อิเล็กทรอนิกส์
นักเรียนมองเข้าไปในภาพ บอกได้ไหมว่า อุปกรณ์นั้นมีชื่อว่าอะไร ทำหน้าที่ใดในวงจร http://www.kit4diy.com
ตัวต้านทาน (resistor) ตัวเก็บประจุ (capacitor) ไดโอด (diod) ทรานซิสเตอร์(transistor) วงจรรวม (integrated circuit ; IC) http://www.kit4diy.com
ตัวต้านทาน (resistor) ตัวต้านทาน หมายถึง เป็นอุปกรณ์ไฟฟ้าชนิดหนึ่งที่มีคุณสมบัติในการต้านการไหลผ่านของกระแสไฟฟ้า ทำด้วยลวดต้านทานหรือถ่านคาร์บอน(แกรไฟต์) เป็นต้น ความต้านทานมีหน่วยเป็น โอห์ม (ohm) สัญลักษณ์ http://www.kit4diy.com
ความต้านทานมีหน่วยเป็น โอห์ม (ohm) สัญลักษณ์ ตัวต้านทานแบบค่าคงที่ (Fixed Resistor) ตัวต้านทานแบบปรับค่าได้ (Adjustable Resistor) ตัวต้านทานแบบเปลี่ยนค่าได้ (Variable Resistor) ความต้านทานมีหน่วยเป็น โอห์ม (ohm) สัญลักษณ์ http://www.kit4diy.com
รูปร่างและสัญลักษณ์ของตัวต้านทานแบบคงที่ ตัวต้านทานแบบค่าคงที่ (Fixed Resistor) ตัวต้านทานชนิดคงที่เป็นตัวต้านทานที่มีค่าความต้านทานไม่เปลี่ยนแปลง รูปร่างและสัญลักษณ์ของตัวต้านทานแบบคงที่ http://commandronestore.com
การหาค่าความต้านทานแบบค่าคงที่ (Fixed Resistor)
ค่าแถบสีของตัวต้านทาน ตัวเลขเทียบค่า ตัวคูณ ความคลาดเคลื่อน ดำ 100 = 1 - น้ำตาล 1 101 = 10 แดง 2 102 = 100 ส้ม 3 103 = 1,000 เหลือง 4 104 = 10,000 เขียว 5 105 = 100,000 น้ำเงิน 6 106 = 1,000,000 ม่วง 7 107 = 10,000,0000 เทา 8 108 = 100,000,000 ขาว 9 109 = 1,000,000,000 ทอง 0.1 ±5% เงิน 0.01 ±10% ไม่มีสี ±20%
ตัวอย่าง
การคำนวณหาค่าความต้านทานแบบค่าคงที่ 1. แถบทั้งหมดมี 4 แถบ แต่ละสีมีค่าสีตามตาราง 2. แถบสีที่ 1 และแถบสีที่ 2 ให้เขียนลงได้เลย 3. แถบสีที่ 3 คือ เลขยกกำลังหรือเติมจำนวนเลข 0 4. แถบสีที่ 4 คือ ความคลาดเคลื่อนเป็นเปอร์เซนต์
ตัวอย่าง แถบที่ 1 แถบที่ 4 แถบที่ 2 แถบที่ 3 แถบที่ 1 สีแดง ดูในตารางเท่ากับ 2 แถบที่ 2 สีเหลือง เท่ากับ 4 แถบที่ 3 สีดำ เท่ากับ 0 แถบที่ 4 ไม่มีสี เท่ากับ 20%
ตัวอย่าง 2 4 100 20% X
ถ้า 20% เทียบเป็น 𝟐𝟎 𝐱 𝟐𝟒 𝟏𝟎𝟎 = 4.8 โอห์ม วิธีทำ 24 X 100 = 24 โอห์ม หาเป็นเปอร์เซ็นต์จาก 24 โอห์มโดยการเทียบบัญญัติไตรยางค์ 100 % เทียบเป็น 24 โอห์ม ถ้า 20% เทียบเป็น 𝟐𝟎 𝐱 𝟐𝟒 𝟏𝟎𝟎 = 4.8 โอห์ม ค่ามาก 24 + 4.8 = 28.8 โอห์ม ค่าน้อย 24 - 4.8 = 19.2 โอห์ม ความต้านทานมีค่าระหว่าง 19.2 – 28.8 โอห์ม
สูตรการจำแถบสี แถบสี ตัวเลขเทียบค่า ตัวคูณ ความคลาดเคลื่อน ดำ 100 = 1 100 = 1 - น้ำตาล 1 101 = 10 แดง 2 102 = 100 ส้ม 3 103 = 1,000 เหลือง 4 104 = 10,000 เขียว 5 105 = 100,000 น้ำเงิน 6 106 = 1,000,000 ม่วง 7 107 = 10,000,0000 เทา 8 108 = 100,000,000 ขาว 9 109 = 1,000,000,000 ทอง 0.1 ±5% เงิน 0.01 ±10% ไม่มีสี ±20% ดิน น้อง แดง เสื้อ เหลีอง ขับ ฟีโน่ มา เที่ยว เขา
2. ตัวต้านทานแบบแปรค่าได้ (Adjustable Resistor) ตัวต้านทานที่แปรค่าได้ เป็นตัวต้านทานอีกชนิดหนึ่งที่ผู้ใช้สามารถเปลี่ยนค่าความต้านทานได้ด้วยการหมุนหรือเลื่อนปุ่มปรับค่าเพื่อเพิ่มหรือลดค่าความต้านทานที่ต้องการ หรือเปลี่ยนแปลงค่าความต้านทานตามปริมาณแสงที่ตกกระทบ เรียกตัวต้านทานชนิดนี้ว่า แอล ดี อาร์(LDR) http://my-elec.blogspot.com https://pantip.com http://www.u-device.com https://components101.com http://www.ms-kit.com
LDR ย่อมาจาก Light Dependent Resistor เป็นตัวต้านทานอีกชนิดหนึ่งที่เปลี่ยนแปลงค่าความต้านทานตามปริมาณแสงที่ตกกระทบ ถ้าไม่มีแสงหรือมีแสงน้อยตกกระทบที่ LDR น้อย LDR จะมีความต้านทานสูง แต่ถ้าปริมาณแสงตกกระทบ LDR มาก ค่าความต้านทานของ LDR จะต่ำ สัญลักษณ์ของ LDR คือ https://components101.com
3. ตัวต้านทานแบบเปลี่ยนค่าได้ (Variable Resistor) http://www.rmutphysics.com http://commandronestore.com http://www.med.cmu.ac.th/
สัญลักษณ์ของตัวเก็บประจุ ตัวเก็บประจุ (capacitor) ตัวเก็บประจุ หมายถึง เป็นอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์อย่างหนึ่ง ทำหน้าที่เก็บพลังงานในสนามไฟฟ้า ที่สร้างขึ้นระหว่างคู่ฉนวน โดยมีค่าประจุไฟฟ้าเท่ากัน แต่มีชนิดของประจุตรงข้ามกัน บางครั้งเรียกตัวเก็บประจุนี้ว่า คอนเดนเซอร์ (condenser) มีหน่วยเป็น ฟารัด(farad) ใช้สัญลักษณ์ F http://www.kit4diy.com สัญลักษณ์ของตัวเก็บประจุ http://skdelectronics.lnwshop.com http://www.wikiwand.com https://orapanwaipan.wordpress.com
ไดโอด (diod) ไดโอด หมายถึง เป็นอุปกรณ์ที่ทำจากสารกึ่งตัวนำ p-n สามารถควบคุมให้กระแสไฟฟ้าจากภายนอกไหลผ่านตัวมันได้ทิศทางเดียว ไดโอดประกอบด้วยขั้ว 2 ขั้ว คือ แอโนด (Anode ; A) ซึ่งต่ออยู่กับสารกึ่งตัวนำชนิด p และ แคโทด (Cathode ; K) ซึ่งต่ออยู่กับสารกึ่งตัวนำชนิด n https://sites.google.com https://th.wikipedia.org
ไดโอด (diode) ไดโอด มี 2 ประเภท คือ 1. ไดโอดธรรมดา (normal diode) 2. ไดโอดเปล่งแสง (light emitting diode : LED) ขาที่ยาวกว่าเป็นขั้วบวก ขาที่สั้นเป็นขั้วลบ สัญลักษณ์ ดังภาพ https://th.aliexpress.com http://www.chontech.ac.th http://m.th.transducer-resistors.com http://cpe5751000356.blogspot.com
ทรานซิสเตอร์(transistor) ทรานซิสเตอร์ (อังกฤษ: transistor) เป็นอุปกรณ์สารกึ่งตัวนำมีหลายชนิด แต่ละชนิดจะมีรูปร่างลักษณะแตกต่างกัน แต่จะมีส่วนที่เหมือนกันคือ มี 3 ขา เมื่อมีกระแสไฟฟ้าเพียงเล็กน้อยเคลื่อนที่ผ่านขาหนึ่ง ทรานซิสเตอร์จะสามารถควบคุมกระแสไฟฟ้าที่มีปริมาณมากที่เคลื่อนที่ผ่านอีกสองขาได้ จึงทำหน้าที่เป็นสวิตช์ปิดหรือเปิดวงจรไฟฟ้าได้สามารถควบคุมการไหลของอิเล็กตรอนได้ ใช้ทำหน้าที่ ขยายสัญญาณไฟฟ้า, เปิด/ปิดสัญญาณไฟฟ้า, ควบคุมแรงดันไฟฟ้าให้คงที่ (อังกฤษ: modulate) ขาของทรานซิสเตอร์มี 3 ขา คือ ขาเบส (base หรือ B) ขาอีมิตเตอร์ (emitter หรือ E) ขาคอลเล็กเตอร์ (collector หรือ C) https://th.wikipedia.org https://elec-thai.blogspot.com แบ่งเป็น 2 ชนิด 1. ทรานซิสเตอร์ชนิด NPN 2. ทรานซิสเตอร์ชนิด PNP http://www.psptech.co.th
วงจรรวม (integrated circuit ; IC) http://www.mindphp.com https://sites.google.com
วงจรอิเล็กทรอนิกส์ http://www.vcharkarn.com
วงจรอิเล็กทรอนิกส์ http://m.exteen.com
วงจรอิเล็กทรอนิกส์ http://xn--12caqe0fm1ecpq6b3ae7gg9pue6d.blogspot.com