SKP ลดต้นทุนสินค้าคงคลังประเภทผ้าไตร ร้านกุญชรวาณิชย์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ประกาศกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีการเลือกตั้งคณะกรรมการสวัสดิการในสถานประกอบกิจการ ประกาศราชกิจจานุเบกษา วันที่ 22 พฤษภาคม.
Advertisements

การผลิตบ่อพัก ทำเอง ใช้เอง หจก. มภัสกาญ คอนสตรัคชั่น
บทที่2 การวางแผนการผลิตและกำลังการผลิต
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
กรณีศึกษาของเยาวชนที่กระทำความผิดคดีฆ่าผู้อื่นโดยเจตนา : สถานพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน จังหวัดสระบุรี ผู้วิจัย โยธิน จารุจุฑารัตน์ หลักสูตร ปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต.
การประเมินผลโครงการ คปสอ.คลองใหญ่.
การเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับระบบการควบคุมภายใน ระดับสถานศึกษา ประจำปี 2559.
Knowledge- Base Systems ระบบสหกรณ์. ที่มาของโครงการ โครงการนี้เกิดจากการรวมกลุ่มของกลุ่มบุคคล เพื่อดำเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจ ซึ่งก่อให้เกิด ประโยชน์ต่อความต้องการและเป้าหมายของ.
Contribute “Stay strong not stand alone”. อ.ที่ปรึกษา อ.ดร.เขมกร ไชยประสิทธ์ บุคลากร พี่เดียร์ สโรชินี ศิลปานันทกุล ภาคการเงิน นุก น.ส.มณีรัตน์
ประเภทของ CRM. OPERATIONAL CRM เป็น CRM ที่ให้การสนับสนุนแก่กระบวนการธุรกิจ ที่เป็น “FRONT OFFICE” ต่างๆ อาทิ การขาย การตลาด และการ ให้บริการ SALES FORCE.
๕ เรื่องเด่นในร่างรัฐธรรมนูญ
ประเด็นที่เปลี่ยนแปลงจากปี 2560
วาระที่ สรุปผลการปฏิบัติงาน ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2559
Material requirements planning (MRP) systems
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
ประเด็นที่เปลี่ยนแปลง
ACCOUNTING FOR INVENTORY
การบัญชีต้นทุนช่วง (Process Costing).
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร12
Presentation การจัดการข้อร้องเรียนในธุรกิจบริการ Customer Complaint Management for Service.
วัสดุคงเหลือ.
บทที่ 8 การบริหารสินค้าคงเหลือ
การวิเคราะห์ ต้นทุน ปริมาณ กำไร
บทที่ 5 การวางแผนทางการเงิน ผศ. อรทัย รัตนานนท์ รศ.อรุณรุ่ง วงศ์กังวาน.
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
ตัวชี้วัดที่ 1 : อัตราส่วนการตายมารดาไทย ค่าเป้าหมายไม่เกิน 20 ต่อการเกิดมีชีพแสนราย เปรียบเทียบอัตราส่วนการตายมารดารายเขต ปี 2560 กับ 2561ในช่วงเวลาเดียวกัน.
วิธีการกรอกแบบเสนอโครงการในไฟล์ Power point นี้
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
การรายงานความคืบหน้าหรือสถานะ
(ปัจจุบันไม่มียอดค้างชำระ)
วาระที่ 3.4 แนวทางการปฏิบัติงานโครงการตามนโยบาย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
แนวทางปฏิบัติ กรมป่าไม้
สรุปผลการดำเนินงานวิจัย สวส. ปี 2559
กิจกรรมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ งานบริหารและธุรการ คณะบริหารธุรกิจ
การเร่งรัดการเบิกจ่ายงบประมาณ
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูลเพื่อการพัฒนาชุมชน ปี 2561
ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมที่ปลอดภัยจากความเมื่อยล้าในการทำงาน
1.
กลุ่มเกษตรกร.
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้จ่ายงบประมาณและการดำเนินงานของสถาบันอุดมศึกษา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ มีนาคม 2560.
วาระที่ ผลการประชุมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การเตรียมความพร้อมบุคลากร สำนักแผนงานและโครงการพิเศษเพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงาน ของหน่วยงานในพื้นที่
ปี 2560 ปฏิทินการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส
บทที่ 3 การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ ต้นทุน-ปริมาณ-กำไร
บทที่ 4 หลักทฤษฎีและปฏิบัติการธุรกิจ ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ
ร้อยละของการเบิกจ่ายเงินงบประมาณ (ภาพรวม งบลงทุน)
ตัวอย่างการจัดทำรายงานการผลิต และงบการเงิน
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
เราคือ ‘One PPG’ We protect and beautify the world วัตถุประสงค์ของเรา
โซ่อุปทานและโลจิสติกส์ ญาลดา พรประเสริฐ คณะวิทยาการจัดการ
การวิจัยทางการท่องเที่ยว
การเปลี่ยนแปลงประมาณการทางบัญชี และข้อผิดพลาด
องค์กรต้นแบบอนามัยไร้พุง ปี 2552
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
Supply Chain Management
ชัยพฤกษ์รัตนาธิเบศร์ - วงแหวน
กลุ่มส่งเสริมอาชีพการเกษตร
การส่งมอบบ้าน Pre-Cast(PCM) ให้ทันเวลาทำสัญญาและได้มาตรฐาน LH
การจัดการความรู้ สำนักชลประทานที่ 15
Lean Management การลดขั้นตอนการนัดตรวจสุขภาพจิตของ นร.กพ
โครงการถ่ายทอดเทคโนโลยีถนนรีไซเคิลเพื่อลดขยะพลาสติกใน 4 ภูมิภาค
นพ.อภิศักดิ์ วิทยานุกูลลักษณ์ รพ.ธัญญารักษ์เชียงใหม่ กรมการแพทย์
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
บทที่ 7 การบัญชีภาษีมูลค่าเพิ่ม
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

SKP ลดต้นทุนสินค้าคงคลังประเภทผ้าไตร ร้านกุญชรวาณิชย์ S K P สั ง ฆ ภั ณ ฑ์ ดี Q C C ก็ เ ช่ น กั น ลดต้นทุนสินค้าคงคลังประเภทผ้าไตร ร้านกุญชรวาณิชย์

สมาชิกในทีม นางสาวบุศญาภรณ์ ดวงบุตร 571510155 นางสาวมณีพร ประมวลวงศ์ 571510208 นางสาวปณิดา อารยะกุลสกล 571510157 นางสาวมุทิตา จีนตุง 571510210 นางสาวปรียานุช ธิฟู 571510162 นางสาวรวิภา ศุภางค์เผ่า 571510215 นางสาวแพรวไพลิน กิ่งโคกกรวด 571510200 นางสาวรุ้งตะวัน เตียพานิช 571510219 นางสาวภัทรศยา พานิชกุล 571510204 นางสาวณัชธร วานิชยาวรกูล 571510227 นางสาวภัทราวรรณ วุฒิเจริญ 571510206 นางสาววรัทยา ตาบุรี 571510228

การค้นหาปัญหา/คัดเลือกหัวข้อ 1 การค้นหาปัญหา/คัดเลือกหัวข้อ หัวข้อ ความรุนแรง ความถี่ / โอกาสเกิดปัญหา การตรวจสอบ ตรวจจับ รวม มีต้นทุนจมในสินค้าคงคลังสูง 5 * 4 * 4 80 แก้ระบบการจัดการบัญชี 3 48 กำจัดปัญหาการเบิกจ่ายเงินในร้าน การค้นหาปัญหาและคัดเลือกปัญหา นั้นได้หัวข้อปัญหาและระดับความรุนแรงของปัญหาจากคำสัมภาษณ์ของผู้ประกอบการ ประกอบด้วย 1. ต้นทุนจมในสินค้าคงคลังสูง 2. ระบบการจัดการบัญชี 3. กำจัดปัญหาการเบิกจ่ายเงินในร้าน ซึ่งปัญหาที่ผู้ประกอบการได้ให้ ความรุนแรง และให้ความสำคัญมากที่สุดคือ หัวข้อที่ 1 ต้นทุนจมในสินค้าคงคลังสูง จึงเลือกปัญหาต้นทุนจมนี้ในการจัดทำ QCC *ระดับความรุนแรงจากคำสัมภาษณ์ของผู้ประกอบการ

สัมภาษณ์ปัญหาจากผู้ประกอบการ

การสำรวจสภาพปัจจุบันและตั้งเป้าหมาย 2 การสำรวจสภาพปัจจุบันและตั้งเป้าหมาย ระบบการควบคุมสินค้าคงคลังของร้านกุญชรวาณิชย์ การจัดการไม่เป็นระบบ (ไม่มีการนับสินค้าคงคลัง) ระบบ Q Continuous Review System เก่า ใหม่ ลูกค้า ดูสินค้าคงคลัง สินค้าคงคลังลดลงถึงระดับจุดสั่งซื้อใหม่ Reorder Point มีสินค้า ไม่มีสินค้า ซื้อที่ปริมาณการสั่งซื้อที่ประหยัดที่สุด EOQ สั่งซื้อ ใช้ระบบ Q (Continuous Review System) เพราะผ้าไตรจัดอยู่ในสินค้าประเภท B ซึ่งมีมูลค่าปานกลางจากมูลค่าสินค้าทั้งหมด แต่ก็ไม่ควรปล่อยให้ระดับของสินค้าคงคลังสูง เพราะจะทำให้เกิดต้นทุนจมที่มาก ไม่สามารถนำเงินส่วนนี้ไปลงทุนอย่างอื่นได้ รวมถึงกิจการไม่มีการนับสินค้าคงคลังและวางแผนปริมาณในการสั่งซื้อ ยิ่งส่งผลให้สินค้าคงคลังมีระดับที่สูงขึ้นไปอีก ดังนั้น ระบบ Q จึงเหมาะสมที่สุด เพราะ - สามารถทราบสถานะของสินค้าคงคลังอยู่เสมอ - มีการคำนวณจุดสั่งซื้อใหม่ ซึ่งเมื่อสินค้าคงคลังถึงระดับจุดสั่งซื้อนี้ถึงจะมีการสั่งซื้อสินค้า เพราะเป็นจุดที่มีสินค้าปลอดภัย (Safety Stock) ซึ่งมีไว้รองรับความต้องการของลูกค้าในช่วงเวลานำ (Lead Time) และคำนึงถึงระดับบริการ (Service Level) ที่มีระดับที่รับได้เมื่อสินค้าขาดมือ - มีการคำนวณ ปริมาณการสั่งซื้อที่ประหยัดที่สุด (EOQ) ส่งผลให้ปริมาณของสินค้าคงคลังเหมาะสม ทราบสถานะของสินค้าคงคลัง ระดับของสินค้าคงคลังเหมาะสม ต้นทุนจมต่ำ ไม่ทราบสถานะของสินค้าคงคลัง ระดับของสินค้าคงคลังสูง ต้นทุนจมสูง เป้าหมาย : ลดต้นทุนจมประเภทผ้าไตรในสินค้าคงคลังลง 50%

Time Function Map ขั้นตอนการจัดโครงการ พิมพ์เขียวบริการ ขั้นที่1 เมื่อลูกค้ามาถึง จะมีพนักงานในร้านออกมาต้อนรับ พร้อมสอบถามความต้องการของลูกค้า ขั้นที่2 เมื่อลูกค้าระบุความต้องการแล้ว พนักงานจะค้นหาสินค้าตามที่ลูกค้าต้องการ 2.1 หากพบสินค้า จะส่งมอบให้ลูกค้าตรวจสอบคุณภาพ หากตรงตามความต้องการของลูกค้า สามารถชำระเงินได้ทันที 2.2 กรณีที่ไม่พบสินค้า ให้บอกลูกค้าว่าสินค้าหมดพร้อมสอบถามว่าสามารถใช้สินค้าอื่นที่คล้ายคลึงกันทดแทนได้หรือไม่ หรือยังต้องการสินค้าอยู่หรือไม่ 2.2.1 ไม่ต้องการ : ลูกค้าจะออกจากร้านได้เลย 2.2.2 ต้องการ : - นัดรับสินค้ากับลูกค้า - ทางร้านทำการจัดหาสินค้าตามใบสั่ง - เมื่อสินค้ามาถึง ให้ตรวจสอบสินค้า 1.) ผ่าน = ติดต่อลูกค้าว่าสินค้ามาถึงแล้ว 2.) ไม่ผ่าน = ติดต่อ supplier ให้ส่งสินค้าใหม่มา หลังจากนั้น เมื่อลูกค้ามารับสินค้าแล้ว ควรตรวจสอบคุณภาพสินค้าพร้อมกับลูกค้าอีกครั้ง และทำการชำระเงิน

ข้อมูลสภาพปัจจุบัน : ต้นทุนถือครองสินค้าคงคลังประเภทผ้าไตร ต้นทุนถือครองสินค้าคงคลังประเภทผ้าไตร รวมทั้งหมด ฿106,211 ต่อปี ลดลง 50% ข้อมูลต้นทุนสินค้าประเภทผ้าไตร จากการจดบันทึก ต้นทุนรวมของสินค้าคงคลังประเภทผ้าไตรของร้านกุญชรวาณิชย์ หลังจากได้ข้อมูลการสั่งซื้อสินค้าคงคลังประเภทผ้าไตร พบว่า ก่อนทำการแก้ไข มีต้นทุนถึง 106,211 บาท ต่อปี ซึ่งหากมีการจัดการในระบบ Q (Continuous Review System) จะสามารถคำนวณจุดสั่งซื้อที่ประหยัดที่สุดได้ ซึ่งจะทำให้ต้นทุนจมในสินค้าคงคลังนี้ลดลง ดังนั้นจึงได้ตั้งเป้าหมาย คือ ลดต้นทุนจมในสินค้าคงคลังลง 50% เป้าหมาย ( ข้อมูลปี 2558 )

การวางแผนกิจกรรม 3 จากตารางการวางแผนกิจกรรมข้างต้น จะแสดงให้เห็นถึงช่วงระยะเวลาของการจัดทำตั้งแต่เริ่มจัดตั้งกลุ่ม QC จนถึงนำเสนอผลงานใน QCC DAY

การวิเคราะห์สาเหตุของปัญหา 4 การวิเคราะห์สาเหตุของปัญหา แผนผังก้างปลา แสดงการวิเคราะห์สาเหตุของปัญหาต้นทุนจมในสินค้าคงคลังสูง ซึ่งจากการวิเคราะห์เกิดจาก 4 สาเหตุ ได้แก่ 1. สาเหตุจากองค์การ ขาดการวางแผน ซึ่งไม่มีการจัดระเบียบในการทำงาน และขั้นตอนการทำงานไม่ชัดเจน การประสานงานล่าช้า - ขาดการดูแลเอาใจใส่อย่างจริงจังจากผู้บริหารระดับสูง 2. สาเหตุจากคนในองค์การ - พนักงานแต่ละคนมีหน้าที่ในการทำงานไม่ชัดเจน - พนักงานขาดความรอบคอบ เพราะไม่ได้รับการอบรมงาน - ขาดประสิทธิภาพในการทำงาน อาทิ ไม่ทำหากไม่ได้รับคำสั่ง ขี้เกียจ 3. สาเหตุจากนโยบาย - ไม่มีการคาดการณ์เพื่อลดต้นทุนการสั่งซื้อสินค้าเกินจำเป็น - ไม่กำหนดช่วงเวลาเช็ค Stock ที่แน่นอน - ไม่มีโปรโมชั่นเพื่อระบายสินค้า ขาดความร่วมมือระหว่าง Suppliers ไม่มีการแยกประเภทของสินค้า 4. สาเหตุจากการปฏิบัติงาน - สั่งซื้อสินค้ามาเกินกว่าอุปสงค์ เหตุจากไม่ได้ตรวจว่ามีสินค้าเหลือเท่าใด และยี่ห้อที่ขายได้มากก็จะสั่งซื้อมาก - ขาดเทคโนโลยีช่วยในการทำงาน - ไม่มีการประมวลผลข้อมูล อาทิ ไม่มีการบันทึกข้อมูลและจดบันทึกเมื่อขายสินค้าได้ ซึ่งสาเหตุที่น่าสนใจอันที่จะก่อให้เกิดปัญหานี้ขึ้น คือ นโยบายขององค์การ และ การปฏิบัติงาน

ประชุมร่วมกันวิเคราะห์สาเหตุของปัญหา

การกำหนดมาตรการแก้ไข และการปฏิบัติ 5 ระบบ Q (Continuous Review System) ในการควบคุมสินค้าคงคลัง คือ สามารถควบคุมสินค้าคงคลังอย่างต่อเนื่อง ทำให้ผู้บริหารทราบสถานะของสินค้าคงคลังอยู่เสมอ ซึ่งจะสามารถตอบคำถาม 2 คำถามหลัก ในการสั่งซื้อสินค้า ดังนี้ When to order ? สั่งซื้อเมื่อสินค้าคงคลังลดระดับลงถึงจุดสั่งซื้อใหม่ที่กำหนดไว้ (Reorder Point) How much to order ? สั่งซื้อที่ปริมาณการสั่งซื้อที่ประหยัดที่สุด (EOQ)

ซึ่งเราได้กำหนดมาตรฐานการสั่งซื้อ ดังนี้ (จากการคำนวณสูตร Reorder Point และ EOQ) When to order ? Reorder Point = 116 เพราะฉะ นั้น : สั่งซื้อผ้าไตรเมื่อสินค้าคงคลังอยู่ที่ 116 ไตร (ผืน) How much to order ? การคำนวณสูตร จุดสั่งซื้อ Reorder Point และ ปริมาณการสั่งซื้อที่ประหยัดที่สุด EOQ โดยใช้ข้อมูลในการคำนวณย้อนหลัง 1 ปี คือ เดือนมกราคม-ธันวาคม ปี พ.ศ.2558 สามารถใช้จุดสั่งซื้อและปริมาณสั่งซื้อที่คำนวณนี้ เป็นมาตรฐานการสั่งซื้อของกิจการได้ เพราะ สินค้าประเภทผ้าไตรเป็นสินค้าที่มีความต้องการอยู่ในระดับใกล้เคียงกันทุกปี จากการสัมภาษณ์เจ้าของกิจการ คือประมาณปีละ 288 ไตร(ผืน) >> ข้อมูลความต้องการซื้อของปี 2558 EOQ = 157 เพราะฉะนั้น : สั่งซื้อที่ปริมาณ 157 ไตร (ผืน) จะเป็นการสั่งซื้อที่ประหยัดที่สุด

การเข้าไปตรวจนับจำนวนสินค้าคงคลังประเภทผ้าไตรที่ร้านกุญชรวาณิชย์

การตรวจสอบผล ระบบการควบคุมสินค้าคงคลังของร้านกุญชรวาณิชย์ 6 เก่า การจัดการไม่เป็นระบบ (ไม่มีการนับสินค้าคงคลัง) ใหม่ ระบบ Q Continuous Review System ลูกค้า ดูสินค้าคงคลัง สินค้าคงคลังลดลงถึงระดับจุดสั่งซื้อใหม่ Reorder Point มีสินค้า ไม่มีสินค้า ซื้อที่ปริมาณการสั่งซื้อที่ประหยัดที่สุด EOQ สั่งซื้อ ตรวจสอบผลจากเป้าหมายที่ตั้งไว้ ทราบสถานะของสินค้าคงคลัง ระดับของสินค้าคงคลังเหมาะสม ต้นทุนจมต่ำ ไม่ทราบสถานะของสินค้าคงคลัง ระดับของสินค้าคงคลังสูง ต้นทุนจมสูง เป้าหมาย : ลดต้นทุนจมประเภทผ้าไตรในสินค้าคงคลังลง 50%

ผลจากการควบคุมสินค้าคงคลัง ที่ส่งผลต่อต้นทุนในการถือครองสินค้าคงคลังต่อปี ( ด้านผ้าไตร ) เก่า ใหม่ ฿57,900 ฿106,211 ลดลง ผลจากการควบคุมสินค้าคงคลัง เดิม : มีต้นทุนถือครองสินค้าคงคลังประเภทผ้าไตร 106,211 บาท ต่อปี ใหม่ : มีต้นทุนถือครองสินค้าคงคลังประเภทผ้าไตร 57,900 บาท ต่อปี จากการนำ ผลรวมของ(ต้นทุนจากการถือครองเฉลี่ย*ปริมาณสั่งซื้อที่ประหยัดที่สุด) ดังนั้นจะสามารถประหยัดต้นทุนได้ถึง 48,311 บาท ต่อปี หรือสามารถลดต้นทุนได้ 54.5% ( ข้อมูลปี 2558 ) 54.5% ต่อปี ลดต้นทุนได้ 48,311 บาท

฿192,415.21 ฿164,122.13 195.196 180.146 Average Inventory เก่า ใหม่ ลดลง สินค้าคงเหลือเฉลี่ย (Average Inventory ) สินค้าคงเหลือเฉลี่ยเดิม 192,415.21 บาท (195.196 ชิ้น) **หากมีการจัดการระบบใหม่ สินค้าคงเหลือเฉลี่ยใหม่ 164,122.13 บาท (180.146 ชิ้น) ซึ่ง จะทำให้ สินค้าคงเหลือเฉลี่ย ลดลง 28,293.07 บาท (15.051 ชิ้น) ฿28,293.07 195.196 180.146 (15.051 ชิ้น)

การกำหนดมาตรฐานปฏิบัติงาน 7 ตรวจนับสินค้าคงคลังอยู่เสมอ - บันทึกเมื่อมีการเคลื่อนย้ายหรือขายสินค้าทุกครั้ง - กำหนดหน้าที่ปฏิบัติงานอย่างชัดเจน กำหนดมาตรฐานปฏิบัติงาน โดย กำหนดจากสาเหตุที่น่าสนใจ ที่ได้จากแผนภูมิก้างปลา คือ นโยบายขององค์การ และ การปฏิบัติงาน

(ซึ่งสามารถนำไปลงทุนอื่นได้ ดีกว่าอยู่ในสินค้าคงคลังแล้วไม่เกิดคุณค่า) Holding Cost Saving โครงการสามารถลดต้นทุนถือครองสินค้าคงคลังได้ 48,311 บาท โดยสมมติฐานที่ใช้ คือ หากไม่มีการวางแผนในการจัดการ หรือ จัดซื้อสินค้า จะทำให้มีต้นทุนในการถือครองสินค้าคงคลังประเภทผ้าไตร 106,211 บาท ต่อปี ซึ่งเมื่อวางแผนสินค้าคงคลังแล้ว จะมีต้นทุนที่เหมาะสม คือ 57,900 บาท ต่อปี ซึ่งจะเห็นได้ว่า หากสั่งซื้อที่ปริมาณ 157 ไตร (ผืน) จะสามารถประหยัดต้นทุนจมได้ 48,311 บาท ต่อปี (ซึ่งสามารถนำไปลงทุนอื่นได้ ดีกว่าอยู่ในสินค้าคงคลังแล้วไม่เกิดคุณค่า)

ผลจากการดำเนินกิจกรรม QCC ปัญหา และอุปสรรค์ ในการทำงาน - มีความซับซ้อนและใช้เวลานานในการรวบรวมข้อมูลเพื่อการแก้ไข - กำหนดการทำงานค่อนข้างสั้นในการแก้ไขให้ทันเวลาจึงจัดการสินค้าคงคลัง ได้ประเภทเดียว - เวลาของสมาชิกในกลุ่มไม่ค่อยตรงกันจึงมีความลำบากในการทำงานเล็กน้อย สิ่งที่ได้รับจากการทำโครงการ - ได้ฝึกทักษะการหาวิธีการแก้ไขปัญหาให้สำเร็จ - ฝึกการทำงานร่วมกับผู้อื่น ทำงานเป็นทีม ข้อเสนอแนะ ควรมีการวางแผนการทำงานก่อนการดำเนินงานเพื่อที่จะได้ทราบแผนงานและระยะเวลาทำงานที่แท้จริง และควรเริ่มการดำเนินงานอย่างรวดเร็วเพื่อที่จะสามารถรับมือกับปัญหาหรือความแปรปรวนได้อย่างทันเวลา

THANK YOU