WEEK5-2: 14 SEP 2017 Input / Output Selection Statement

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โครงสร้างโปรแกรมภาษา JAVA
Advertisements

The InetAddress Class.
Component องค์ประกอบของ GUI.
Lecture 5: ทางเลือกแบบหลายทาง
บทที่ 3 ตอนที่ 1 คำสั่งเงื่อนไขและการตัดสินใจ(p
File.
คำสั่งเพื่อการกำหนดเงื่อนไข
โครงสร้างคำสั่งแบบเลือก (Selection)
Relational Operators by Accords (IT SMART CLUB 2006) by Accords 1.
WEEK#16: Method เมธอดคือกลุ่มคําสั่งที่ถูกกําหนดขึ้นเพื่อทำงาน อย่างใดอย่างหนึ่งเพื่อให้ได้ผลลัพธ์ตาม ต้องการ การประกาศเมธอด มีรูปแบบดังนี้ [modifier]
บทที่ 3 Class and Object (1) การสร้างและการใช้งานคลาส
คลาสและวัตถุ (2) (Class & Object)
 เป็นเมธอดที่มีคุณลักษณะของ Polymorphism รูปแบบหนึ่ง โดยใช้ชื่อเมธอดเดียวกัน มากกว่า 1 เมธอด เพื่อทำงานในแบบเดียวกัน  คลาสลูกสามารถเขียนทับ เมธอดของคลาสแม่ได้
บทที่ 1 หลักการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ
 เป็นเมธอดที่มีคุณลักษณะของ Polymorphism รูปแบบหนึ่ง โดยใช้ชื่อเมธอดเดียวกัน มากกว่า 1 เมธอด เพื่อทำงานในแบบเดียวกัน  คลาสลูกสามารถเขียนทับ เมธอดของคลาสแม่ได้
คลาสและวัตถุ (2) (Class & Object)
คลาสและวัตถุ (3) (Class & Object). w5_000.rar การใช้งานเมธอดภายในคลาสเดียวกัน ข้อ 24, 25 as5_000.rar การใช้งานเมธอดภายในคลาสเดียวกัน ข้อ 23 2.
บทที่ 4 Method (1).
File I/O (1) โปรแกรมจะอ่านหรือเขียนข้อมูลผ่านท่อส่งข้อมูล (Stream)
คำสั่งควบคุมเงื่อนไข และการทำงานเป็นรอบ
Javascripts.
หน่วยที่ 4: คำสั่งควบคุมโปรแกรม (Control Flow Command)
รูปแบบ if-else if if (เงื่อนไข1) {
input from keyboard มหาวิทยาลัยเนชั่น การโปรแกรมเชิงวัตถุด้วยภาษา JAVA
Page: 1 การโปรแกรมเชิงวัตถุด้วยภาษา JAVA บุรินทร์ รุจจนพันธุ์.. ปรับปรุง 15 มิถุนายน 2550 Structure Programming มหาวิทยาลัยเนชั่น.
โครงสร้างควบคุมการทำงาน
คณิตศาสตร์ และการจัดรูปแบบ
คำสั่งควบคุมการ ทำงาน การเขียนโปรแกรมโดยปกติ มีทั้งให้ทำงาน เป็นลำดับ ที่ละคำสั่ง บางครั้งมีการให้เปลี่ยน ลำดับในการทำคำสั่ง เพื่อให้การเขียน โปรแกรมมีประสิทธิภาพสูงสุด.
Liang, Introduction to Java Programming, Sixth Edition, (c) 2007 Pearson Education, Inc. All rights reserved Java Programming Language.
คำสั่งควบคุมการทำงานของ ActionScripts
บทที่ 3 Class and Object (2).
บทที่ 2 การแสดงผลและรับข้อมูล
บทที่ 4 คำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก
คำสั่งแบบมีเงื่อนไข Conditional Statements
Java Programming Java Structure and Datatype,Variable
การแสดงผลและการรับข้อมูล (Data Output and Input)
Inheritance และ Encapsulation.  การสร้างหรือพัฒนาคลาสใหม่จากคลาสเดิมที่ มีอยู่แล้ว  คลาสใหม่จะนำแอตทริบิวต์และเมธอดของ คลาสเดิมมาใช้  เป็นการถ่ายทอดคุณสมบัติจากคลาสหนึ่งสู่อีก.
การจัดการกับความผิดปกติ
Variable, Data type, Expression, Operators Data input, Data output
การเปรียบเทียบเงื่อนไข
บทที่ 4 คำสั่งควบคุม โปรแกรม. คำสั่งควบคุมโปรแกรมออกได้เป็น 2 ประเภท คือ คำสั่งแบบกำหนดเงื่อนไข (Conditional Statement) คำสั่งแบบทำงานซ้ำ (Repetitive.
การเขียนโปรแกรมบนมาตรฐานเปิด โครงสร้างโปรแกรม public class HelloWorld { public static void main(String[] args) { System.out.println(“Hello World”);
การเปรียบเทียบเงื่อนไข
การประมวลผลแบบวน ( LOOP )
C Programming By Mr. Sanae Sukprung.
Basic Elements of Java&WorkShops
Chapter 4 ข้อความสั่ง เลือกทำ.
บทที่ 6 การเขียนโปรแกรมแบบมีเงื่อนไข
Control Statements.
ใช้สำหรับ Turbo C++ Version 3.0
คำสั่งเงื่อนไข (Conditioning Statements)
ภาษา C เบื้องต้น.
การควบคุมการทำงานด้วยภาษา C
Computer Programming การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
ภาษา JavaScript Webpage Design and Programming Workshop ( )
โครงสร้างการทำงานแบบทางเลือก
พื้นฐานโปรแกรมภาษาจาวา (Overview of Java Programming Language)
Chapter 5 การจัดการข้อผิดพลาด (Exception Handling)
บทที่ 4 ตัวแปร (Variables)
เครื่องมือที่ใช้ JUnit4.8.1 on Eclipse SDK3.5.2 ขึ้นไป
บทที่ 7 การเขียนโปรแกรม แบบวนรอบทำซ้ำ (Loop) Part1
Java Translation Object and Class ในมุมมองคอมพิวเตอร์ Objects หรือ Instances หมายถึงวัตถุที่กำเนิดตัวตนจริงๆจากต้นแบบที่กำหนดโดยคลาส Object.
Inheritance and Encapsulation
บทที่ 7 การเขียนโปรแกรม แบบวนรอบทำซ้ำ (Loop) Part2
ข้อความสั่งควบคุม.
นิพจน์และตัวดำเนินการ
การเขียนโปรแกรมภาษา Java (ต่อ)
File.
Decision: Multi Selection (if-else-if, switch)
โครงสร้างของโปรแกรมเกมคอมพิวเตอร์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

WEEK5-2: 14 SEP 2017 Input / Output Selection Statement

การรับข้อมูลชนิดข้อความด้วยคลาส Scanner รับข้อมูลชนิดของข้อมูลเป็นข้อความหรือตัวเลขก็ได้ การใช้งานคลาส Scanner ต้องสร้างออบเจ็กต์จากคลาส Scanner ก่อน จะต้อง import แพ็คเกจ java.util.Scanner และประกาศออบเจ็กต์ตามรูปแบบ ดังนี้ Scanner sn = new Scanner(System.in);   โดยที่ sn เป็นชื่อออบเจกต์ที่สร้างจากคลาส Scanner System.in เป็นช่องทางการนำเข้าข้อมูลมาตรฐาน หมายถึง การอ่านข้อมูลจากแป้นพิมพ์

เมธอดของคลาส Scanner nextInt() สำหรับรับข้อมูลประเภทเลขจำนวนเต็ม nextFloat() สำหรับรับข้อมูลประเภทเลขจำนวนทศนิยมชนิด float nextDouble() สำหรับรับข้อมูลประเภทเลขจำนวนทศนิยมชนิด double nextLine() สำหรับรับข้อมูลประเภทข้อความ

การรับผลข้อมูลด้วยคลาส JOptionPane (1) ใช้เมธอด showInputDialog() มีรูปแบบการใช้งาน ดังนี้ String data = JOptionPane.showInputDialog(Parent_Window, Message, Title, Type); โดยที่ Parent_Window เป็นชื่อของ parent window ที่ต้องการแสดงผล ถ้าค่าเป็น null จะแสดงไดอะล็อกบ็อกซ์กลางหน้าจอ Message เป็นข้อความที่ต้องการแสดงในไดอะล็อกบ็อกซ์ Title เป็นข้อความที่ปรากฏในส่วนของ Title bar ของไดอะล็อกบ็อกซ์ Type เป็นชนิดของไดอะล็อกบ็อกซ์ ซึ่งจะถูกกำหนดโดยค่าคงที่ต่อไปนี้

การรับผลข้อมูลด้วยคลาส JOptionPane (2) Type เป็นชนิดของไดอะล็อกบ็อกซ์ ซึ่งจะถูกกำหนดโดยค่าคงที่ต่อไปนี้ ERROR_MESSAGE เป็นการแสดงข้อผิดพลาด และแสดงสัญลักษณ์ INFORMATION_MESSAGE เป็นการแสดงข้อความทั่วไป และแสดงสัญลักษณ์ PLAIN_MESSAGE เป็นการแสดงข้อความทั่วไป โดยไม่มีการแสดงสัญลักษณ์ QUESTION_MESSAGE เป็นการแสดงในลักษณะคำถาม และแสดงสัญลักษณ์ WARNING_MESSAGE เป็นการแสดงในลักษณะแจ้งเตือน และแสดงสัญลักษณ์ ในกรณีที่ไม่มีการกำหนดค่าในส่วนของ Title และ Type Title จะถูกกำหนดเป็น “Input” Type จะถูกกำหนดเป็น QUESTION _MESSAGE

ตัวอย่างการทำงานของเมธอด showInputDialog()

การแสดงผลข้อมูลด้วยเมธอด printlnหรือ print() รูปแบบการใช้งาน System.out.println(argument1 + argument2 + ... + argumentn) หรือ System.out.print(argument1 + argument2 + ... + argumentn) โดยที่ argument1, argument2, argumentn เป็นข้อมูลที่ต้องการแสดงผล อาจจะเป็นข้อความ ตัวแปร หรือนิพจน์ ซึ่งสามารถเขียนต่อกันได้ โดยใช้เครื่องหมาย “+”

ข้อแตกต่างระหว่างเมธอด println() และ print()

การแสดงผลข้อมูลด้วยคลาส JOptionPane (1) ใช้เมธอด showMessageDialog() มีรูปแบบการใช้งาน ดังนี้ JOptionPane.showMessageDialog(Parent_Window,Message, Title,Type); โดยที่ Parent_Window เป็นชื่อของ parent window ที่ต้องการแสดงผล ถ้าค่าเป็น null จะแสดงไดอะล็อกบ็อกซ์กลางหน้าจอ Message เป็นข้อความที่ต้องการแสดงในไดอะล็อกบ็อกซ์ Title เป็นข้อความที่ปรากฏในส่วนของ Title bar ของไดอะล็อกบ็อกซ์ Type เป็นชนิดของไดอะล็อกบ็อกซ์ ซึ่งจะถูกกำหนดโดยค่าคงที่ต่อไปนี้

การแสดงผลข้อมูลด้วยคลาส JOptionPane (2) Type เป็นชนิดของไดอะล็อกบ็อกซ์ ซึ่งจะถูกกำหนดโดยค่าคงที่ต่อไปนี้ ERROR_MESSAGE เป็นการแสดงข้อผิดพลาด และแสดงสัญลักษณ์ INFORMATION_MESSAGE เป็นการแสดงข้อความทั่วไป และแสดงสัญลักษณ์ PLAIN_MESSAGE เป็นการแสดงข้อความทั่วไป โดยไม่มีการแสดงสัญลักษณ์ QUESTION_MESSAGE เป็นการแสดงในลักษณะคำถาม และแสดงสัญลักษณ์ WARNING_MESSAGE เป็นการแสดงในลักษณะแจ้งเตือน และแสดงสัญลักษณ์ ในกรณีที่ไม่มีการกำหนดค่าในส่วนของ Title และ Type Title จะถูกกำหนดเป็น “Message” Type จะถูกกำหนดเป็น INFORMATION_MESSAGE

ตัวอย่างการทำงานของเมธอด showMessageDialog()

การจัดรูปแบบการแสดงผลด้วยคลาส DecimalFormat DecimalFormatdf= new DecimalFormat(argument); String str= df.format(payment); โดยที่ argument เป็นรูปแบบการแสดงผลที่ต้องการ ประกอบด้วย 0 แทนตัวเลข 0 ในกรณีที่ต้องการให้แสดงตัวเลข “#” แทนตัวเลขใดๆ ที่ไม่ใช่ 0 ในกรณีที่เป็นเลข 0 จะไม่แสดงผล “,” ให้แสดงผลโดยมีเครื่องหมาย “,” เป็นตัวคั่นในหลักพัน df เป็นชื่อออบเจ็กต์ของคลาสที่สร้างขึ้น str เป็นชื่อตัวแปรที่ใช้รับค่าที่กำหนดรูปแบบ

ตัวอย่างการใช้งานเมธอด format()

คำสั่งแบบมีทางเลือก (Selection Control Statement) มีการตรวจสอบเงื่อนไขของคำสั่งก่อนทำงาน เพื่อตัดสินใจ เลือกทิศทางการทำงานของโปรแกรม จะข้ามการทำงานของบางชุดคำสั่งไป มี 4 คำสั่งคือ คำสั่ง if คำสั่ง if…else คำสั่ง nested if คำสั่ง switch

คำสั่ง if ควบคุมให้โปรแกรมตัดสินใจทำงานหรือไม่ทำงานในชุดคำสั่งที่กำหนด ตรวจสอบจากนิพจน์ที่กำหนดว่าเป็นจริงหรือเท็จ ถ้านิพจน์ เป็นจริง (true) โปรแกรมจะทำงานที่ชุดคำสั่งที่อยู่ภายใต้คำสั่ง if ถ้านิพจน์ เป็นเท็จ (false) โปรแกรมจะข้ามไปทำงานที่คำสั่งต่อไปทันที มีรูปแบบการทำงานดังนี้ if (boolean_expression) { statements; } โดยที่ boolean_expression เป็นนิพจน์เงื่อนไข ซึ่งมีผลการตรวจสอบเป็น true หรือ false statements เป็นชุดของคำสั่งที่จะทำงานเมื่อเงื่อนไขที่กำหนดให้เป็น true

โปรแกรมการใช้คำสั่ง if โปรแกรมคำนวณคะแนนร้อยละ เมื่อกดเลข 1 บนแป้นพิมพ์

คำสั่ง if_else ควบคุมให้โปรแกรมเลือกทำงานในชุดคำสั่งใดชุดคำสั่งหนึ่งจาก 2 ทางเลือก ตรวจสอบจากนิพจน์ที่กำหนดว่าเป็นจริงหรือเท็จ ถ้านิพจน์ เป็นจริง (true) โปรแกรมจะทำงานที่ชุดคำสั่งที่อยู่ภายใต้คำสั่ง if ถ้านิพจน์ เป็นเท็จ (false)โปรแกรมจะทำงานที่ชุดคำสั่งที่อยู่ภายใต้คำสั่ง else มีรูปแบบการทำงานดังนี้ if (boolean_expression) { statement_1; } else { statement_2; โดยที่ boolean_expression เป็นนิพจน์เงื่อนไข ซึ่งมีผลการตรวจสอบเป็น true หรือ false statements_1 เป็นชุดของคำสั่งที่จะทำงานเมื่อเงื่อนไขที่กำหนดให้เป็น true statements_2 เป็นชุดของคำสั่งที่จะทำงานเมื่อเงื่อนไขที่กำหนดให้เป็น false

โปรแกรมการใช้คำสั่ง if_else โปรแกรมตรวจสอบอายุเกษียณราชการของข้าราชการ

คำสั่ง nested if หรือ if…else if ควบคุมให้โปรแกรมเลือกทำงานในชุดคำสั่งใดชุดคำสั่งหนึ่งจากหลายทางเลือก แต่ละทางเลือกจะมีการกำหนดนิพจน์เงื่อนไขเพื่อให้โปรแกรมตรวจสอบนิพจน์ หากพบว่าทางเลือกไหนมีนิพจน์เป็นจริง (true) ก็จะทำงานที่ชุดคำสั่งภายในทางเลือกนั้น โดยไม่พิจารณาทางเลือกอื่นที่ยังไม่ได้ทำการตรวจสอบอีก มีรูปแบบการทำงาน ดังนี้ if (boolean_expression_1) { statement_1; } else if (boolean_expression_2) { statement_2; else { statement_n; โดยที่ boolean_expression_1, boolean_expression_2 เป็นนิพจน์เงื่อนไขทางตรรกศาสตร์ statements_1 เป็นชุดของคำสั่งที่จะทำงานเมื่อเงื่อนไข ของ boolean_expression_1 เป็น true statements_2 เป็นชุดของคำสั่งที่จะทำงานเมื่อเงื่อนไข ของ boolean_expression_2 เป็น true statements_n เป็นชุดของคำสั่งที่จะทำงานเมื่อเงื่อนไขที่กำหนดให้ ทั้งหมด เป็น false

โปรแกรมการใช้คำสั่ง nested if โปรแกรมตรวจสอบการเรียนครบตามหลักสูตรจากจำนวนหน่วยกิต วิชาเอกบังคับและวิชาเอกเลือก

คำสั่ง switch statement ควบคุมให้โปรแกรมเลือกทำงานในชุดคำสั่งใดชุดคำสั่งหนึ่งจากหลายทางเลือก แต่ละทางเลือกจะมีการกำหนดเงื่อนไขของแต่ละทาง โดยตรวจสอบเงื่อนไขแต่ละทางเลือก หากพบว่าทางเลือกใดมีเงื่อนไงเป็นจริง (true) จะทำงานที่ชุดคำสั่งภายในทางเลือกนั้น โดยไม่พิจารณาทางเลือกอื่นที่ยังไม่ตรวจสอบอีก มีรูปแบบการทำงานดังนี้ switch (expression) { case list_value_1: statement_1; break; case list_value_2: statement_2; case list_value_n: statement_n; default : statement; } โดยที่ expression เป็นนิพจน์ที่ต้องตรวจสอบค่าว่าตรงกับ list_value ใด เพื่อจะได้ทำงานตามชุดคำสั่งภายใต้ list_value นั้น list_value เป็นค่าข้อมูลที่ใช้ตรวจสอบกับ expression statement_n เป็นชุดของคำสั่งที่จะทำงานเมื่อ list_value นั้น มีค่าเท่ากับ expression statement เป็นชุดของคำสั่งที่จะทำงานเมื่อไม่มี list_value ใด มีค่าเท่ากับ expression

โปรแกรมการใช้คำสั่ง switch โปรแกรมตรวจสอบการดำเนินการกับตัวเลข 2 ค่าให้ตรงกับตัวดำเนินการที่เลือก import java.util.Scanner;  public class Switch_Test {  public static void main(String args[]) { System.out.println("Main menu"); System.out.println("1.Add"); System.out.println("2.Subtract"); System.out.println("3.Multiply"); System.out.println("4.Divide");  System.out.print("Press 1,2,3 or 4 >>> "); Scanner scan = new Scanner(System.in); int key = scan.nextInt(); System.out.print("enter first number >>> "); float a = scan.nextFloat(); System.out.print("enter seceond number >>> "); float b = scan.nextFloat(); switch (key) { case 1: System.out.println("result of" + a + "+" + b + "=" + (a + b)); break; case 2: System.out.println("result of" + a + "-" + b + "=" + (a - b)); case 3: System.out.println("result of" + a + "*" + b + "=" + (a * b)); case 4: System.out.println("result of" + a + "/" + b + "=" + (a / b)); default: System.out.println("Unknown Operator !!!"); } System.out.println("Good Bye !!! ");