บทที่ 7 การหาปริพันธ์ (Integration)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เฉลย (เฉพาะข้อแสดงวิธีทำ)
Advertisements

อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ เตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ
ชื่อผู้สอน : นางฐิติมา พิริยะ
การใช้งานโปรแกรม SPSS
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
สื่อการสอนด้วยโปรมแกรม “Microsoft Multipoint”
ชนิดของข้อมูล และการคำนวณทางคณิตศาสตร์
Engineering Mechanics
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
ครั้งที่ 7 รีจิสเตอร์ (REGISTER). รีจิสเตอร์ (Register) รีจิสเตอร์เป็นวงจรความจำที่ใช้ในการเก็บค่า ทางไบนารี่ ใช้ในการเก็บค่าในระหว่างการ ประมวลผลโดยใช้ฟลิป.
เทคนิคการใช้ Microsoft Excel. 1. การตีตารางในรูปแบบต่าง ๆ 2. การแทรกภาพในตาราง 3. การตกแต่งข้อมูลด้วย Format Cells 4. การคำนวณ บวก ลบ คูณ หาร 5. การย่อ.
สาธิตการใช้โปรแกรมฐานข้อมูล
หน่วยที่ 1 ปริมาณทางฟิสิกส์ และเวกเตอร์
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ Lab 05 : Microsoft Excel (Part3) พท 260 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารทางการท่องเที่ยว อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ.
เกม คณิตคิดเร็ว.
แรงแบ่งได้เป็น 2 ลักษณะ คือ 1. แรงสัมผัส ( contact force )
หลักการลดรูปฟังก์ชันตรรกให้ง่าย
อนุกรมอนันต์และการลู่เข้า
สัญญาณและระบบ (SIGNALS AND SYSTEMS)
การประยุกต์ Logic Gates ภาค 2
สมการเชิงเส้น (Linear equation)
BC320 Introduction to Computer Programming
คุณลักษณะของสัญญาณไฟฟ้าแบบต่าง ๆ
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 4 : สื่อกลางส่งข้อมูลและการมัลติเพล็กซ์ (Transmission Media and Multiplexing) Part3 สธ313 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทางธุรกิจ.
จากรูปที่ 13.3 ที่เวลา เมื่อไม่มีสัญญาณที่อินพุตทรานซิสเตอร์ จะไม่ทำงานและอยู่ในสภาวะ OFF คาปาซิเตอร์ C จะเก็บประจุเพื่อให้แรงดันตกคร่อมมีค่าสูง ทำให้มีกระแสไหลผ่าน.
การเสริมไวตามิน อี ในสูตรอาหารสุกร
กลุ่มคำและประโยค ภาษาไทย ม. ๓
บทที่ 7 การเขียนโปรแกรม แบบวนรอบทำซ้ำ (Loop)
ประเภทแผ่นโปร่งใส (แผ่นใส) รายวิชา ออปแอมป์และลิเนียร์ไอซี
บทที่ 4 การอินทิเกรต (Integration)
ทฤษฎีการวางเงื่อนไข แบบการกระทำ (Operant Conditioning Theory)
Linearization of Nonlinear Mathematical Models
บทที่ 8 เงื่อนไขตัดสินใจ
เซต (SET) ประวัติย่อของวิชาเซต ความหมายของเซต การเขียนแทนเซต
ชุดที่ 1 ไป เมนูรอง.
สัญญาณและระบบ (SIGNALS AND SYSTEMS)
ความรู้เบื้องต้นระบบระบายอากาศ
Data storage II Introduction to Computer Science ( )
แผ่นดินไหว.
วิลเลี่ยม ฮาร์วี่ ได้กล่าวว่า..."ความเชื่อเปลี่ยนแปลงได้เสมอ   แต่ความจริงไม่อาจเปลี่ยนแปลงได้" 
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ Lab 06 : Microsoft Excel (Part2) ทท101 เทคโนโลยีสารสนเทศและนวัตกรรมการสื่อสารทางการท่องเที่ยว อาจารย์อภิพงศ์
สมการพหุนาม ที่มีความซับซ้อนมากขึ้น
บทที่7 ทฤษฎีกราฟเบื้องต้น
การทดลองหาค่าความแน่นของดินที่มีเม็ดผ่านตะแกรงขนาด 19.0 มม. 1 เติมทรายลงในขวดซึ่งประกอบเข้ากับกรวยเรียบร้อย แล้วให้มีปริมาณเพียงพอสำหรับการใช้งาน.
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
การสร้างแบบสอบถาม และ การกำหนดเงื่อนไข.
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี อ.ปิยะพงศ์ ผลเจริญ
ตัวอย่างการจัดทำรายงานการผลิต และงบการเงิน
BASIC STATISTICS MEAN / MODE / MEDIAN / SD / CV.
บทที่ 5 : ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
Chapter 5: Probability distribution of random variable
วงจรอาร์ ซี ดิฟเฟอเรนติเอเตอร์
การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไตล์ (Projectile Motion) จัดทำโดย ครูศุภกิจ
ค่ารูรับแสง - F/Stop ค่ารูรับแสงที่มีค่าตัวเลขต่ำใกล้เคียง 1 มากเท่าไหร่ ค่าของรูรับแสงนั้นก็ยิ่งมีความกว้างมาก เพราะเราเปรียบเทียบค่าความสว่างที่ 1:1.
บทที่ 10 การแบ่งปัญหาใหญ่ออกเป็นปัญหาย่อยและการสร้างลำดับขั้นตอนย่อย
2 โครงสร้างข้อมูลแบบสแตก (STACK).
กิจกรรมที่ 7 นายปรีชา ขอวางกลาง
บทที่ 2 โครงสร้างข้อมูลแบบแถวลำดับหรืออาร์เรย์ (Array)
การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
ฟังก์ชันของโปรแกรม Computer Game Programming
การเติบโตของฟังก์ชัน (Growth of Functions)
บทที่ 4 การจำลองข้อมูลและกระบวนการ (Data and Process Modeling)
สัญญาณและระบบ (SIGNALS AND SYSTEMS)
กำหนดการเชิงเส้น : การแก้ปัญหาด้วยวิธีกราฟ
บทที่ 7 การบัญชีภาษีมูลค่าเพิ่ม
การวิเคราะห์สถานะคงตัวของ วงจรที่ใช้คลื่นรูปไซน์
ปรากฏการณ์ดอปเพลอร์ของเสียง Doppler Effect of Sound
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทที่ 7 การหาปริพันธ์ (Integration) Antiderivative (Indefinite Integral) Differential Equation And Modeling

ฟังก์ชันอนุพันธ์กลับ(Antiderivative) นิยาม ฟังก์ชัน F(x) เป็น ฟังก์ชันอนุพันธ์กลับ ของ f(x) ถ้าหาก F’(x) = f(x) สำหรับทุก x ในโดเมนของ f เซ็ตของทุกๆ ฟังก์ชันอนุพันธ์กลับของ f เรียกว่า ปริพันธ์แบบไม่จำกัด(indefinite integral) ของ f เทียบกับ x แสดงด้วย Integral sign integrand Variable of integration

ตารางฟังก์ชันอนุพันธ์กลับ ตัวอย่างที่ 1 constant จงหาค่า วิธีทำ antiderivative ตารางฟังก์ชันอนุพันธ์กลับ

ตัวอย่างที่ 2 เลือกฟังก์ชันอนุพันธ์กลับ จากตาราง

ตัวอย่างที่ 3 ตรวจสอบผลปริพันธ์ ? ปัญหาค่าเริ่มต้น (Initial Value Problems) คือปัญหาที่กำหนดอนุพันธ์ y’(x) และกำหนดค่าเริ่มต้น yo เมื่อ x = xo มาให้

ตัวอย่างที่ 4 จงหาเส้นโค้งที่มีความชันของเส้นสัมผัสที่จุด (x,y) เป็น 3x2 และผ่านจุด (1,-1) สมการอนุพันธ์ ค่าเริ่มต้น General solution Particular solution

แบบจำลองทางคณิตศาสตร์ (Mathematical Modeling) กำหนดตัวแปร หาสมการอนุพันธ์ กำหนดค่าเงื่อนไขเริ่มต้น หาผลเฉลย ตรวจสอบผลเฉลย

ชิ้นหนึ่งถูกโยนของลงมา อยากทราบว่าวัตถุจะตกถึงพื้นในเวลาใด ตัวอย่างที่ 5 บอลลูนกำลังลอยขึ้นด้วยอัตรา12 ฟุต/วินาที ที่ความสูง 80 ฟุตเหนือพื้นวัตถุ ชิ้นหนึ่งถูกโยนของลงมา อยากทราบว่าวัตถุจะตกถึงพื้นในเวลาใด วิธีทำ กำหนดให้ v(t) = ความเร็ว t = เวลา s(t)= ระยะความสูงจากพื้น 12 ฟุต/วินาที ความเร่งเนื่อง จากแรงดึงดูดของโลก g สมการอนุพันธ์

เงื่อนไขเริ่มต้น: v(0) = 12 แก้สมการ หาค่า C จากเงื่อนไขเริ่มต้น

แก้สมการ แทนค่าเงื่อนไขเริ่มต้น หาเวลาที่ระยะทาง = 0

กฎการหาปริพันธ์

ตัวอย่างที่ 1 วิธีทำ ตัวอย่างที่ 2 ปริพันธ์แยกเทอม

ตัวอย่างที่ 3 ปริพันธ์อง sin2x และ cos2x

ตัวอย่างที่ 4 ใช้ กฎยกกำลัง

ตัวอย่างที่ 5

ตัวอย่างที่ 6 เปลี่ยนตัวแปร

ตัวอย่างที่ 7

ตัวอย่างที่ 8 ใช้เอกลักษณ์ตรีโกณฯ

การประมาณพื้นที่ใต้กราฟโดยผลรวมจำกัด อัตราการสูบฉีดเลือดของหัวใจหาได้โดยการฉีดสีย้อม (กำมันตรังสีที่ไม่เป็น อันตราย) เข้าไปห้องขวาของหัวใจ เลือดจะไหลผ่านปอด แล้วกลับมาที่หัวใจห้อง ซ้ายก่อนจะไหลออกเส้นเลือดใหญ่ ซึ่งจะเป็นจุดที่วัดความเข้มข้นของสีย้อม

การประมาณปริมาตรของทรงกลม

การประมาณค่าเฉลี่ยของฟังก์ชันโดยพื้นที่ใต้กราฟ

ผลรวมรีมาน ตัวอย่างที่ 1 สัญลักษณ ์

นิยามของ ปริพันธ์แบบจำกัด ด้วยลิมิตของ Riemann Sums ให้ f เป็นฟังก์ชันที่นิยามในช่วง [a,b] ถ้าหากแบ่งออกเป็นช่วงย่อยๆด้วยตัว แบ่ง P และ ck อยู่ระหว่างแต่ละช่วงย่อย [xk-1,xk] ถ้าหากมีจำนวนจริง I ที่ทำ ให้ ไม่ว่าจะเลือกแบ่ง P และเลือก ck อย่างไรก็ได้ ดังนั้น f สามารถอินทิเกรตได้ในช่วง [a,b] และ I เป็นค่า ปริพันธ์แบบจำกัด ของ f

ทฤษฎีบทที่ 1 ฟังก์ชันที่ต่อเนื่อง สามารถหาปริพันธ์ได้ Differentiation Integration Upper limit lower limit

ตัวอย่างที่ 2 การใช้เครื่องหมาย จงแสดง ลิมิตในรูปของ ปริพันธ์ ในช่วงของ x = [-1,3] และ mk เป็นกึ่งกลาง ของช่วงที่ k นิยาม พื้นที่ใต้กราฟ ถ้า y=f(x) ไม่มีค่าเป็นลบ และหาปริพันธ์ได้ในช่วง [a,b] จะได้ว่าพื้นที่ใต้ กราฟเป็น

ตัวอย่างที่ 3 พื้นที่ใต้กราฟ f (x)= x จงหา วิธีทำ พื้นที่ใต้กราฟของฟังก์ชัน y = x คือพื้นที่สี่เหลี่ยมคางหมูในรูป พื้นที่ ดังนั้น

นิยาม ค่าเฉลี่ยของฟังก์ชัน ค่าเฉลี่ยของฟังก์ชัน f ในช่วง [a,b] คือ

ตัวอย่างที่ 4 หาค่าเฉลี่ย หาค่าเฉลี่ยฟังก์ชัน ในช่วง [-2,2] สมการคือครึ่งวงกลมมีพื้นที่ ดังนั้น หาค่าเฉลี่ยฟังก์ชัน

กฎการหาปริพันธ์แบบจำกัด

ตัวอย่างที่ 5

ทฤษฎีค่าเฉลี่ยและทฤษฎีพื้นฐาน ทฤษฎีค่าเฉลี่ยสำหรับการอินทีเกรตแบบมีขอบเขต (Mean Value Theorem for Definite Integrals) ถ้าหาก f ต่อเนื่องในช่วง [a,b] ดังนั้นจะต้องมีจุด c อย่างน้อย หนึ่งจุดที่

ตัวอย่างที่ 1 จงหาค่าเฉลี่ยของฟังก์ชัน f(x)= 4 – x ในช่วง [0,3] และหาว่าจุดไหนของฟังก์ชัน ที่มีค่าเท่ากับค่าเฉลี่ย วิธีทำ

ทฤษฎีพื้นฐาน (fundamental theorem) ตอนที่ 1 ถ้า f ต่อเนื่องในช่วง [a,b] แล้ว ฟังก์ชัน จะหาอนุพันธ์ได้ตลอดช่วง [a.b] และ

ตัวอย่างที่ 2 จงหาค่า และ วิธีทำ

ตัวอย่างที่ 3 จงหา dy/dx เมื่อ วิธีทำ ให้ และจาก

ตัวอย่างที่ 4 จงหา ก) ข) ก) ข)

การหาปริพันธ์เชิงตัวเลขโดยวิธี trapezoidal ประมาณค่าอินทีเกรต ด้วย เมื่อ yi เป็นค่าของฟังก์ชันที่จุดแบ่ง โดยที่

ตัวอย่างที่ 5 ค่าที่ถูกต้องคือ 2.333333