บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกายวิภาคและสรีรวิทยา

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
บทที่ 5 การดำรงชีวิตของพืช
Advertisements

ระบบโทรศัพท์ บทที่ 3 เครื่องโทรศัพท์.
การคัดเลือกพื้นที่เพื่อการพัฒนาสถานบริการสาธารณสุข ในชายแดนชนบท
การเข้ารับพระราชทาน ปริญญาบัตร มหาวิทยาลัยเกษตรศา สตร์  แผนผังการเดิน แผนผังการเดิน แผนผังการเดิน  รายละเอียดการปฏิบัติ ในแต่ละขั้นตอน รายละเอียดการปฏิบัติ
วิชาสังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม สาระภูมิศาสตร์ ระดับชั้น ม.4
MULT2402 การพัฒนาสื่อมัลติมีเดีย
การบริหารการค้าปลีกและการค้าส่ง
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชา อุตสาหกรรมการท่องเที่ยว
กระบวนการถ่ายทอดความรู้
การแต่งกายประดับ เครื่องราชอิสริยาภรณ์ไทย
Microsof t Office Word เตรียมความ พร้อม Microsoft Office Word 2007 แดงเขียวน้ำเงิน ม่วงดำเขียว เหลืองส้มน้ำตาล น้ำเงินดำแดง.
1 ชุดการเรียนรู้ความปลอดภัยและอาชีวอนา มัย ด้านการยศาสตร์ เรื่องท่าทางการทำงานที่ถูก หลักการยศาสตร์ จัดทำโดย กรมสวัสดิการและคุ้มครอง แรงงาน สนับสนุนโดยสำนักงานประกันสังคม.
สถาบันด้านปัจจัยการ ผลิตทางการเษตร ( ตลาดแรงงาน ) ศ.491 การวิเคราะห์การผลิต และนโยบายการผลิตสินค้าเกษตร รศ. ภราดร ปรีดาศักดิ์ คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
1 ชุดการเรียนรู้ความปลอดภัยและอาชีวอนา มัย ด้านการยศาสตร์ เรื่อง การบริหารร่างกายระหว่างการ ทำงาน เพื่อยืดและผ่อนคลายกล้ามเนื้อ จัดทำโดย กรมสวัสดิการและคุ้มครอง.
องค์ประกอบของร่างกายมนุษย์ เนื้อหา 1.1 โครงสร้างร่างกายมนุษย์ 1.2 ระบบอวัยวะ.
ร่างกายและสมองของนักเรียน รักษาไว้ให้แข็งแรง
หลักการเลี้ยงสัตว์ คำบรรยาย โดย ครูสีกุน นุชชา
การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ
นางสาวศิวพร แพทย์ขิม เอกสุขศึกษา กศ. บ. คณะพลศึกษา.
แรงแบ่งได้เป็น 2 ลักษณะ คือ 1. แรงสัมผัส ( contact force )
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 2 : แบบจำลองเครือข่าย (Network Models) part1 สธ313 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทางธุรกิจ อาจารย์อภิพงศ์
สมัยกลาง (EARLY MEDIVAL)
บทที่ 1 สถาปัตยกรรมของระบบฐานข้อมูล (Database Architecture)
แผนที่และเครื่องมือทางภูมิศาสตร์
แนวทางการออกแบบโปสเตอร์
โครงสร้างและ หน้าที่ของราก
Introduction to Human Anatomy and Physiology
ระบบโทรศัพท์ บทที่ 3 เครื่องโทรศัพท์.
ตำรับยาเหลืองปิดสมุทร
Scene Design and Lighting Week1-3
เรื่อง ศึกษาตัวกลางที่เหมาะสมกับการชุบแข็งของเหล็กกล้าคาร์บอน
การเขียนหัวข้อ (Proposal) ที่ดี
การศึกษาการเคลื่อนที่เชิงอนุภาค
จุดหมุน สมดุลและโมเมนต์
แผนที่อากาศและแนวปะทะอากาศ
เรื่อง อันตรายของเสียง
ฝึกวิเคราะห์ย่อหน้า 1 การศึกษาทำให้มีคุณภาพชีวิตที่ดี ทั้งยังช่วยพัฒนาทางด้านความคิด สติปัญญา และสังคม ทั้งนี้การศึกษายังมีความสำคัญต่อการเป็นอยู่ เพราะรากฐานของความมั่นคงมาจากการได้รับการศึกษา.
“พื้นที่ที่สำรองไว้สำหรับคำอ้างอิงที่จะให้เคลื่อนไหวที่นี่ ”
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
วิธีการกำหนดค่า Microsoft SharePoint ของคุณ เว็บไซต์ออนไลน์
แผ่นดินไหว.
โรคทางพันธุกรรมที่เกิดจากยีนบน Autosome
บทที่ 12 โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก
Delirium พญ. พอใจ มหาเทพ 22 มีนาคม 2561.
Ernest Rutherford.
บทที่7 ทฤษฎีกราฟเบื้องต้น
วัฏจักรหิน วัฏจักรหิน : วัดวาอาราม หินงามบ้านเรา
การปรับปรุงพื้นที่ทุรกันดาร 2559 นายแพทย์สงกรานต์ ไหมชุม
วัสดุและเทคนิค ทางการออกแบบ อ.สุวิธธ์ สาดสังข์ ( Material and
บทที่ 9 การเรียงลำดับข้อมูล (Sorting)
มะเร็งปากมดลูก โดย นางจุฑารัตน์ กองธรรม พยาบาลวิชาชีพ รพ.สต.บ้านโนนแต้
อวัยวะที่ใช้ในการออกเสียง
พฤติกรรมมนุษย์เพื่อการพัฒนาตน
Structure of Flowering Plant
ค่ารูรับแสง - F/Stop ค่ารูรับแสงที่มีค่าตัวเลขต่ำใกล้เคียง 1 มากเท่าไหร่ ค่าของรูรับแสงนั้นก็ยิ่งมีความกว้างมาก เพราะเราเปรียบเทียบค่าความสว่างที่ 1:1.
ยิ้มก่อนเรียน.
การเตรียมตัวสู่ประชาคมอาเซียน
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
ศูนย์อนามัยที่ 8 อุดรธานี
สัปดาห์ที่ 9 Designs by SolidWorks
กรณีศึกษา : เทคโนโลยีชีวภาพกับสิ่งแวดล้อม
Lean Management การลดขั้นตอนการนัดตรวจสุขภาพจิตของ นร.กพ
ทายสิอะไรเอ่ย ? กลม เขียวเปรี้ยว เฉลย ทายสิอะไรเอ่ย ? ขาว มันจืด เฉลย.
การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย (Simple harmornic motion)
Welcome.. ข่าวประชาสัมพันธ์ กองคลัง สาระน่ารู้
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
การใช้ระบบสารสนเทศในการวิเคราะห์ข่าว
แผ่นดินไหว เกิดจากการเคลื่อนตัวของเปลือกโลกบริเวณแนวรอยเลื่อนของเปลือกโลก หรือการปะทุของภูเขาไฟ ทำให้เกิดการสั่นสะเทือนของแผ่นดิน ซึ่งหากเกิดการสั่นสะเทือนอย่างรุนแรง.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกายวิภาคและสรีรวิทยา รศ.ดร.สมปอง สรวมศิริ

วิชากายวิภาคและสรีรวิทยาของสัตว์เลี้ยง (คน 320) วิชาบังคับก่อน : ชว 100 ชีววิทยาทั่วไป และ ชว 220 สัตววิทยา คำอธิบายรายวิชา ความรู้เกี่ยวกับกายวิภาคศาสตร์ เนื้อเยื่อพื้นฐานของร่างกาย ระบบประสาท ระบบกล้ามเนื้อ ระบบอวัยวะรับความรู้สึก ระบบกระดูก และโครงสร้างที่เกี่ยวกับกระดูก ระบบสูบฉีดโลหิต และน้ำเหลือง ระบบย่อยอาหาร ระบบการหายใจ ระบบการขับถ่าย ระบบต่อมไร่ท่อ และระบบการสืบพันธุ์

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกายวิภาคและสรีรวิทยา นักศึกษาควรแยกความแตกต่างระหว่างกายวิภาคศาสตร์ และสรีรวิทยาได้ เข้าใจถึงการแบ่งประเภทในการศึกษาวิชา กายวิภาคศาสตร์ ควรมีความเข้าใจในเรื่องระนาบต่างๆ ใน ร่างกาย สามารถเรียกชื่อตำแหน่งต่างๆ ที่สำคัญในร่างกาย สัตว์ได้ และใช้ คำศัพท์ต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการบอกตำแหน่ง ในร่างกาย คำศัพท์ที่เกี่ยวข้องกับการเคลื่อนไหวของร่างกาย

กายวิภาคศาสตร์ กายวิภาคศาสตร์ (Anatomy) เป็นแขนงของวิชา ชีววิทยาที่ศึกษา เกี่ยวกับขนาด รูปร่าง โครงสร้าง และตำแหน่งของอวัยวะในร่างกาย สรีรวิทยา (Physiology) เป็นวิชาที่ศึกษาเกี่ยวกับหน้าที่ หรือการ ทำงานของเซลล์ และอวัยวะต่างๆ ในร่างกาย โดยทั่วไปจะศึกษาควบคู่กันไปทั้งกายวิภาคและสรีรวิทยา

แนววิชาของกายวิภาคศาสตร์ แบ่งออกเป็น 1. กายวิภาคศาสตร์เฉพาะทาง (Special anatomy) ศึกษาทาง ลักษณะโครงสร้างของสัตว์แต่ละชนิด ทุกระบบของร่างกาย 2. จุลกายวิภาคศาสตร์ (Histology หรือ Microscopic anatomy) ศึกษาเนื้อเยื่อต่างๆ ของร่างกายว่าประกอบด้วยเซลล์ประเภทใดบ้าง มีรูปร่างอย่างไร ขนาด อย่างไร

แนววิชาของกายวิภาคศาสตร์ (2) 3. มหกายวิภาคศาสตร์ (Gross anatomy หรือ Macroscopic anatomy) ศึกษาลักษณะโครงสร้างของอวัยวะต่างๆ ที่สามารถเห็นได้ ด้วยตาเปล่า โดยวิธีการชำแหละแยกเป็นส่วนๆ 4. คัพภะวิทยา (Embryology หรือ Developmental anatomy) ศึกษาการเจริญเติบโตเปลี่ยนแปลงของเซลล์ เนื้อเยื่อ และอวัยวะ ตั้งแต่เป็นตัวอ่อน จนกระทั่งคลอด

แนววิชาของกายวิภาคศาสตร์ (3) 5. กายวิภาคศาสตร์เปรียบเทียบ (Comparative anatomy) ศึกษา เปรียบเทียบด้านโครงสร้าง รูปร่างของอวัยวะของสัตว์ชนิดต่างๆ 6. กายวิภาคศาสตร์ทางสัตว์แพทย์ (Veterinary anatomy) ศึกษา กายวิภาคศาสตร์ของสัตว์เลี้ยง เพื่อประโยชน์ในอาชีพสัตว์แพทย์

ท่ามาตรฐานทางกายวิภาคศาสตร์ ใช้อ้างอิงเมื่อจะกล่าวถึงความสัมพันธ์ระหว่างอวัยวะต่าง ๆ กำหนดท่านี้เป็นท่า คนยืนตัวตรง ตาทั้งสองข้าง มองตรงไป ข้างหน้าในแนวระดับ แขนทั้งสองข้างแนบชิดลำตัว โดยหันผ่ามือทั้ง สองข้างแบออกไปทางด้านหน้า และเท้าทั้งสองข้างชิดกันตลอด การศึกษากายวิภาคศาสตร์สัตว์เลี้ยงจำเป็นต้องยึดหลักท่ามาตรฐาน ทางกายวิภาคของคนเช่นกัน

ท่ามาตรฐานทางกายวิภาคศาสตร์ (2) กำหนดท่านี้เป็นท่า คนยืนตัวตรง ตาทั้งสองข้าง มองตรงไป ข้างหน้าในแนวระดับ แขนทั้งสองข้างแนบชิดลำตัว โดยหันผ่ามือทั้ง สองข้างแบออกไปทางด้านหน้า

ระนาบหรือแนวตัดแบ่งร่างกาย ใช้กำหนดตำแหน่งและการบอกความสัมพันธ์ระหว่างอวัยวะแบ่งเป็น 1. ระนาบข้าง (Sagittal plane) หมายถึง ระนาบในแนวดิ่งที่แบ่ง ร่างกายมนุษย์ หรือสัตว์เลี้ยงออกเป็นสองซีกขวาและซ้าย แต่ละซีกไม่ จำเป็นต้องเท่ากัน ถ้าผ่าแบ่งตามแนวกึ่งกลางร่างกายตามแนวดิ่งพอดี จะแบ่งร่างกาย ออกเป็นสองซีกเท่ากัน ทั้งซ้ายและขวา เรียกว่า Midsagittal plane หรือ Median plane

ระนาบข้าง (Sagittal plane)

ระนาบหน้าหลัง (Coronal plane) คนตามแนวดิ่งตัดขนานกับรอยต่อของกะโหลก แบ่งร่างกายออกเป็น ซีกหน้าและซีกหลัง แต่ในสัตว์เลี้ยงเนื่องจากยืนด้วยเท้าทั้งสี่ ระนาบนี้ จะแบ่งร่างกายออกเป็นครึ่งบนและครึ่งล่าง เรียกว่า Horizontal plane Dorsal Horizontal plane Caudal / Posterior Cranial / Anterior Ventral

ระนาบขวาง (Transverse plane) ข้าง และระนาบหน้าหลัง แบ่งร่างกายคนออกเป็นครึ่งบน และครึ่งล่าง ร่างกายสัตว์แบ่งออกเป็นซีกหน้า และหลัง Transverse plane Anterior or Cranial Caudal or Posterior

แนวแกนร่างกาย (Body axis) แบ่งเป็น 3 แกนคือ 1. แกนหน้าหลัง (Anterior posterior axis) เป็นแนวแกนที่ทอด ผ่านจากส่วนหน้าของสัตว์ไปส่วนหลังของสัตว์ตามแนวนอน 2. แกนขวาง (Transverse axis หรือ Horizontal axis) เป็นแนว แกนที่ทอดผ่านร่างกายจากด้านซ้ายไปด้านขวาของร่างกายสัตว์ หรือ มนุษย์ตามแนวนอน 3. แกนดิ่ง (Vertical axis) เป็นแนวแกนในแนวดิ่งที่ตั้งฉากกับสอง แกนแรก

ศัพท์ที่ใช้ชี้บอกตำแหน่งและความสัมพันธ์ของอวัยวะ กำหนดศัพท์เฉพาะขึ้น เพื่อใช้ชี้บอกว่าโครงสร้างหรืออวัยวะนั้น ๆ อยู่ที่ใดในร่างกาย และมีความสัมพันธ์กับอวัยวะอื่น ๆ อย่างไร

ศัพท์ที่ใช้ชี้บอกตำแหน่งและความสัมพันธ์ของอวัยวะ (2) คำศัพท์ ความหมาย Anterior (Cranial) ส่วนหัวหรือด้านหน้าของสัตว์ หรือ ส่วนที่ค่อนไปทางด้านหน้า Posterior (Caudal) ส่วนท้ายหรือด้านหลังของสัตว์ หรือ ส่วนที่ค่อนไปทางด้านหลัง Ventral ด้านล่างหรือด้านที่ค่อนไปทางท้องของสัตว์ Dorsal ด้านบนหรือด้านหลังของร่างกายสัตว์

ศัพท์ที่ใช้ชี้บอกตำแหน่งและความสัมพันธ์ของอวัยวะ (3)

ศัพท์ที่ใช้ชี้บอกตำแหน่งและความสัมพันธ์ของอวัยวะ (4) คำศัพท์ ความหมาย Proximal ด้านที่อยู่สูง หรือเหนือกว่า หรืออยู่ใกล้กับ แนวกระดูกสันหลังมากกว่า Distal ด้านที่อยู่ต่ำกว่า หรือไกลกว่าแนวกระดูกสันหลัง Superior ส่วนบนเหนือหัวหรือส่วนหัว Inferior ส่วนล่างของร่างกาย Medial อยู่ใกล้กับแนวกลางตัว Lateral ส่วนที่อยู่ห่างจากแนวกลางตัว

Terminology of Movement คำศัพท์ ความหมาย Adduction การเคลื่อนไหวที่เข้าหาแนวกลางตัว Abduction การเคลื่อนไหวออกจากแนวกลางตัว Abduction Adduction

Terminology of Movement (2) คำศัพท์ ความหมาย Flexion การงอข้อต่อข้อใดข้อหนึ่ง Extension การยืดข้อต่อที่มีทิศทางตรงกันข้าม Flexion Extension

Terminology of Movement (3) คำศัพท์ ความหมาย Elevation การเคลื่อนที่ยกหรือเคลื่อนขึ้นไปทางส่วนหัว หรือด้านบน Depression การเคลื่อนลดหรือเคลื่อนลงไปทางด้านล่าง

Terminology of Movement (4) คำศัพท์ ความหมาย Protraction การเคลื่อนที่ในลักษณะการยื่นส่วนใดส่วน หนึ่งของร่างกายออกไปข้างหน้า Retraction การเคลื่อนที่ในลักษณะการหดหรือดึงกลับ ส่วนใดส่วนหนึ่งของร่างกายไปทางด้านท้าย

Body cavity (ช่องว่างในร่างกาย) Dorsal cavity=ช่องว่างที่อยู่ทางด้านหลังของลำตัว Ventral cavity =ช่องว่างที่อยู่ทางด้านท้องของลำตัว Abdominal cavity =ช่องท้องที่อยู่กลางค่อนมาทางท้ายของลำตัว Thoracic cavity =ช่องอกที่อยู่ทางด้านหน้าของลำตัว Pelvic cavity =ช่องว่างที่อยู่ทางด้านท้ายของลำตัว

แสดงคำศัพท์ที่เกี่ยวข้องกับตำแหน่งบนร่างกายสุกร loin rump poll face hock snout jawl shank belly dewclaw

แสดงคำศัพท์ที่เกี่ยวข้องกับตำแหน่งบนร่างกายโค hump loin poll rump muzzle rib dewlap brisket shank flank knee