การจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ ด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ (e-GP) ระยะที่ 3

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
e-Office การบริหารสำนักงานสมัยใหม่
Advertisements

การจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์
ระเบียบ และ การเบิกจ่ายเงิน ค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรม
ความก้าวหน้าการพัฒนากฎหมาย ที่อยู่ในความรับผิดชอบของกรมอนามัย
ความรู้เกี่ยวกับกฎหมายป้องกันและปราบรามการทุจริต
การบริหารงานพัสดุภายใต้ พ. ร. บ
การนำเสนอผลการจัดทำแผนและคำของบประมาณ
การบริหารความเสี่ยง ในการบริหารงานพัสดุภาครัฐ
สำนักมาตรฐานการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ
การพัฒนาระบบ e-GP ในระยะที่ 3
แนวทางปฏิบัติ การจัดซื้อจัดจ้างด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ 2549
The Comptroller General’s Department
บทที่ 8 การจัดซื้อ บทนำ บทบาทของการจัดซื้อ กิจกรรมต่างๆ ของการจัดซื้อ
วิธีตลาดอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Market: e - market)
แนวทางปฏิบัติในการจัดหาพัสดุ
ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัสดุ พ.ศ และที่แก้ไขเพิ่มเติม
การบริหารความเสี่ยง ในการบริหารงานพัสดุภาครัฐ
กรมบัญชีกลาง กองการพัสดุภาครัฐ
การจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ (e-GP) ระยะที่ 3
การพัฒนาระบบ e-GP ในระยะที่ 3
สำหรับธุรกิจบริหารจัดการเรือ
ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วย การพัสดุ พ.ศ. 2535
การกำหนดรายละเอียดคุณลักษณะเฉพาะ และการจัดทำรายงานขอซื้อขอจ้าง
ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัสดุ พ.ศ และที่แก้ไขเพิ่มเติม
แนวทางการเฝ้าระวังคุณภาพน้ำดื่ม และน้ำแข็งบริโภค ในสถานประกอบการ
การควบคุมและตรวจสอบภายใน รองผู้ว่าการตรวจเงินแผ่นดิน
คู่มือการเบิกจ่ายเงิน
สำนักงานคณะกรรมการป้องกัน และปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ
การบริหาร เงินงบประมาณ และ เงินนอกงบประมาณ
เหตุใด... ต้องมีการประกาศราคากลาง
(1) ภาวะการหางานทำของบัณฑิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
มติ ครม. 15 ธค. 58 เห็นชอบแผนปฎิบัติงานโครงการ อบรมฯ ในกรอบวงเงิน 1,064,574,000 บาท -งบกลางฯ 948,150,000 บาท -ปรับแผนฯ ปี ,424,000.
การบริหารพัสดุ ของหน่วยงานภาครัฐ นำเสนอโดย นายอธิวัฒน์ โยอาศรี
การสร้างความตระหนักในเรื่องการรักษาความปลอดภัยของ
4.8 พัฒนาการเด็กวัยเรียน
เปรียบเทียบกระบวนการจัดซื้อจัดจ้าง
การจัดหาของกรมพลาธิการทหารบก
การขออนุมัติดำเนินโครงการ ภายใต้ข้อบังคับฯ 2559
แนวทางปฏิบัติในการจัดหาพัสดุ
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
แนวทางปฏิบัติในการจัดหาพัสดุ
หนังสือคณะกรรมการว่าด้วยการพัสดุ ด่วนที่สุด ที่ กค (กวพ) 0405
1 The Comptroller General’s Department กรมบัญชีกลาง กระทรวงการคลัง
ประชุมชี้แจงการปฏิบัติงานตามพระราชบัญญัติ การจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ.2560 ณ ห้องประชุมสุพรรณกัลยา 1 ชั้น 3 วันที่ 1 กันยายน 2560.
การบันทึกรายการใน SAP หลัง พ.ร.บ.ใหม่ มีผลบังคับใช้
ประชุมชี้แจงเตรียมความพร้อม ปีงบประมาณ 2559
นางสาวนนทิชา วรรณสว่าง ผู้อำนวยการสำนักบริหารกลาง กรมการข้าว
ขั้นตอนการจัดซื้อ/จัดจ้าง (วิธีตกลงราคา)
เงินค่าใช้จ่ายในการดำเนินการสอบแข่งขันบุคคลเข้ารับราชการ
การกำจัดขยะและสารเคมี
การพัฒนาระบบ e-GP ในระยะที่ 3
ความสำคัญของโภชนาการสำหรับเด็กปฐมวัย
มาตรการเพิ่มประสิทธิภาพ การใช้จ่ายงบประมาณ ปี 2558
การพัฒนาระบบ e-GP ในระยะที่ 3
แนวทางปฏิบัติในการจัดหาพัสดุ
แนวทางการดำเนินงาน โครงการสาธารณสุข ๑๐๐ ปี หมออนามัยห่วงใยประชาชน สร้างชุมชนปลอดขยะ ร่วมขจัดภัยไข้เลือดออกและไข้มาลาเรีย ปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๑.
ศูนย์ช่วยเหลือ SMEs (SME Rescue Center)
เปรียบเทียบกระบวนการจัดซื้อจัดจ้าง
ณ ห้องประชุมกองการเงินและบัญชี กรมชลประทาน สามเสน กรุงเทพมหานคร
นายเกรียงไกร แก้วมีศรี ผู้อำนวยการโรงเรียนเมืองสุราษฎร์ธานี
การจัดเตรียมเอกสาร ประกอบการจัดหาพัสดุของหน่วยงาน
งานการเงินนักศึกษา ส่วนการเงินและบัญชี
การเตรียมความพร้อมในวันสิ้นปีงบประมาณ
หัวข้อที่ 3.2 ระบบธรรมาภิบาลและองค์กรคุณภาพ ตัวชี้วัด : ร้อยละการจัดซื้อร่วมของยา เวชภัณฑ์มิใช่ยา วัสดุวิทยาศาสตร์และทันตกรรม (ร้อยละ 20) สถานการณ์: ปี
โดยนางปิยะพร หงษ์เงิน
ขั้นตอนการดำเนินการจัดหาพัสดุ ด้วยวิธีเฉพาะเจาะจง (การจัดหาพัสดุ ครั้งหนึ่งซึ่งมีราคาไม่เกิน 100,000 บาท) - ตามพระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ.
การจัดซื้อจัดจ้าง พระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้าง และการบริหารพัสดุภาครัฐ.
มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
Welcome.. ข่าวประชาสัมพันธ์ กองคลัง สาระน่ารู้
การประยุกต์ใช้อินเทอร์เน็ตใน พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ ด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ (e-GP) ระยะที่ 3 กรมส่งเสริมการเกษตร การจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ ด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ (e-GP) ระยะที่ 3 กุลฤดี  พัฒนะอิ่ม ผู้อำนวยการกองคลัง กรมส่งเสริมการเกษตร 1

วิวัฒนาการการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ ระยะที่ 1 มติ ครม.7 เมษายน 2553 เริ่มใช้ 1 เมษายน 2553 คณะรัฐมนตรีมีมติเมื่อวันที่ 7 เมษายน 2553 แจ้งตามหนังสือ สำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี ด่วนที่สุด ที่ นร0506/ว78 ลงวันที่ 12 เมษายน 2553 ให้ส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ องค์การมหาชน และหน่วยงาน ชองรัฐทุกแห่ง ลงประกาศจัดซื้อจัดจ้าง สำหรับการจัดซื้อจัดจ้างด้วยวิธี สอบราคา ประกวดราคา และประกวดราคาด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ ที่เว็บไซต์ศูนย์ข้อมูลจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ (www.gprocurement.go.th) และเว็บไซต์ของหน่วยงาน ซึ่งมติคณะรัฐมนตรีดังกล่าวให้หน่วยงานต่าง ๆ ปฏิบัติงานในระบบ (e-Government Procurement) ระยะที่ 1 ตั้งแต่วันที่ 1 เมษายน 2553 เป็นต้นไป 2

วิวัฒนาการการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ ระยะที่ 2 เริ่มใช้ 1 ตุลาคม 2555 ให้ส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจและหน่วยงานของรัฐที่ได้รับจัดสรรเงิน งบประมาณดำเนินการบันทึกข้อมูลการจัดซื้อจัดจ้างในระบบ e-GP ระยะที่ 2 เพื่อให้สามารถเชื่อมโยงข้อมูลจากระบบ e-GP ไปยังระบบ GFMIS Web Online ตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม 2555 เป็นต้นไป 3

วิวัฒนาการการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ ระยะที่ 3 e-market e-bidding คณะรัฐมนตรีมีมติเมื่อวันที่ 25 พฤศจิกายน 25557 เห็นชอบแนวทาง การปฏิบัติในการจัดหาพัสดุด้วยวิธี e-market และ e-bidding และได้มีประกาศในราชกิจจานุเบกษา เมื่อวันที่ 4 กุมภาพันธ์ 2558 วันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2558 นำร่อง 12 แห่ง วันที่ 16 เมษายน 2558 นำร่อง 112 แห่ง วันที่ 1 พฤษภาคม 2558 นำร่อง 36 แห่ง วันที่ 1 มิถุนายน 2558 หน่วยงานภูมิภาค ในเขตภาคกลาง ภาคตะวันออก บางจังหวัด วันที่ 1 กรกฎาคม 2558 หน่วยงานภูมิภาค ในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคเหนือ บางจังหวัด 4

วัตถุประสงค์ e-GP ระยะที่ 3 1 สร้างมาตรฐานสากลและ เป็นที่ยอมรับให้กับระบบ จัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ โดย พัฒนาการจัดซื้อจัดจ้าง ด้วยวิธีการทาง อิเล็กทรอนิกส์ให้ ครบวงจร 2 เพิ่มความโปร่งใสของ การจัดซื้อจัดจ้าง และ ส่งเสริมให้เกิดการ แข่งขัน อย่างเป็นธรรม 3 เป็นแหล่งข้อมูลการ จัดซื้อจัดจ้างที่ให้ หน่วยงานกลาง หรือ หน่วยงานภาครัฐ นำข้อมูลไปอ้างอิงในการ กำหนดราคากลาง หรือ การของบประมาณ ต่อไปได้ 4 ลดขั้นตอนและเพิ่ม ประสิทธิภาพของการ จัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ 5 เพื่อลดต้นทุนของ ทั้งภาครัฐและเอกชน ในการดำเนินการจัดซื้อ จัดจ้าง 5

4 จ้างงออกแบบและควบคุมงาน วิธีการจัดซื้อจัดจ้าง 12 วิธี ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัสดุ พ.ศ.2535 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัสดุด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ.2549 การจัดซื้อ จัดจ้าง 6 การซื้อหรือการจ้าง วิธีตกลงราคา วิธีสอบราคา วิธีประกวดราคา วิธีพิเศษ วิธีกรณีพิเศษ วิธี e- Auction 2 จ้างที่ปรึกษา วิธีคัดเลือก 4 จ้างงออกแบบและควบคุมงาน วิธีคัดเลือกแบบจำกัดข้อกำหนด 6

วงเงินงบประมาณกำหนดวิธีการจัดซื้อจัดจ้าง หลักการจัดซื้อจัดจ้างเดิม วงเงินงบประมาณกำหนดวิธีการจัดซื้อจัดจ้าง ไม่เกิน 100,000 บาท ตกลงราคา 100,000 – 2,000,000 บาท สอบราคา เกิน 2,000,000 บาท e-Auction 7

สินค้ากำหนดวิธีการจัดซื้อจัดจ้าง ทุกขั้นตอนเป็นอิเล็กทรอนิกส์ หลักการจัดซื้อจัดจ้างใหม่ สินค้ากำหนดวิธีการจัดซื้อจัดจ้าง สินค้าไม่ซับซ้อน สินค้าซับซ้อน E-Bidding E-Market ทุกขั้นตอนเป็นอิเล็กทรอนิกส์ 8

การใช้บังคับ ไม่รวมถึง หลักการของ e-mark และ e-bidding ตามประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี ลงวันที่ 3 กุมภาพันธ์ 2558 การใช้บังคับ การจัดหาพัสดุครั้งหนึ่งของส่วนราชการ ซึ่งมีราคาเกิน 100,000 บาท -การจ้างที่ปรึกษา -การจ้างออกแบบและควบคุมงาน การซื้อ/จ้างโดยวิธีพิเศษ การซื้อ/จ้างโดยวิธีกรณีพิเศษ ที่สามารถดำเนินการได้ตามระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัสดุ พ.ศ.2535 และที่แก้ไข ไม่รวมถึง 9

วิธีตลาดอิเล็กทรอนิกส์ (e-market) การเสนอราคาโดยใบเสนอราคา Request For Quotation : RFQ • การจัดซื้อพัสดุมีราคาเกิน 100,000 บาท แต่ไม่เกิน 5,000,000 บาท • ผู้เสนอราคาต้องเสนอผ่านระบบ e-GP ในวันและเวลาทำการ ที่ส่วนราชการกำหนด เสนอราคาได้เพียงครั้งเดียว รายต่ำสุด เป็นผู้ชนะการเสนอราคา หากมีเท่ากันหลายราย ให้พิจารณาผู้เสนอราคาต่ำสุด ที่เสนอเข้ามาในระบบ e-GP ลำดับแรกเป็นผู้ชนะการเสนอราคา 1.สำหรับการจัดหาพัสดุครั้งหนึ่งเกิน 100,000 บาท 2. รายละเอียดคุณลักษณะ ไม่ซับซ้อน เป็นสินค้าหรือ บริการทั่วไป มีมาตรฐาน 3. กำหนดให้ส่วนราชการจัดหาสินค้าหรือบริการที่กำหนดไว้ในระบบข้อมูลสินค้า Electronic Catalog : e-catalog การเสนอราคาโดยการประมูลอิเล็กทรอนิกส์ (Thai Auction) •การจัดซื้อพัสดุมีราคาเกิน 5,000,000 บาท •ผู้เสนอราคาต้องเสนอผ่านระบบ e-GP ในวันและเวลาทำการที่ส่วนราชการกำหนด เสนอราคาได้หลายครั้งภายในเวลา 30 นาที รายต่ำสุดจะมีสัญลักษณ์ปรากฏบนหน้าจอ ในกรณีเสนอต่ำสุดเท่ากันหลายราย พิจารณารายแรกที่เสนอเข้ามาในระบบ e-GP เป็นผู้ชนะการเสนอราคา 10

สินค้านำร่องในระบบ e-market วัสดุสำนักงาน ได้แก่ รหัส UNSPSC สินค้า 44103103 ผงหมึก / ตลับผงหมึก (Toner) 14111507 กระดาษถ่ายเอกสารหรือพิมพ์งานทั่วไป 44122003 แฟ้มเอกสาร 44103506 เทปปิดสำหรับการเข้าเล่ม 44122011 ซองเอกสาร ยารักษาโรค ได้แก่ รหัส UNSPSC รหัส GPUID ชื่อยา คุณสมบัติยา 51171501 698113, 698010, 743014 calcium carbonate ยาป้องกันและรักษาภาวะขาดแคลเซียม 51263602 317735, 273282, 317774, 273501, 273351, 273230, 273572, 317695 doxazosin ยารักษาภาวะต่อมลูกหมากโต 11

หลักเกณฑ์การพิจารณาสินค้าหรือบริการที่มีความซับซ้อน วิธีประกวดราคา อิเล็กทรอนิกส์ (e-bidding) เกณฑ์การพิจารณาราคา หลักเกณฑ์ราคา (Price) พิจารณาผู้เสนอราคารายต่ำสุดที่เสนอราคา ในกรณีเสนอราคาต่ำสุดเท่ากันหลายราย พิจารณารายแรกที่เสนอราคาเข้ามาในระบบ e-GP เป็นผู้ชนะการเสนอราคา 1. สำหรับการจัดหาพัสดุครั้งหนึ่งเกิน 100,000 บาท 2. รายละเอียดคุณลักษณะที่มีความซับซ้อน มีเทคนิคเฉพาะ 3. เป็นสินค้าหรือบริการที่ไม่ได้มีกำหนดไว้ในระบบตลาดอิเล็กทรอนิกส์ หลักเกณฑ์ราคา (Price) พิจารณาผู้เสนอราคารายต่ำสุดที่เสนอราคา ในกรณีเสนอราคาต่ำสุดเท่ากันหลายราย พิจารณารายแรกที่เสนอราคาเข้ามาในระบบ e-GP เป็นผู้ชนะการเสนอราคา หลักเกณฑ์การประเมินค่าประสิทธิภาพต่อราคา (Price Performance) ในกรณีที่ส่วนราชการเห็นว่าคุณลักษณะเฉพาะของพัสดุที่จะจัดหามิใช่พิจารณาจากราคาอย่างเดียว ควรนำการประเมินค่าประสิทธิภาพมาเปรียบเทียบราคา เพื่อให้ได้พัสดุที่มีคุณภาพดี มีการกำหนดให้น้ำหนักตัวแปรหลัก ตัวแปรรอง พิจารณาผู้ชนะการเสนอราคาที่เท่ากันโดยพิจารณาตัวแปรหลักที่มีน้ำหนักมากที่สุด หลักเกณฑ์การพิจารณาสินค้าหรือบริการที่มีความซับซ้อน •มีเทคนิคเฉพาะของสินค้าหรือบริการนั้น •การดำเนินงานที่ต้องใช้เทคโนโลยีชั้นสูงหรือมีการถ่ายทอดเทคโนโลยีใหม่ •ต้องใช้บุคลากรในสาขาวิชาชีพชั้นสูง หรือผู้มีฝีมือ หรือมีความชำนาญพิเศษ •คำนึงถึงเทคโนโลยีของสินค้าและข้อกำหนดคุณสมบัติผู้เสนอราคา •รายละเอียดข้อเสนอเทคนิคแตกต่างกันต้องพิจารณาข้อเสนอแต่ละราย •สินค้าหรือบริการที่มีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง ผู้ขายมีมาตรฐานสินค้าต่างกัน เปิดโอกาสให้ชี้แจงรายละเอียดเพิ่มเติมได้ •สินค้าหรือบริการที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี ประเทศ ไอที Hardware หรือ Software ที่จำเป็นต้องเข้าศึกษารูปแบบการทำงานก่อนจัดทำ 12

ตารางการเผยแพร่ประกาศและ เอกสารประกวดราคาอิเล็กทรอนิกส์ (e-bidding) วงเงินที่จัดหา ระยะเวลาการเผยแพร่ ไม่น้อยกว่า (วันทำการ) คำนวณราคา ไม่น้อยกว่า (วันทำการ) เกิน 1,000,000 แต่ไม่เกิน 5,000,000 บาท 5 3 เกิน 5,000,000 บาท แต่ไม่เกิน 10,000,000 บาท เกิน10,000,000 บาท แต่ไม่เกิน 50,000,000 บาท 7 เกิน 50,000,000 บาทขึ้นไป 15 ตามหนังสือ ที่ กค (กวพ) 0421.3/ว258 ลงวันที่ 24 กรกฎาคม 2558 13

e-market ผู้ค้า ส่วนราชการ e-Catalog Market 14 ประกาศ ผู้ค้า ตอบกลับ ข้อมูลสินค้า - รหัสสินค้า (UNSPSC) - คุณสมบัติ ประกาศ ผู้ค้า ตอบกลับ ประกาศ สินค้า - คุณสมบัติสินค้า - จำนวน ผู้ค้า - คุณสมบัติ ฯลฯ ใบเสนอราคา - สินค้า - ราคา ฯลฯ ส่วนราชการ RFQ,RFA ผู้ชนะการเสนอราคา 14

e-bidding ส่วนราชการ ผู้ค้า ประชาชนทั่วไป 15 เสนอราคา เผยแพร่/วิจารณ์ ประกาศ จัดทำ ร่างประกาศ ประกวดราคาฯ ประกาศ ประกวดราคาฯ พิจารณาผล ประกาศผู้ชนะ 15

อิเล็กทรอนิกส์ทุกขั้นตอน ผู้ค้า : ลงทะเบียนและกรอกข้อมูลสินค้า ผู้ค้า ลงทะเบียน บันทึกข้อมูลสินค้า (e-Catalog) อิเล็กทรอนิกส์ทุกขั้นตอน 16

อิเล็กทรอนิกส์ทุกขั้นตอน ผู้ค้า : เสนอราคา ผู้ค้า ประกาศฯ รับเอกสาร เสนอราคา อิเล็กทรอนิกส์ทุกขั้นตอน 17

การรับราคา - ราคา - Price Performance 18

หลักการเดิม เสนอราคา ต่ำสุด 2 ตรวจสอบผู้มีผลประโยชน์ร่วมกัน -เชิงบริหาร -เชิงทุน -เชิงไขว้ ตรวจสอบความถูกต้อง - คุณสมบัติผู้เสนอราคา -ใบเสนอราคา - เอกสารหลักฐานต่าง ๆ - ตัวอย่าง แบบรูปรายการละเอียด คัดเลือก - พัสดุ/งานจ้าง - คุณภาพ/คุณสมบัติประโยชน์ต่อทางราชการ 1 3 เสนอราคา ต่ำสุด 19

รวม/คะแนนเมื่อถ่วงน้ำหนักแล้ว ตัวอย่าง การพิจารณาคัดเลือกผู้ชนะการเสนอราคา โดยใช้หลักเกณฑ์ (Price Performance) ตัวแปรหลักที่ใช้ประเมิน น้ำหนัก บริษัท/คะแนนที่ได้ A B C D 1.ราคา 50 83 100 2.คุณภาพและคุณสมบัติ ที่ใช้ประโยชน์ต่อทางราชการ 10 90 80 70 3.การเสนอพัสดุที่เป็นกิจการ ที่รัฐต้องการส่งเสริมหรือสนับสนุน 40 ฉลากเขียว+มอก+ISO มอก ผลิตในประเทศ รวม/คะแนนเมื่อถ่วงน้ำหนักแล้ว 75 78.5 74 73 20

ภาพรวมระบบการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐอิเล็กทรอนิกส์ 21

Thank You