสามล้อ และรถยนต์นั่งที่ผลิตหรือดัดแปลงจากรถจักรยานยนต์ รถยนต์นั่งสามล้อ (ผลิตในประเทศ) Back
จุมพล ริมสาคร
จุมพล ริมสาคร
แผนการพัฒนากฎหมายของกรมสรรพสามิต หลักการที่ 1 การดำเนินการให้เป็นไปตามรัฐธรรมนูญหรือกฎหมายที่กำหนดไว้ (5 แนวทาง) หลักการที่ 2 การพัฒนากฎหมายตามนโยบายพิเศษของรัฐบาล (5 แนวทาง) หลักการที่ 3 การพัฒนากฎหมายเชิงกระบวนการ(5 แนวทาง) จุมพล ริมสาคร
ในการปฏิบัติหน้าที่ ต้องมีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับกฎหมายต่าง ๆ ที่ใช้ในการบริหารจัดเก็บภาษีได้เป็นอย่างดี หากสงสัยต้องสอบถามจากผู้รู้ให้แน่ใจเสียก่อนจึงลงมือกระทำ มิใช่ลงมือกระทำแล้วจึงสอบถาม จุมพล ริมสาคร