วิทยาลัยเทคโนโลยีสยามบริหารธุรกิจ นนทบุรี

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Chapter 3 Data Representation (การแทนข้อมูล)
Advertisements

ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชา การสอนภาษาอังกฤษเพื่อ วิชาการและงานอาชีพ
ศูนย์เรียนรู้ชุมชนเศรษฐกิจ พอเพียงบ้านซ่อง อ.พนมสารคาม จ.ฉะเชิงเทรา
สาระที่ ๒ การเขียน.
การบริหารจัดการโครงการ และการเบิกจ่ายงบประมาณ
ศึกษาข้อมูลท้องถิ่นบ้านสนาม
ยินดีต้อนรับ คณะกรรมการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน “สำนักส่งเสริมวิชาการและงานทะเบียน” วันอังคารที่ 23 สิงหาคม พ.ศ
Application of Electron Paramagnetic Resonance (EPR)
Lubna Shamshad (Ph.D Student) Supervisor Dr.GulRooh
Q n° R n°.
อาคารสำนักงานเขต พื้นที่การศึกษา (สพป./สพม.)
Chapter 3 Design of Discrete-Time control systems Frequency Response
ยินดีต้อนรับ นสต. ภ.๙.
การส่งเสริมจริยธรรมและคุณธรรม เพื่อการป้องกันการทุจริต
พอช.องค์การมหาชนของชุมชนไทย
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
หน่วยที่ 2 การประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
หลักสูตรการศึกษานอกระบบ ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
Multiple Input Multiple Output (MIMO)
บทที่ 7 TAS 17 (ปรับปรุง 2558): สัญญาเช่า (Leases)
หลักการสร้างมาตรวัดทางจิตวิทยา
โครงการส่งเสริมการพัฒนาคุณภาพงาน คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
แผนการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
แนวการตรวจสอบภายใน การตรวจสอบรถราชการ
ทะเบียนราษฎร.
นายธนวิทย์ โพธิ์พฤกษ์ เลขที่ 8 นายอนุสรณ์ ขำหลง เลขที่ 29
เรื่อง การบริหารการศึกษาตาม พ.ร.บ ระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ
เอกสารประกอบการบรรยายครั้ง ๒ วิชาซื้อขาย - เช่าทรัพย์ - เช่าซื้อ
ระเบียบกระทรวงมหาดไทย
บทที่ 12 การวิเคราะห์สหสัมพันธ์และการถดถอย
DATA STRUCTURES AND ALGORITHMS
ขั้นตอนการจัดตั้งกลุ่มส่งเสริมอาชีพ จังหวัดนครราชสีมา ปี ๒๕๕๘/๕๙
หลักการจัดกิจกรรมนันทนาการ
การประชุมผู้บริหารระดับสูงกระทรวงวัฒนธรรม ครั้งที่ ๔/๒๕๖๐
การเบิกจ่ายเงินเกี่ยวกับค่าใช้จ่าย ในการบริหารงานของส่วนราชการ
การแก้ไขปัญหา สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยนคลองจั่น จำกัด
ขั้นตอนของกิจกรรม : ปฏิบัติเป็นประจำ เพื่อให้เกิดการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง
ตอนที่ 2.๒ บทบาทหน้าที่ของเจ้าหน้าที่ส่งเสริมการเกษตรระดับอำเภอ
บทที่ 4 การกระจาย อำนาจด้านการคลัง
งานเงินสมทบและการตรวจสอบ
ยินดีต้อนรับเข้าสู่บทเรียนคอมพิวเตอร์ วัยรุ่นไทยใส่ใจวัฒนธรรม เรื่อง
การพัฒนาระบบบริหารจัดการกำลังคนด้านสุขภาพ “การพัฒนาบุคลากร”
ค่าใช้จ่ายต่างๆ ในโครงการฯ
วันเสาร์ที่ 2 กรกฎาคม 2559 วิทยาลัยเทคโนโลยีอักษรพัทยา
วิชาสังคมศึกษา ม.3 สาระที่ 1 ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม.
มหาวิยาลัยราชภัฏนครราชสีมา
โครงการสนับสนุนสินเชื่อเกษตรกรชาวสวนยาง รายย่อยเพื่อประกอบอาชีพเสริม
ความหมายของหนี้สาธารณะ
การจัดการชั้นเรียน.
การบริหารการเงิน ในสถานศึกษา
องค์ประกอบและผลกระทบของธุรกิจไมซ์
โคลง ร่าย และ โดยครูธาริตา นพสุวรรณ
Matrix 1.Thamonaporn intasuwan no.7 2.Wannisa chawlaw no.13 3.Sunita taoklang no.17 4.Aungkhana mueagjinda no.20.
สมาชิกโต๊ะ 1 นายสุรวินทร์ รีเรียง นายภาณุวิชญ์ อนุศรี
นำเสนอ วัดเกาะชัน ด.ช.ปกรณ์ ร้อยจันทร์ ม.2/7 เลขที่ 19
รศ.ดร.อนันต์ จันทรโอภากร
การเขียนวิจารณ์วรรณกรรม ๒
การยืมเงิน จากแหล่งเงินงบประมาณรายได้
วิชา หลักการตลาด บทที่ 7 การออกแบบกลยุทธ์ราคา
ผังมโนทัศน์สาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑
สาระสำคัญพ.ร.บ.การทวงถามหนี้ พ.ศ.๒๕๕๘ สาระสำคัญพ.ร.บ.การทวงถามหนี้ พ.ศ.๒๕๕๘.
การบัญชีตามความรับผิดชอบและ การประเมินผลการปฏิบัติงาน
ตำบลหนองพลับ ประวัติความเป็นมา
แบบทดสอบ เรื่อง ความน่าจะเป็น.
การปฏิรูประบบศาลยุติธรรม หลังรัฐประหาร 2557
ธาตุ สารประกอบ และปฏิกิริยาเคมี
ข้อกำหนด/มาตรฐาน ด้านสุขาภิบาลอาหาร
การบริหารหลักสูตร ความหมาย : การดำเนินงานที่เกี่ยวข้องกับการทำหลักสูตร และเอกสารประกอบหลักสูตร ไปสู่การปฏิบัติในสถานการณ์จริงหรือกิจกรรมการเรียนการสอนให้เป็นไปตามเป้าหมายที่กำหนดไว้ในหลักสูตรโดยอาศัยการสนับสนุนและร่วมมือจากบุคคลที่เกี่ยวข้องกับการใช้หลักส
PHYSICS by P’Tum LINE
การพิจารณาสัญชาติของบุคคล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

วิทยาลัยเทคโนโลยีสยามบริหารธุรกิจ นนทบุรี การพัฒนาระบบเพื่อการจัดการงานซ่อมบำรุงคอมพิวเตอร์ด้วยเทคนิคแบบอิงกฎเกณฑ์และ Responsive Web กรณีศึกษา : วิทยาลัยเทคโนโลยีสยามบริหารธุรกิจ นนทบุรี Development of Management System for Computer Maintenance Using Rule Base and Responsive Web Case Study of : Siam Business Administration Nonthaburi Technological College นายยุตะนันท์ พิลากุล วิทยาลัยเทคโนโลยีสยามบริหารธุรกิจ นนทบุรี

AGENDA วัตถุประสงค์ของการวิจัย ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ผลวิเคราะห์/ตารางที่สำคัญ สรุปผลการวิจัย ภาพหลักฐานประกอบ ข้อเสนอแนะ ปัจจุบันเทคโนโลยีเข้ามามีบทบาทเป็นอย่างมากในการดำเนินงานในองค์ต่างๆ งานซ่อมบำรุงคอมพิวเตอร์เป็นงานที่มีความจำเป็น ซึ่งการนำระบบเข้ามาใช้ในการบริหารจัดการงานซ่อมบำรุงจะทำให้งานมีประสิทธิภาพจะสามารถลดความเสียหาย และช่วยประหยัดค่าใช้จ่ายโดยไม่จำเป็นได้อย่างมาก วิทยาลัยฯได้นำคอมพิวเตอร์เข้ามาใช้ในการดำเนินกิจกรรมขององค์กรทั้งหมด ทั้งด้านการเรียนการสอนและด้านสารสนเทศ

วัตถุประสงค์ของการวิจัย เพื่อพัฒนาระบบเพื่อการจัดการงานซ่อมบำรุงคอมพิวเตอร์ด้วยเทคนิคแบบอิงกฎเกณฑ์และ Responsive Web วิทยาลัยเทคโนโลยีสยามบริหารธุรกิจ นนทบุรี เพื่อประเมินความพึงพอใจต่อการใช้ระบบเพื่อการจัดการงานซ่อมบำรุงคอมพิวเตอร์ของวิทยาลัยเทคโนโลยีสยามบริหารธุรกิจ นนทบุรี เพื่อจัดลำดับงานซ่อมบำรุงคอมพิวเตอร์ ปัจจุบันเทคโนโลยีเข้ามามีบทบาทเป็นอย่างมากในการดำเนินงานในองค์ต่างๆ งานซ่อมบำรุงคอมพิวเตอร์เป็นงานที่มีความจำเป็น ซึ่งการนำระบบเข้ามาใช้ในการบริหารจัดการงานซ่อมบำรุงจะทำให้งานมีประสิทธิภาพจะสามารถลดความเสียหาย และช่วยประหยัดค่าใช้จ่ายโดยไม่จำเป็นได้อย่างมาก วิทยาลัยฯได้นำคอมพิวเตอร์เข้ามาใช้ในการดำเนินกิจกรรมขององค์กรทั้งหมด ทั้งด้านการเรียนการสอนและด้านสารสนเทศ

ทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง เทคนิคแบบอิงกฎเกณฑ์ (Rule Based) ใช้กฎในการทำนายตัดสินใจ , แก้ปัญหาโดยใช้กฎ, สร้างขึ้นโดยผู้เชี่ยวชาญ ทฤษฎี CPU Scheduling Priority, Shortest job First, First Come First Served การพัฒนาเว็บไซต์ต่างแพลตฟอร์ม (Responsive Web) การออกแบบที่นิยมในปัจจุบัน, ทำงานบนอุปกรณ์ที่แตกต่างกัน , ออกแบบเพียงครั้งเดียว ดังนั้นเพิ่มการเพิ่มสมรรถนะทางด้านบริหารจัดการ ผู้วิจัยจึงพัฒนาระบบเพื่อการจัดการงานซ่อมบำรุงคอมพิวเตอร์ ที่จะช่วยให้จัดการข้อมูลที่เป็นระบบ และช่วยจัดลำดับการบริการของงานซ่อมในการให้บริการ โดยใช้เทคนิคแบบอิงกฎเกณฑ์ (Rule Based) มาเป็นเครื่องมือในการช่วยพัฒนา โดยมีผู้เชี่ยวชาญเป็นผู้กำหนดกฎ โดยจะมาเอกสารที่มีอยู่และจากผู้เชี่ยวชาญด้านแก้ปัญหา รวมทั้งการออกแบบเว็บไซต์ให้สามารถรองรับการทำงานบนหน้าจออุปกรณ์ต่างๆได้และสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ

วิธีการดำเนินการวิจัย

วิธีการดำเนินการวิจัย (ต่อ) แสดงตารางระดับระยะเวลาการแก้ปัญหาคอมพิวเตอร์ ระดับ ระยะเวลา เวลา(นาที) 1 5 – 15 นาที 15 2 16 – 30 นาที 30 3 31 – 45 นาที 45 4 46 – 60 นาที 60 5 1 – 2 ชั่วโมง 120 6 2 – 3 ชั่วโมง 180 7 3 – 8 ชั่วโมง 480 8 2 – 3 วัน 4,320 9 4 – 7 วัน 10,080 10 มากกว่า 7 วัน มากกว่า 10,080

วิธีการดำเนินการวิจัย (ต่อ) การกำหนดระดับความสำคัญ 3 หมายถึง สำคัญมาก (ระดับผู้บริหาร) 2 หมายถึง สำคัญปานกลาง (ระดับหัวหน้า) 1 หมายถึง สำคัญน้อย (ระดับครู บุคลากร) หลักการการจัดตารางเวลาของซีพียู (CPU Scheduling) 1. งานที่มีความสำคัญมากที่สุดได้รับการบริการก่อน (Priority Scheduling) 2. งานที่ใช้เวลาน้อยที่สุดได้รับการบริการก่อน (Shortest-Job-First Scheduling : SJF) 3. งานที่มาก่อนได้รับบริการก่อน (First-Come, First-Served Scheduling : FCFS)

วิธีการดำเนินการวิจัย (ต่อ) แจ้งปัญหาการใช้งานคอมพิวเตอร์ (Problem) ระดับความสำคัญ (Priority) ระยะแก้ปัญหาน้อย (Shortest-Job-First) งานที่มาก่อนทำก่อน (First-Come, First-Served) ระบบแบบอิงกฎเกณฑ์ (Rule Based) คือระบบที่ใช้กฎในการตัดสินใจทำนาย แก้ปัญหาโดยกฎต่างๆ จะถูกสร้างโดยผู้เชี่ยวชาญ ดังนั้นจะเห็นการใช้ระบบแบบอิงกฎเกณฑ์ในระบบผู้เชี่ยวชาญ ระบบเหล่านี้เป็นการนำความรู้ของผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้าน มาสร้างเป็นกฎแล้วให้เครื่องทำหน้าที่แทนผู้เชี่ยวชาญนั้นเอง แต่ข้อจำกัดคือกฎจะไม่สามารถเปลี่ยนได้บ่อย จึงเหมาะกับการแก้ปัญหาที่ไม่ค่อยเปลี่ยนแปลง ระบบแบบอิงกฎเกณฑ์เป็นเทคนิคที่มีความเข้าใจง่ายและสะดวกในการปรับใช้ตามปัญหาขององค์กร [1]

ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง การกำหนดขนาดของกลุ่มตัวอย่างโดยการใช้ร้อยละของประชากร ถ้าขนาดประชากรเป็นหลักพัน ควรใช้กลุ่มตัวอย่างอย่างน้อยร้อยละ 10 ถ้าขนาดประชากรเป็นหลักหมื่น ควรใช้กลุ่มตัวอย่างอย่างน้อยร้อยละ 5 ถ้าขนาดประชากรเป็นหลักแสน ควรใช้กลุ่มตัวอย่างอย่างน้อยร้อยละ 1 ถ้าขนาดประชากรเป็นหลักร้อย ควรใช้กลุ่มตัวอย่างอย่างน้อยร้อยละ 25 กลุ่มตัวอย่างที่กำหนดได้เท่ากับ 170 x 0.25 = 43 คน และจะใช้ผู้เชี่ยวชาญจำนวน 5 คน

2. ผลการประเมินความพึงพอใจระบบ ผลการพัฒนาระบบ (ต่อ) 2. ผลการประเมินความพึงพอใจระบบ กลุ่มตัวอย่างที่กำหนดได้เท่ากับ 170 x 0.25 = 43 คน และจะใช้ผู้เชี่ยวชาญจำนวน 5 คน ด้านประเมิน 4 ด้าน 1. ด้านความสามารถทำงานตรงตามความต้องการของผู้ใช้งาน (Functional Requirement Test) 2. ด้านการทำงานตามหน้าที่ของระบบ (Functional Test) 3. ด้านการใช้งานของระบบ (Usability Test) 4. ด้านการรักษาความมั่นคงของระบบ (Security Test)

ผลการประเมินความพึงพอใจทั้ง 4 ด้านโดยผู้เชี่ยวชาญ ผลการพัฒนาระบบ (ต่อ) ผลการประเมินความพึงพอใจทั้ง 4 ด้านโดยผู้เชี่ยวชาญ ด้านประเมิน ผลการประเมิน 𝐱 S.D. แปลผล 1. ด้านความสามารถทำงานตรงตามความต้องการของผู้ใช้งาน (Functional Requirement Test) 4.16 0.55 ดี 2. ด้านการทำงานตามหน้าที่ของระบบ (Functional Test) 4.22 0.56 3. ด้านการใช้งานของระบบ (Usability Test) 0.54 4. ด้านการรักษาความมั่นคงของระบบ (Security Test) 4.24 0.47 สรุปรายการประเมิน 4.21 0.53

สรุปผลการประเมินความพึงพอใจทั้ง 4 ด้านโดยผู้ใช้งาน ผลการพัฒนาระบบ (ต่อ) สรุปผลการประเมินความพึงพอใจทั้ง 4 ด้านโดยผู้ใช้งาน ด้านประเมิน ผลการประเมิน 𝐱 S.D. แปลผล 1. ด้านความสามารถทำงานตรงตามความต้องการของผู้ใช้งาน (Functional Requirement Test) 4.16 0.69 ดี 2. ด้านการทำงานตามหน้าที่ของระบบ (Functional Test) 4.15 0.70 3. ด้านการใช้งานของระบบ (Usability Test) 4.29 0.60 4. ด้านการรักษาความมั่นคงของระบบ (Security Test) 4.40 4.57 สรุปรายการประเมิน 4.25 0.64

ผลการพัฒนาระบบ 1. ผลการพัฒนาระบบ

ผลการพัฒนาระบบ

สรุปผล และ ข้อเสนอแนะ สรุปผล ข้อเสนอแนะ 1. ระบบช่วยในการจัดลำดับการให้บริการงานซ่อมบำรุงคอมพิวเตอร์ได้เป็นอย่างดีและสามารถจัดเก็บข้อมูลได้ อย่างเป็นระบบ ทำงานสะดวก รวดเร็ว 2. ระบบที่พัฒนาขึ้นสามารถนำไปใช้งานจริงได้อย่างมีประสิทธิภาพ ข้อเสนอแนะ 1. ควรมีการรวบรวมข้อมูลปัญหาการใช้งานคอมพิวเตอร์ให้มากกว่านี้เพื่อจะได้ครอบคลุมปัญหาการใช้งาน คอมพิวเตอร์ในอนาคต 2. การพัฒนาระบบครั้งต่อไปควรมีการนำระบบการแจ้งเตือนผ่านข้อความโทรศัพท์มือถือและอีเมล