บทที่ 7 หลักการบริหารงานคุณภาพ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
PDCA คืออะไร P D C A.
Advertisements

บทที่ 9 การบริหารคุณภาพ Quality Control and Management
PMQA Organization เอกสารประกอบการชี้แจงตัวชี้วัดการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ สำหรับส่วนราชการระดับกรม ประจำปีงบประมาณ พ.ศ วันที่ 28 ตุลาคม.
หลักสูตร การเสริมสร้างทีมงานที่มีประสิทธิภาพ การประปาส่วนภูมิภาค วิทยากร : วุฒทัย การสมใจ และคณะ.
การจัดการการดูแล (Care Management) นางอุไลวรรณ์ ไขสังเกต พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ.
ระบบมาตรฐานการจัดการสิ่งแวดล้อม
วิชา การพัฒนางานด้วยระบบคุณภาพและเพิ่ม ผลผลิต (Work Development with Quality Management.
การประเมินผลการปฏิบัติงานระดับบุคคล
เอกสารประกอบการบรรยาย หลักสูตร Fundamental หัวข้อวิชา องค์กรและระบบงานตรวจสอบภายใน สำนักกำกับและพัฒนาการตรวจสอบภาครัฐ กรมบัญชีกลาง.
เป็นกระบวนการเรียนรู้ ไม่ใช่การตรวจสอบ
Action Research รศ. ดร. วิโรจน์ สารรัตนะ
การพัฒนา ระบบบริหารกองทัพเรือ ภายใต้กรอบการจัดการภาครัฐแนวใหม่
เทคนิคการแก้ไขปัญหาแบบ QCC (QC Circle Techniques)
Risk Management in Siam University
นายธวัชชัย ไทยเขียว รองปลัดกระทรวงยุติธรรม
“วัฒนธรรมองค์กร” (Organization Culture)
หลักการและแนวคิดเกี่ยวกับ การจัดการกระบวนการ
ความตระหนักการจัดการคุณภาพ
การทำงานเชิงวิเคราะห์
สำหรับธุรกิจบริหารจัดการเรือ
โดยสรุป 10 ขั้นตอนในการ implement
คู่มือคุณภาพ Quality Manual
บทที่ 11 กิจกรรมพัฒนาตนเองและทีมงานคุณภาพเพื่อประสิทธิภาพในการทำงาน
เทคนิคการทำงานให้มีประสิทธิภาพ
คู่มือการปฏิบัติงาน (Work Manual)
งานสนับสนุนบริการ สู่การบริการที่เป็นเลิศ
เทศบาลนครขอนแก่น ยินดีต้อนรับ
การดำเนินงานโรงพยาบาลคุณธรรม,หน่วยงานคุณธรรม
หมวด 6 การปฏิบัติการ โดย ดร.สุนทรัสส์ เพชรรักษ์คำด้วง
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
Techniques Administration
กฎกระทรวง ว่าด้วยระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษา พ. ศ
การจัดการศูนย์สารสนเทศ หน่วยที่ 11 การประกันคุณภาพในศูนย์สารสนเทศ
P S BB ART ระบบงบประมาณแบบมุ่งเน้น ผลงานตามยุทธศาสตร์ กับ PART ผลผลิต
การจัดกิจกรรมฝึกอบรมประชาชน
โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตประชาชนในชนบท จังหวัดสตูล
แบบฟอร์มการบริหารโดยการควบคุมคุณภาพ (QCC) ดีเด่น ปี 2561
การจัดการศูนย์สารสนเทศ หน่วยที่ 10 การประกันคุณภาพในศูนย์สารสนเทศ
4.1 งานนโยบายรัฐบาล ปีงบประมาณ 2560 เดือน สิงหาคม 2560
การสร้างความตระหนักในเรื่องการรักษาความปลอดภัยของ
หน่วยที่1 หลักการวางแผนเป้าหมายชีวิต
นายสมชัย ชวลิตธาดา EKACHAI SCHOOl โรงเรียนเอกชัย
ผู้อำนวยการวิทยาลัยเทคโนโลยีไทย-ไต้หวัน (BDI)
หมู่บ้านอาสาพัฒนาและป้องกันตนเอง
การบริหารการปฏิบัติงานของทรู (Cycle of Performance Management System)
การบริหารโครงการ ด้วยระบบปฏิทินกิจกรรมแบบเบ็ดเสร็จ Project management with integrated calendar system โดย ... ธนาภรณ์ ฉิมแพ / ประจักษ์ สุขอร่าม / จารุวรรณ.
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
การจัดการความปลอดภัยระบบสารสนเทศ (Information Security Management System : ISMS) ด้วย เกณฑ์มาตรฐานการรักษาความมั่นคงปลอดภัย ISO/IEC และ ISO/IEC
บทที่ 6 การบริหารและการวางแผนการผลิต
กฎกระทรวง การประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 25๖๑
Educational Standards and Quality Assurance
จิตสำนึกคุณภาพ.
ตอนที่ 3.2 กลยุทธ์การบริหารเจ้าหน้าที่
การบริหารค่าจ้างเงินเดือนและค่าตอบแทนเชิงกลยุทธ์
การบริหารทีมงานและภาวะผู้นำ
แนวคิดหลัก 1. Systematic 2. Sustainable 3. Measurable
วิสัยทัศน์ (Vision) โรงพยาบาลชลบุรี มุ่งสู่ความเป็นเลิศทางการแพทย์ และสถาบันวิชาการชั้นนำระดับชาติ
นพ.ชลทิศ อุไรฤกษ์กุล 16 ธ.ค.58
วิสัยทัศน์ (Vision) โรงพยาบาลชลบุรี มุ่งสู่ความเป็นเลิศทางการแพทย์ และสถาบันวิชาการชั้นนำระดับชาติ
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 2 : มาตรฐานการรักษาความปลอดภัยข้อมูล สธ412 ความมั่นคงของระบบสารสนเทศ อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ
บทที่ 1 บทนำเรื่องคุณภาพ.
การบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน School- Based Management
แนวปฏิบัติที่ดี (Best Practice)
บทที่ 6 การเขียนผังงาน (Flowchart)
จุดที่ควรปรับปรุง SR 1 และ SR 2.
ประเด็นการขับเคลื่อนองค์การไปสู่ระบบราชการ 4.0
หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
Management Review Based On ISO 9001 : 2008
ดูง่าย จ่ายครบ จบในใบเดียว
ใบงานกลุ่มย่อย.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทที่ 7 หลักการบริหารงานคุณภาพ บทที่ 7 หลักการบริหารงานคุณภาพ

ความหมายของการบริหารงานคุณภาพ เป็นการจัดการเพื่อให้ได้ตามนโยบายคุณภาพ การที่จะได้มาซึ่งคุณภาพที่พึงประสงค์ ต้องกำหนดวัตถุประสงค์ เป้าหมาย นโยบายอย่างชัดเจน มีการจัดตั้งองค์กร รวมถึงการวางแผนการจัดเตรียมทรัพยากรโดยเฉพาะการพัฒนาทรัพยากร บุคคลในองค์กรให้มีความรู้เรื่องของคุณภาพและกิจกรรมอื่นๆ ที่เกี่ยวกับการพัฒนาคุณภาพ

การบริหารงานอย่างประสิทธิภาพ 1) การบริหารเวลา 2) การบริหารงานซึ่งมี 4 ประเภท 3) การบริหารคน

มาตรฐานระบบบริหารคุณภาพ มาตรฐานระบบบริหารคุณภาพ โดยมาตรฐาน (Standard) หมายถึง เอกสารที่จัดทำขึ้นจากการเห็นพ้องต้องกัน และได้รับ ความเห็นชอบจากองค์กรอันเป็นที่ยอมรับกันทั่วไป เอกสารดังกล่าววางกฎระเบียบแนวทางปฏิบัติหรือลักษณะเฉพาะแห่งกิจกรรม หรือผลที่เกิดขึ้นของกิจกรรมนั้นๆ เพื่อให้เป็นหลักเกณฑ์ใช้กันทั่วไปจนเป็นปกติวิสัย โดยมุ่งให้บรรลุถึงความสำเร็จสูงสุดตามข้อกำหนดที่วางไว้

มาตรฐาน มาตรฐาน คือ ข้อกำหนดรายการอย่างใดอย่างหนึ่ง หรือหลายอย่างเกี่ยวกับ จำพวก แบบ รูปร่าง มิติ การทำ เครื่องประกอบ คุณภาพ ชั้น ส่วนประกอบ ความสามารถ ความทนทานและความปลอดภัยของผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม

เครื่องหมายมาตรฐานทั่วไป

เครื่องหมายมาตรฐานทั่วไป และเครื่องหมายมาตรฐานบังคับ

เครื่องหมายมาตรฐาน

มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม หมายถึง สิ่งหรือเกณฑ์ทางเทคนิคที่กำหนดขึ้น สำหรับผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม เกณฑ์ทางเทคนิคนี้จะระบุคุณลักษณะที่สำคัญของผลิตภัณฑ์ ประสิทธิภาพของการนำไปใช้งาน คุณภาพของวัตถุดิบที่นำมาผลิต รวมถึงวิธีการทดสอบด้วย เพื่อใช้เป็นเครื่องตัดสินว่าคุณภาพผลิตภัณฑ์นั้นๆ เป็นไปตามมาตรฐานหรือไม่

หลักการพื้นฐานของการบริหารงานคุณภาพ (Quality Management Principles-QMP) การให้ความสำคัญกับลูกค้า (Customer-Focused Organization) ความเป็นผู้นำ (Leadership) การมีส่วนร่วมของบุคลากร (Involvement of People) การบริหารเชิงกระบวนการ (Process Approach) หรือกระบวนการดำเนินงาน การบริหารที่เป็นระบบ (System Approach to Management) การปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง การตัดสินใจบนพื้นฐานของความเป็นจริง (Factual Approach to Decision Making ความสัมพันธ์กับผู้ขายเพื่อประโยชน์ร่วมกัน (Mutually Beneficial Supplier Relationships

ระบบบริหารงานคุณภาพ (Quality Management System: QMS) ระบบบริหารงานคุณภาพ (Quality Management System: QMS) คือการจัดการบริหารองค์กรอย่างถูกต้องและมีคุณภาพเพื่อตอบสนองความต้องการของลูกค้า เป็นข้อกำหนดของระบบบริหารคุณภาพตามมาตรฐาน ISO 9000 ซึ่งได้จากการปรับปรุงแก้ไขมาตรฐาน ISO เพื่อให้มีความสอดคล้องกับระบบบริหารองค์กรที่มีเป้าหมายสร้างความพึงพอใจให้กับลูกค้าและต้องการปรับปรุงประสิทธิภาพขององค์กรอย่างต่อเนื่อง

ISO

หลักการที่ระบบบริหารคุณภาพ ISO 9000 Plan : ทำการกำหนด หรือระบุชี้ วัตถุประสงค์และกระบวนการที่จำเป็นต่อการส่งมอบผลิตภัณฑ์บริการที่สอดคล้องกับข้อกำหนดของลูกค้า และนโยบายขององค์กรเอง Do : นำกระบวนการที่กำหนดชัดเจนแล้วไปปฏิบัติให้เกิดผล Check : ติดตามตารางและจัดกระบวนการ ผลิตภัณฑ์ โดยเปรียบเทียบกับนโยบายวัตถุประสงค์ของผลิตภัณฑ์ Action : ปฏิบัติการต่างๆ แล้วปรับปรุงผลการดำเนินงานของกระบวนการให้ดีขึ้นอยู่เสมออนุกรมมาตรฐาน ISO 9000

การนำระบบการบริหารงานคุณภาพตามมาตรฐาน ISO 9000 ไปใช้จะเป็นประโยชน์ 1. องค์กร/บริษัท 2. พนักงานภายในองค์กร/บริษัท 3. ผู้ซื้อ/ผู้บริโภค

แนวทางการใช้ข้อกำหนดระบบคุณภาพ ISO 9000 1. หน้าที่และความรับผิดชอบของฝ่ายบริหาร 2. หลักการของระบบคุณภาพ 3. เศรษฐกิจ 4. คุณภาพด้านการตลาด 5. คุณภาพในข้อกำหนดรายการและการออกแบบ

แนวทางการใช้ข้อกำหนดระบบคุณภาพ ISO 9000 6. คุณภาพการจัดซื้อ 7. คุณภาพในการผลิต 8. การควบคุมการผลิต 9. การทวนสอบผลิตภัณฑ์ 10. การควบคุมบริภัณฑ์สำหรับการวัดและการทดสอบ

แนวทางการใช้ข้อกำหนดระบบคุณภาพ ISO 9000 11. ความไม่เป็นไปตามข้อกำหนด 12. การปฏิบัติการแก้ไข 13. การเคลื่อนย้าย (จัดการ) และหน้าที่หลังการผลิต 14. เอกสารและการบันทึกคุณภาพ 15. บุคลากร 16. ความปลอดภัยและการรับชดใช้ผลิตภัณฑ์ 17. การใช้กลวิธีทางสถิติ

วัตถุประสงค์ของการจัดทำมาตรฐานระบบคุณภาพ ISO 9000 1.เพื่อให้มีระบบบริหารงานที่เป็นลายลักษณ์อักษร 2.เพื่อสร้างความเชื่อมั่นให้กับลูกค้า 3.เพื่อให้ควบคุมการบริหารงานในองค์กรได้ทุกกระบวนการและครบวงจรของการผลิต 4.เพื่อสร้างความมั่นใจให้เกิดกับผู้บริหารและพนักงานขององค์กร 5.เพื่อลดค่าใช้จ่ายและความสูญเสียที่อาจเกิดจากการดำเนินงานที่ขาดประสิทธิภาพ 6.เพื่อให้ทราบแนวทางการปรับปรุงและแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นได้ตรงจุด 7.เพื่อให้องค์การสามารถแข่งขันทางธุรกิจกับคู่แข่งได้ด้วยความมั่นใจ

วงจรการบริหารงานคุณภาพ PDCA

PDCA คือ วงจรการบริหารงานคุณภาพ P = Plan คือ การวางแผนงานจากวัตถุประสงค์ และเป้าหมายที่ได้กำหนดขึ้น D = Do คือ การปฏิบัติตามขั้นตอนในแผนงานที่ได้เขียนไว้อย่างเป็นระบบและมีความต่อเนื่อง C = Check คือ การตรวจสอบผลการดำเนินงานในแต่ล่ะขั้นตอนของแผนงานว่ามีปัญหาอะไรเกิดขึ้น จำเป็นต้องเปลี่ยนแปลงแก้ไขแผนงานในขั้นตอนใด A = Action คือ การปรับปรุงแก้ไขส่วนที่มีปัญหา

หลักการพื้นฐานของการบริหารงานคุณภาพ 1. การให้ความสำคัญกับลูกค้า 2. ความเป็นผู้นำ 3. การมีส่วนร่วมของบุคลากร 4. การบริหารเชิงกระบวนการ 5. การบริหารที่เป็นระบบ 6. การปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง 7. การตัดสินใจบนพื้นฐานของความเป็นจริง 8. ความสัมพันธ์กับผู้ขายเพื่อประโยชน์ร่วมกัน

การบริหารโดยยึดวัตถุประสงค์ (MBO)

การบริหารโดยยึดวัตถุประสงค์ (MBO) มีแนวคิดสำคัญ 4 อย่าง 1. ผู้บังคับบัญชากับผู้ใต้บังคับบัญชาตกลงร่วมกันกำหนดวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายในการทำงาน 2. ผู้บังคับบัญชากับผู้ใต้บังคับบัญชาตกลงร่วมกันวางแผนงานโดยผู้ใต้บังคับบัญชาจะทำงานให้สำเร็จได้ด้วยวิธีการของแต่ละคน

การบริหารโดยยึดวัตถุประสงค์ (MBO) มีแนวคิดสำคัญ 4 อย่าง 3. ผู้บังคับบัญชากับผู้ใต้บังคับบัญชาตกลงร่วมกันในการกำหนดมาตรฐานที่ใช้วัดผลการปฏิบัติงานของผู้ใต้บังคับบัญชา 4. ผู้บังคับบัญชากับผู้ใต้บังคับบัญชาตกลงร่วมกันในการวัดผลงานที่เกิดขึ้นจริงทบทวนแก้ไขผลการปฏิบัติงานและกระบวนการ การบริหารโดยยึดวัตถุประสงค์ใหม่