อิเล็กทรอนิกส์.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Chapter 3 Data Representation (การแทนข้อมูล)
Advertisements

ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชา การสอนภาษาอังกฤษเพื่อ วิชาการและงานอาชีพ
ศูนย์เรียนรู้ชุมชนเศรษฐกิจ พอเพียงบ้านซ่อง อ.พนมสารคาม จ.ฉะเชิงเทรา
สาระที่ ๒ การเขียน.
การบริหารจัดการโครงการ และการเบิกจ่ายงบประมาณ
ศึกษาข้อมูลท้องถิ่นบ้านสนาม
ยินดีต้อนรับ คณะกรรมการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน “สำนักส่งเสริมวิชาการและงานทะเบียน” วันอังคารที่ 23 สิงหาคม พ.ศ
Application of Electron Paramagnetic Resonance (EPR)
Lubna Shamshad (Ph.D Student) Supervisor Dr.GulRooh
Q n° R n°.
อาคารสำนักงานเขต พื้นที่การศึกษา (สพป./สพม.)
Chapter 3 Design of Discrete-Time control systems Frequency Response
ยินดีต้อนรับ นสต. ภ.๙.
การส่งเสริมจริยธรรมและคุณธรรม เพื่อการป้องกันการทุจริต
พอช.องค์การมหาชนของชุมชนไทย
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
หน่วยที่ 2 การประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
หลักสูตรการศึกษานอกระบบ ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
Multiple Input Multiple Output (MIMO)
บทที่ 7 TAS 17 (ปรับปรุง 2558): สัญญาเช่า (Leases)
หลักการสร้างมาตรวัดทางจิตวิทยา
โครงการส่งเสริมการพัฒนาคุณภาพงาน คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
แผนการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
แนวการตรวจสอบภายใน การตรวจสอบรถราชการ
ทะเบียนราษฎร.
นายธนวิทย์ โพธิ์พฤกษ์ เลขที่ 8 นายอนุสรณ์ ขำหลง เลขที่ 29
เรื่อง การบริหารการศึกษาตาม พ.ร.บ ระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ
เอกสารประกอบการบรรยายครั้ง ๒ วิชาซื้อขาย - เช่าทรัพย์ - เช่าซื้อ
ระเบียบกระทรวงมหาดไทย
บทที่ 12 การวิเคราะห์สหสัมพันธ์และการถดถอย
DATA STRUCTURES AND ALGORITHMS
ขั้นตอนการจัดตั้งกลุ่มส่งเสริมอาชีพ จังหวัดนครราชสีมา ปี ๒๕๕๘/๕๙
หลักการจัดกิจกรรมนันทนาการ
การประชุมผู้บริหารระดับสูงกระทรวงวัฒนธรรม ครั้งที่ ๔/๒๕๖๐
การเบิกจ่ายเงินเกี่ยวกับค่าใช้จ่าย ในการบริหารงานของส่วนราชการ
การแก้ไขปัญหา สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยนคลองจั่น จำกัด
ขั้นตอนของกิจกรรม : ปฏิบัติเป็นประจำ เพื่อให้เกิดการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง
ตอนที่ 2.๒ บทบาทหน้าที่ของเจ้าหน้าที่ส่งเสริมการเกษตรระดับอำเภอ
บทที่ 4 การกระจาย อำนาจด้านการคลัง
งานเงินสมทบและการตรวจสอบ
ยินดีต้อนรับเข้าสู่บทเรียนคอมพิวเตอร์ วัยรุ่นไทยใส่ใจวัฒนธรรม เรื่อง
การพัฒนาระบบบริหารจัดการกำลังคนด้านสุขภาพ “การพัฒนาบุคลากร”
ค่าใช้จ่ายต่างๆ ในโครงการฯ
วันเสาร์ที่ 2 กรกฎาคม 2559 วิทยาลัยเทคโนโลยีอักษรพัทยา
วิชาสังคมศึกษา ม.3 สาระที่ 1 ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม.
มหาวิยาลัยราชภัฏนครราชสีมา
โครงการสนับสนุนสินเชื่อเกษตรกรชาวสวนยาง รายย่อยเพื่อประกอบอาชีพเสริม
ความหมายของหนี้สาธารณะ
การจัดการชั้นเรียน.
การบริหารการเงิน ในสถานศึกษา
องค์ประกอบและผลกระทบของธุรกิจไมซ์
โคลง ร่าย และ โดยครูธาริตา นพสุวรรณ
Matrix 1.Thamonaporn intasuwan no.7 2.Wannisa chawlaw no.13 3.Sunita taoklang no.17 4.Aungkhana mueagjinda no.20.
สมาชิกโต๊ะ 1 นายสุรวินทร์ รีเรียง นายภาณุวิชญ์ อนุศรี
นำเสนอ วัดเกาะชัน ด.ช.ปกรณ์ ร้อยจันทร์ ม.2/7 เลขที่ 19
รศ.ดร.อนันต์ จันทรโอภากร
การเขียนวิจารณ์วรรณกรรม ๒
การยืมเงิน จากแหล่งเงินงบประมาณรายได้
วิชา หลักการตลาด บทที่ 7 การออกแบบกลยุทธ์ราคา
ผังมโนทัศน์สาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑
สาระสำคัญพ.ร.บ.การทวงถามหนี้ พ.ศ.๒๕๕๘ สาระสำคัญพ.ร.บ.การทวงถามหนี้ พ.ศ.๒๕๕๘.
การบัญชีตามความรับผิดชอบและ การประเมินผลการปฏิบัติงาน
ตำบลหนองพลับ ประวัติความเป็นมา
แบบทดสอบ เรื่อง ความน่าจะเป็น.
การปฏิรูประบบศาลยุติธรรม หลังรัฐประหาร 2557
ธาตุ สารประกอบ และปฏิกิริยาเคมี
ข้อกำหนด/มาตรฐาน ด้านสุขาภิบาลอาหาร
การบริหารหลักสูตร ความหมาย : การดำเนินงานที่เกี่ยวข้องกับการทำหลักสูตร และเอกสารประกอบหลักสูตร ไปสู่การปฏิบัติในสถานการณ์จริงหรือกิจกรรมการเรียนการสอนให้เป็นไปตามเป้าหมายที่กำหนดไว้ในหลักสูตรโดยอาศัยการสนับสนุนและร่วมมือจากบุคคลที่เกี่ยวข้องกับการใช้หลักส
PHYSICS by P’Tum LINE
การพิจารณาสัญชาติของบุคคล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

อิเล็กทรอนิกส์

นักเรียนมองเข้าไปในภาพ บอกได้ไหมว่า อุปกรณ์นั้นมีชื่อว่าอะไร ทำหน้าที่ใดในวงจร http://www.kit4diy.com

ตัวต้านทาน (resistor) ตัวเก็บประจุ (capacitor) ไดโอด (diod) ทรานซิสเตอร์(transistor) วงจรรวม (integrated circuit ; IC) http://www.kit4diy.com

ตัวต้านทาน (resistor) ตัวต้านทาน หมายถึง เป็นอุปกรณ์ไฟฟ้าชนิดหนึ่งที่มีคุณสมบัติในการต้านการไหลผ่านของกระแสไฟฟ้า ทำด้วยลวดต้านทานหรือถ่านคาร์บอน(แกรไฟต์) เป็นต้น ความต้านทานมีหน่วยเป็น โอห์ม (ohm) สัญลักษณ์  http://www.kit4diy.com

ความต้านทานมีหน่วยเป็น โอห์ม (ohm) สัญลักษณ์  ตัวต้านทานแบบค่าคงที่ (Fixed Resistor) ตัวต้านทานแบบปรับค่าได้ (Adjustable Resistor) ตัวต้านทานแบบเปลี่ยนค่าได้ (Variable Resistor) ความต้านทานมีหน่วยเป็น โอห์ม (ohm) สัญลักษณ์  http://www.kit4diy.com

รูปร่างและสัญลักษณ์ของตัวต้านทานแบบคงที่ ตัวต้านทานแบบค่าคงที่ (Fixed Resistor) ตัวต้านทานชนิดคงที่เป็นตัวต้านทานที่มีค่าความต้านทานไม่เปลี่ยนแปลง รูปร่างและสัญลักษณ์ของตัวต้านทานแบบคงที่ http://commandronestore.com

การหาค่าความต้านทานแบบค่าคงที่ (Fixed Resistor)

ค่าแถบสีของตัวต้านทาน ตัวเลขเทียบค่า ตัวคูณ ความคลาดเคลื่อน ดำ 100 = 1 - น้ำตาล 1 101 = 10 แดง 2 102 = 100 ส้ม 3 103 = 1,000 เหลือง 4 104 = 10,000 เขียว 5 105 = 100,000 น้ำเงิน 6 106 = 1,000,000 ม่วง 7 107 = 10,000,0000 เทา 8 108 = 100,000,000 ขาว 9 109 = 1,000,000,000 ทอง 0.1 ±5% เงิน 0.01 ±10% ไม่มีสี ±20%

ตัวอย่าง

การคำนวณหาค่าความต้านทานแบบค่าคงที่ 1. แถบทั้งหมดมี 4 แถบ แต่ละสีมีค่าสีตามตาราง 2. แถบสีที่ 1 และแถบสีที่ 2 ให้เขียนลงได้เลย 3. แถบสีที่ 3 คือ เลขยกกำลังหรือเติมจำนวนเลข 0 4. แถบสีที่ 4 คือ ความคลาดเคลื่อนเป็นเปอร์เซนต์

ตัวอย่าง แถบที่ 1 แถบที่ 4 แถบที่ 2 แถบที่ 3 แถบที่ 1 สีแดง ดูในตารางเท่ากับ 2 แถบที่ 2 สีเหลือง เท่ากับ 4 แถบที่ 3 สีดำ เท่ากับ 0 แถบที่ 4 ไม่มีสี เท่ากับ 20%

ตัวอย่าง 2 4 100 20% X

ถ้า 20% เทียบเป็น 𝟐𝟎 𝐱 𝟐𝟒 𝟏𝟎𝟎 = 4.8 โอห์ม วิธีทำ 24 X 100 = 24 โอห์ม หาเป็นเปอร์เซ็นต์จาก 24 โอห์มโดยการเทียบบัญญัติไตรยางค์ 100 % เทียบเป็น 24 โอห์ม ถ้า 20% เทียบเป็น 𝟐𝟎 𝐱 𝟐𝟒 𝟏𝟎𝟎 = 4.8 โอห์ม ค่ามาก 24 + 4.8 = 28.8 โอห์ม ค่าน้อย 24 - 4.8 = 19.2 โอห์ม ความต้านทานมีค่าระหว่าง 19.2 – 28.8 โอห์ม

สูตรการจำแถบสี แถบสี ตัวเลขเทียบค่า ตัวคูณ ความคลาดเคลื่อน ดำ 100 = 1 100 = 1 - น้ำตาล 1 101 = 10 แดง 2 102 = 100 ส้ม 3 103 = 1,000 เหลือง 4 104 = 10,000 เขียว 5 105 = 100,000 น้ำเงิน 6 106 = 1,000,000 ม่วง 7 107 = 10,000,0000 เทา 8 108 = 100,000,000 ขาว 9 109 = 1,000,000,000 ทอง 0.1 ±5% เงิน 0.01 ±10% ไม่มีสี ±20% ดิน น้อง แดง เสื้อ เหลีอง ขับ ฟีโน่ มา เที่ยว เขา

2. ตัวต้านทานแบบแปรค่าได้ (Adjustable Resistor) ตัวต้านทานที่แปรค่าได้ เป็นตัวต้านทานอีกชนิดหนึ่งที่ผู้ใช้สามารถเปลี่ยนค่าความต้านทานได้ด้วยการหมุนหรือเลื่อนปุ่มปรับค่าเพื่อเพิ่มหรือลดค่าความต้านทานที่ต้องการ หรือเปลี่ยนแปลงค่าความต้านทานตามปริมาณแสงที่ตกกระทบ เรียกตัวต้านทานชนิดนี้ว่า แอล ดี อาร์(LDR) http://my-elec.blogspot.com https://pantip.com http://www.u-device.com https://components101.com http://www.ms-kit.com

LDR ย่อมาจาก Light Dependent Resistor เป็นตัวต้านทานอีกชนิดหนึ่งที่เปลี่ยนแปลงค่าความต้านทานตามปริมาณแสงที่ตกกระทบ ถ้าไม่มีแสงหรือมีแสงน้อยตกกระทบที่ LDR น้อย LDR จะมีความต้านทานสูง แต่ถ้าปริมาณแสงตกกระทบ LDR มาก ค่าความต้านทานของ LDR จะต่ำ สัญลักษณ์ของ LDR คือ https://components101.com

3. ตัวต้านทานแบบเปลี่ยนค่าได้ (Variable Resistor) http://www.rmutphysics.com http://commandronestore.com http://www.med.cmu.ac.th/

สัญลักษณ์ของตัวเก็บประจุ ตัวเก็บประจุ (capacitor) ตัวเก็บประจุ หมายถึง เป็นอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์อย่างหนึ่ง ทำหน้าที่เก็บพลังงานในสนามไฟฟ้า ที่สร้างขึ้นระหว่างคู่ฉนวน โดยมีค่าประจุไฟฟ้าเท่ากัน แต่มีชนิดของประจุตรงข้ามกัน บางครั้งเรียกตัวเก็บประจุนี้ว่า คอนเดนเซอร์ (condenser) มีหน่วยเป็น ฟารัด(farad) ใช้สัญลักษณ์ F http://www.kit4diy.com สัญลักษณ์ของตัวเก็บประจุ http://skdelectronics.lnwshop.com http://www.wikiwand.com https://orapanwaipan.wordpress.com

ไดโอด (diod) ไดโอด หมายถึง  เป็นอุปกรณ์ที่ทำจากสารกึ่งตัวนำ p-n สามารถควบคุมให้กระแสไฟฟ้าจากภายนอกไหลผ่านตัวมันได้ทิศทางเดียว ไดโอดประกอบด้วยขั้ว 2 ขั้ว คือ แอโนด (Anode ; A) ซึ่งต่ออยู่กับสารกึ่งตัวนำชนิด p และ แคโทด (Cathode ; K) ซึ่งต่ออยู่กับสารกึ่งตัวนำชนิด n https://sites.google.com https://th.wikipedia.org

ไดโอด (diode) ไดโอด มี 2 ประเภท คือ 1. ไดโอดธรรมดา (normal diode) 2. ไดโอดเปล่งแสง (light emitting diode : LED) ขาที่ยาวกว่าเป็นขั้วบวก ขาที่สั้นเป็นขั้วลบ สัญลักษณ์ ดังภาพ https://th.aliexpress.com http://www.chontech.ac.th http://m.th.transducer-resistors.com http://cpe5751000356.blogspot.com

ทรานซิสเตอร์(transistor) ทรานซิสเตอร์ (อังกฤษ: transistor) เป็นอุปกรณ์สารกึ่งตัวนำมีหลายชนิด แต่ละชนิดจะมีรูปร่างลักษณะแตกต่างกัน แต่จะมีส่วนที่เหมือนกันคือ มี 3 ขา เมื่อมีกระแสไฟฟ้าเพียงเล็กน้อยเคลื่อนที่ผ่านขาหนึ่ง ทรานซิสเตอร์จะสามารถควบคุมกระแสไฟฟ้าที่มีปริมาณมากที่เคลื่อนที่ผ่านอีกสองขาได้ จึงทำหน้าที่เป็นสวิตช์ปิดหรือเปิดวงจรไฟฟ้าได้สามารถควบคุมการไหลของอิเล็กตรอนได้ ใช้ทำหน้าที่ ขยายสัญญาณไฟฟ้า, เปิด/ปิดสัญญาณไฟฟ้า, ควบคุมแรงดันไฟฟ้าให้คงที่ (อังกฤษ: modulate) ขาของทรานซิสเตอร์มี 3 ขา คือ ขาเบส (base หรือ B) ขาอีมิตเตอร์ (emitter หรือ E) ขาคอลเล็กเตอร์ (collector หรือ C) https://th.wikipedia.org https://elec-thai.blogspot.com แบ่งเป็น 2 ชนิด 1. ทรานซิสเตอร์ชนิด NPN  2. ทรานซิสเตอร์ชนิด PNP http://www.psptech.co.th

วงจรรวม (integrated circuit ; IC) http://www.mindphp.com https://sites.google.com

วงจรอิเล็กทรอนิกส์ http://www.vcharkarn.com

วงจรอิเล็กทรอนิกส์ http://m.exteen.com

วงจรอิเล็กทรอนิกส์ http://xn--12caqe0fm1ecpq6b3ae7gg9pue6d.blogspot.com